วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (กนั ยายน 2563) | 339 ยอมรับแนวคิด (������̅ = 4.01, S.D. = 0.53) รองลงมา คอื การสร้างแนวคิด (������̅ = 3.99, S.D. = 0.55) พฤติกรรมการประยุกต์ใช้ ( ������̅ = 3.98, S.D. = 0.44) แ ล ะ สำรวจโอกาส (������̅ = 3.91, S.D. = 0.58) ตามลำดบั 1.2 การมุ่งเน้นการตลาด (Market Orientation) โดยรวมอยู่ในระดับมาก (���̅��� = 3.90, S.D. = 0.43) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การมุ่งเน้นลูกค้า (������̅ = 3.95, S.D. = 0.41) รองลงมา คือ การประสานระหว่างหน่วยงาน (������̅ = 3.92, S.D. = 0.57) และการ มุ่งเน้นคแู่ ข่งขนั (���̅��� = 3.84, S.D. = 0.49) ตามลำดบั 1.3 เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology) โดยรวมอยู่ในระดับ มาก (������̅= 3.89, S.D. = 0.50) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ โครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยี สารสนเทศ (������̅ = 3.92, S.D. = 0.53) รองลงมาคือ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (���̅��� = 3.86, S.D. = 0.54) ตามลำดับ 1.4 การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก (���̅��� = 3.95, S.D. = 0.39) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การจัดสรรปันส่วน (���̅��� = 3.97, S.D. = 0.47) รองลงมาคอื การบริหารความเสยี่ งสินทรพั ย์ (������̅ = 3.95, S.D. = 0.44) กลยุทธ์ (���̅��� = 3.94, S.D. = 0.51) และการดำเนินการ (���̅��� = 3.92, S.D. = 0.53) ตามลำดับ 1.5 การดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก (������̅ = 3.91, S.D. = 0.42) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ มุมมองด้านลูกค้า (������̅ = 3.97, S.D. = 0.52) รองลงมาคือ มุมมองทางด้านการเงิน (������̅ = 3.92, S.D. = 0.49) มุมมองการเรียนรู้และเติบโต (������̅ = 3.90, S.D. = 0.45) และมุมมองกระบวนการภายใน ธรุ กจิ (������̅ = 3.85, S.D. = 0.47) ตามลำดบั 2. ศกึ ษาปจั จัยท่ีมีผลตอ่ การจัดการอสังหารมิ ทรัพย์ในประเทศไทย พบว่า ปัจจยั ทม่ี ี ผลตอ่ การจัดการอสังหาริมทรพั ย์ มดี งั นี้ 2.1 พฤตกิ รรมสรา้ งสรรค์นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) มีอทิ ธิพล ต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) พบว่า พฤติกรรมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) มีอิทธิพลต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) โดยเป็นอิทธพิ ลรวมเทา่ กบั 0.22 และเป็นอทิ ธิพลทางตรงเทา่ กบั 0.22 และไม่ มอี ิทธพิ ลทางออ้ ม 2.2 การมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation) มีอิทธิพลต่อการจัดการ อสังหาริมทรัพย์ (Property Management) พบว่า การมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation) มีอิทธิพลต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) โดยเป็นอิทธิพลรวม เท่ากบั 0.32 และเปน็ อทิ ธิพลทางตรงเทา่ กับ 0.32 และไม่มอี ทิ ธพิ ลทางออ้ ม
340 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) 2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มีอิทธิพลต่อการ จัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) พบว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มีอิทธิพลต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) โดยเปน็ อิทธิพลรวมเท่ากบั 0.42 และเปน็ อทิ ธิพลทางตรงเทา่ กับ 0.42 และไม่ มอี ิทธพิ ลทางออ้ ม 2.4 พฤติกรรมสรา้ งสรรค์นวตั กรรม (Innovative Work Behavior) มอี ิทธพิ ล ต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) พบว่า พฤติกรรมสร้างสรรค์ นวตั กรรม (Innovative Work Behavior) มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) โดยเป็นอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.38 และเป็นอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.36 และมี อิทธพิ ลทางอ้อมเทา่ กับ 0.02 2.5 การมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation) มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน ของธุรกิจ (Business Performance) พบว่า การมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation) มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) โดยเป็นอิทธิพลรวม เทา่ กบั 0.40 และเป็นอทิ ธิพลทางตรงเท่ากบั 0.37 และมอี ิทธพิ ลทางออ้ มเท่ากับ 0.03 2.6 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มีอิทธิพลต่อผลการ ดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) พบว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) โดยเป็น อิทธิพลรวมเท่ากับ 0.23 และเป็นอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.18 และมีอิทธิพลทางอ้อมเท่ากับ 0.05 2.7 การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) มีอิทธิพลต่อผล การดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) พบว่า การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) ม ี อ ิ ท ธ ิ พ ล ต ่ อ ผล ก าร ด ำเ นิ น งา น ข อ งธ ุร ก ิจ ( Business Performance) โดยเป็นอิทธพิ ลรวมเท่ากบั 0.11 และเปน็ อิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.11 และไม่ มีอทิ ธิพลทางออ้ ม 3. พฒั นาปจั จัยเชิงเหตุและผลของการจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าสถิติที่ใช้ตรวจสอบ ความสอดคลอ้ งระหวา่ งโมเดลกับข้อมลู เชิงประจกั ษ์ ไดแ้ ก่ ค่าไคว์ - สแควร์ มคี า่ เท่ากบั 62.61 องศาอิสระเท่ากับ 78 ค่าความน่าจะเป็น (p) เท่ากับ 0.89796 นั่นคือ ค่าไคว์ - สแควร์ แตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสำคัญ แสดงว่ายอมรับสมมติฐานหลักที่ว่า แบบจำลอง การพัฒนาปัจจัยเชิงเหตุและผลของการจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย ทพี่ ัฒนาข้ึนสอดคล้องกลมกลนื กบั ข้อมลู เชิงประจักษ์ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ผลการวเิ คราะห์ คา่ ดัชนี วัดความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.98 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI)
วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชิงพุทธ ปีท่ี 5 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2563) | 341 มคี ่าเทา่ กบั 0.96 ซ่ึงมีค่าเขา้ ใกล้ 1 และค่าดัชนีรากกำลงั สองเฉลยี่ ของส่วนทีเ่ หลือ (RMR) มีค่า เท่ากับ 0.008 ซ่ึงเข้าใกล้ศูนย์ เมือ่ พิจารณาคา่ ความเท่ยี งของตัวแปรสังเกตได้ พบวา่ ตวั แปรสงั เกตได้มีคา่ ความเท่ียง อยู่ระหว่าง 0.34 - 0.86 โดยตัวแปรที่มีความเที่ยงสูงสุด คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการ จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITM) มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.86 รองลงมาคือ การจัดการ อสังหาริมทรัพย์ ด้านกลยุทธ์ (STR) มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.80 ส่วนตัวแปรที่มีความเที่ยง ตำ่ สดุ คือ ผลการดำเนินงานของธุรกิจ ด้านมมุ มองการเรยี นรู้และเตบิ โต (LEA) มีค่าความเที่ยง เท่ากบั 0.34 สำหรับค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R2 ) ของสมการโครงสร้างตัวแปรแฝงภายใน พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R2) ของการจัดการอสังหาริมทรัพย์ มีค่าเท่ากับ 0.84 หรอื ตวั แปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของการจดั การอสังหาริมทรัพย์ (PM) ได้ร้อยละ 84 และค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R2) ของผลการดำเนินงานของธุรกิจ มีค่า เท่ากับ 0.94 หรือตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของผลการดำเนินงานของ ธุรกิจ (BP) ได้ร้อยละ 94 เมทริกซ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแฝง พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรแฝงมีค่าอยู่ระหว่าง 0.85 – 0.93 โดยตัวแปรทุกคู่เป็นความสัมพันธ์แบบมีทิศทาง เดียวกัน คือ มีค่าความสัมพันธ์เป็นบวก โดยตัวแปรแฝงที่มีความสัมพันธ์กันสูงมาก (r > 0.8) มจี ำนวน 10 คู่ ตัวแปรแฝงท่ีมีค่าสัมประสทิ ธ์ิสหสมั พันธ์มากที่สุดซ่ึงมคี ่าสมั ประสิทธสิ์ หสัมพันธ์ เท่ากับ 0.93 (r = 0.93) คือ พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (IWB) กับ ผลการดำเนินงานของ ธุรกิจ (BP) และการมุ่งเน้นตลาด (MO) กับ ผลการดำเนินงานของธุรกิจ (BP) รองลงมา คือ การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (PM) กับ ผลการดำเนินงานของธุรกิจ (BP) มีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.90 (r = 0.90)เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) กับ ผลการดำเนินงานของธุรกจิ (BP) มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.89 (r = 0.89) การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (PM) กับเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และการมุ่งเน้นตลาด (MO) กับ พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (IWB) มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.88 (r = 0.88) เท่ากัน การมุ่งเน้นตลาด (MO) กับ การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (PM) มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.87 (r = 0.87) การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (PM) กับพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (IWB) มีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.86 (r = 0.86) การมุ่งเน้นการตลาด (MO) กับ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และ พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (IWB) กับเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) มีค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์เทา่ กบั 0.85 (r = 0.85) เท่ากนั ดงั ภาพท่ี 1
342 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) ภาพท่ี 1 ปัจจยั เชงิ เหตุและผลของการจัดการธุรกจิ อสังหารมิ ทรัพย์ในประเทศไทย ผวู้ จิ ยั สามารถนำเสนอผลการวจิ ัยเพือ่ ตอบสมมติฐานการวจิ ยั โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ สมมติฐานที่ 1 พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) มีอิทธิพลต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) พบว่า พฤติกรรม สร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) มีอิทธิพลต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยการจัดการ อสังหาริมทรัพย์ (Property Management) ได้รับอิทธิพลรวมจากพฤติกรรมสร้างสรรค์ นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) เท่ากับ 0.22 ซึ่งทั้งหมดเป็นอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.22 สมมติฐานที่ 2 การมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation) มีอิทธิพลต่อการจัดการ อสังหาริมทรัพย์ (Property Management) พบว่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) ได้รับอิทธิพลรวมจากการมุ่งเน้น ตลาด (Market Orientation) เท่ากบั 0.18 ซึง่ ทัง้ หมดเปน็ อิทธิพลทางตรงเทา่ กบั 0.18 สมมติฐานที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มีอิทธิพลต่อการ จัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) พบว่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) ได้รับอิทธิพลรวมจาก เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เท่ากับ 0.42 ซึ่งทั้งหมดเป็นอิทธิพล ทางตรงเทา่ กบั 0.42 สมมติฐานที่ 4 พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) พบว่า อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) ได้รับ
วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชงิ พทุ ธ ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (กันยายน 2563) | 343 อิทธิพลรวมจากพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) เท่ากับ 0.38 ซงึ่ เปน็ อิทธิพลทางตรงเท่ากบั 0.36 และมอี ทิ ธิพลทางอ้อมเท่ากับ 0.02 สมมติฐานที่ 5 การมุ่งเน้นตลาด (Market Orientation) มีอิทธิพลต่อผลการ ดำเนนิ งานของธรุ กิจ (Business Performance) พบว่า อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) ได้รับอิทธิพลรวมจากการมุ่งเน้น ตลาด (Market Orientation) เท่ากับ 0.40 ซึ่งเป็นอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.37 และมีอิทธิพล ทางอ้อมเทา่ กับ 0.03 สมมติฐานที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มีอิทธิพลต่อผล การดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) พบว่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) ได้รับอิทธิพลรวมจาก เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เท่ากับ 0.23 ซึ่งเป็นอิทธิพลทางตรง เท่ากบั 0.18 และมีอทิ ธิพลทางออ้ มเทา่ กบั 0.05 สมมติฐานที่ 7 การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) มีอิทธิพลต่อ ผลการดำเนินงานของธุรกิจ (Business Performance) พบว่า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 โดยผลการดำเนนิ งานของธรุ กจิ (Business Performance) ได้รับอิทธิพลรวมจาก การจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) เท่ากับ 0.11 ซึ่งทั้งหมดเป็นอิทธิพล ทางตรงเทา่ กบั 0.11 โดยสอดคล้องกับคำสัมภาษณ์ท่ีวา่ “พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Work Behavior) มีอิทธิพลต่อการ จัดการอสังหาริมทรัพย์ (Property Management) เพราะพฤติกรรมการสรา้ งสรรค์นวัตกรรม สามารถสร้างผลกระทบต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ไทย\\โดยมีการสร้างนวัตกรรมมาปฏิบตั ิ อยา่ งเป็นระบบ บคุ ลากรมสี ่วนรว่ มในการนำแนวคดิ ใหม่ไปปฏิบตั ิใช้งาน เพือ่ ลดระยะเวลาการ ทำงานเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและมีการพัฒนาทางด้านนวัตกรรมสิ่งใหม่ต่อ การจัดการธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ไทยอยู่เสมอเพื่อเป็นการยกระดับแนวคิดทางด้านนวัตกรรม อย่างสร้างสรรค์ โดยมีการกระตุ้นให้เจ้าหน้าที่หรือบุคลากรในองค์กรมีความกระตือรือร้นกับ กับการทำงานทเ่ี กิดข้ึนเพอื่ เป็นการโนม้ นา้ วบคุ ลากรในองค์กรให้เกิดการสนบั สนุนแนวความคิด ทางดา้ นนวตั กรรมการทางการทำงานแบบใหมๆ่ อย่างสรา้ งสรรค์ไปใชง้ านได้จรงิ ” (ผู้เชี่ยวชาญ ท่านที่ 4, 2562) ซงึ่ ได้สรา้ งเป็นแบบจำลองการพฒั นาตัวแบบปัจจยั เชิงเหตุและผลของการจดั การธุรกิจ อสังหาริมทรพั ยใ์ นประเทศไทย ดังภาพที่ 2
344 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) การสำรวจ การสร้าง การยกระดบั พฤติกรรมการ โอกาส แนวคิด แนวคิด ประยกุ ตใ์ ช้ พฤติกรรม การจัดการธุรกจิ กลยุทธ์ สร้างสรรค์ อสังหาริมทรพั ย์ นวตั กรรม การดำเนินงาน การม่งุ เน้นลูกคา้ การมุ่งเนน้ การบริหารความ ตลาด เสีย่ งสนิ ทรัพย์ การมุ่งเนน้ คแู่ ขง่ ขัน การจัดสรร ผลการ การสรา้ งความ ดำเนนิ งานของ ปนั สว่ น ร่วมมอื ของการ ธรุ กจิ มมุ มองดา้ นการเงิน ดำเนนิ งาน มมุ มองด้านลูกคา้ ภายในองคก์ ร มุมมองดา้ น เทคโนโลยี กระบวนการภายใน สารสนเทศ ธรุ กจิ มมุ มองการเรยี นรู้ และการเตบิ โต โครงสรา้ งพื้นฐาน การจดั การเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ ภาพท่ี 2 แบบจำลองการพัฒนาตวั แบบปจั จัยเชงิ เหตแุ ละผลของการจัดการธุรกจิ อสังหารมิ ทรัพย์ อภิปรายผล จากการศกึ ษาปัจจัยเชงิ เหตแุ ละผลของการจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพยใ์ นประเทศ ไทย สามารถอภปิ รายสมมตฐิ านการวจิ ยั ได้ ดังนี้ 1. พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก (������̅ = 3.97, S.D. = 0.46) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การยกระดับการยอมรับแนวคิด รองลงมา คือ การสร้าง แนวคดิ พฤตกิ รรมการประยกุ ตใ์ ช้ และสำรวจโอกาส เห็นไดว้ า่ พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม สามารถสร้างผลกระทบต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ได้เพราะพฤติกรรมสร้างการสรรค์
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชิงพุทธ ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (กันยายน 2563) | 345 นวัตกรรม ทางด้านโอกาสใหม่มีการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ ให้เป็นที่ยอมรับ และมี ประสทิ ธภิ าพ การสรา้ งแนวคดิ ที่เป็นนวัตกรรม ไปฝกึ ปฏบิ ตั ิเป็นพฤติกรรมอย่างเป็นระบบและ บุคลากรควรนำมาประยุกต์ใช้ในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้เกิดขึ้นอยู่เสมอ รวมถึงควรสำรวจโอกาสเพื่อใช้ในการบริหารสินทรัพย์ที่มีการวางแผนการจัดสรรปันส่วนและ บริหารสินทรัพย์ในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ตลอดการพัฒนากลยุทธ์การบริหาร จัดการสินทรัพย์ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Watley B. E. ท่ีกล่าวว่า การนำไปสู่การ ยกระดับขีดความสามารถทางการแข่งขันขององค์กร คือ การสร้างสรรค์นวัตกรรม แนวคิดจะ ทำให้บุคลากรเกิดการสรา้ งสรรค์แนวทางการดำเนินงาน การบรหิ ารจดั การแบบใหม่ที่จะทำให้ เกิดโอกาสขององค์กรในการปรบั ปรุงวิธีการดำเนินงานและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ การมุ่งเน้นการตลาด มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ (Watley B.E., 2016) 2. การมุ่งเน้นการตลาด โดยรวมอยู่ในระดับมาก (������̅ = 3.90, S.D. = 0.43) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ การมุ่งเน้นลูกค้า รองลงมา คือ การประสานระหว่างหน่วยงาน และการ มุ่งเนน้ คู่แข่งขัน เห็นได้ว่า การจดั การอสังหาริมทรัพย์ โดยการมุ่งเนน้ จดั การอสังหาริมทรัพย์ท่ี ลูกคา้ คแู่ ขง่ ขนั และการประสานงานระหว่างหน่วยงานเพ่ือเป็นมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า บริษัทควรให้ความสำคัญกับความต้องการสิ่งใหม่ๆอย่างกิจกรรมเพื่อสังคม การบริการหลังการขาย การสร้างคุณค่า และความพึงพอใจของลูกค้า และที่สำคัญควรมีการ มุ่งเน้นไปท่ีคูแ่ ข่งขันของธุรกจิ อสังหาริมทรัพย์ ควรให้ความสำคัญกบั การใช้ขอ้ มูลวจิ ยั ทางด้าน ตลาด เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน มีการวางแผนกลยุทธ์เพื่อวิเคราะห์คู่แข่งขัน อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Lin M. J. et al. ที่กล่าวว่า การมุ่งเน้นการตลาด ประกอบด้วย การมุ่งเน้นลูกค้า และการมุ่งเน้นคู่แข่งขัน โดยการมุ่งเน้นลูกค้าจะเป็นการให้ ความสำคัญกับลูกค้าและเป็นกลไกในการดำเนินงานขององค์กร ทั้งการนำข้อมูลมาใช้ในการ กำหนดกลยุทธ์ วิธีการและการดำเนนิ งานซึ่งจะสง่ ผลต่อการบริหารจดั การทสี่ ามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้อย่างเหมาะสมก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ ดำเนินงานขององค์กร (Lin M.J. et al., 2015) 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (������̅ = 3.89, S.D. = 0.50) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ โครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ รองลงมาคือ การจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ เห็นได้ว่า การนำโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีและการจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศ มาใช้ ในองค์กรเพอื่ การจดั การอสังหาริมทรัพย์ เป็นการบรหิ ารความเสยี่ งธุรกิจองค์กรเพ่ือ สามารถทางการแข่งขันระหว่างหน่วยงานควรมกี ารเข้าถึงข้อมูลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ของ บุคลากรในองค์กร และการบริหารการจัดการเทคโนโลยีโดยมีการประเมินปัจจัยในและภายนอกด้าน ต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการเทคโนโลยี ให้มีประสิทธิภาพมีการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีอยา่ ง ต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Kokles, M.
346 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) et al. ที่กล่าวว่า โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีขององค์กรตลอดจนการใช้ประโยชน์หรือ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสนับสนนุ ด้านการแลกเปล่ียนข้อมูลและการตดั สินใจเชิงกลยุทธท์ ่ี จะชว่ ยยกระดบั ขดี ความสามารถทางการแข่งขันของธรุ กิจ และการประยกุ ต์ใช้ในการสนับสนุน การดำเนินงานในแต่ละวันและกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านกระบวนการบูรณาการข้อมูลแบบทันต่อ เหตุการณ์ เพื่อให้เกิดการสนับสนุนด้านการตัดสินใจในการเลือกใช้กลยุทธ์และการบริหาร จัดการธรุ กิจเพื่อก่อใหเ้ กิดการล่ืนไหลของการดำเนินงานเพือ่ สร้างความสามารถทางการแข่งขัน และประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างยง่ั ยนื (Kokles M. et al., 2015) 4. การจัดการอสังหาริมทรัพย์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (������̅ = 3.95, S.D. = 0.39) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การจัดสรรปันส่วน รองลงมาคือ การบริหารความเสี่ยงสินทรัพย์ กลยุทธ์ และการดำเนินการ เห็นได้ว่า การจัดการอสังหาริมทรัพยส์ ามารถสรา้ งผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการสินทรัพย์ ภายใต้การใช้ประโยชน์จากข้อมูลผลการดำเนินงานของธุรกิจเพื่อ สนับสนนุ การตดั สนิ ใจในการดำเนินงานใหด้ ที ่ีสุด เปน็ การบรหิ ารความเสี่ยงสินทรัพย์โดยการสร้าง กลยุทธ์เพื่อการดำเนินงานตามกระบวนการที่ออกแบบไวอ้ ย่างเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบรหิ าร จัดการและควรมีการดำเนินการบริหารจัดการสินทรัพย์แบบผสมผสานเพื่อให้เกิดการบริหารความ เสี่ยงแบบองค์รวม เพื่อให้เกิดผลการดำเนินงานของธุรกิจและสามารถใช้งบประมาณในการบริหาร จดั การสินทรัพย์ค้นุ คา่ และเปน็ ไปตามแผนท่ีกำหนดไว้ ซ่งึ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Bradly N. J. ที่กล่าวว่า การบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรร การใช้ทรัพยากร กลยุทธ์และ การดำเนินงานเพื่อก่อให้เกิดการสร้างรายได้และผลกำไรทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล โดยที่องค์กรมุ่งไปที่การจัดสรรปันส่วนทรัพยากรและสินทรัพย์ที่นำมาใช้ในการ บริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ เพื่อให้เกิดการติดตาม ควบคุมดูแลและบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการลดต้นทุนและสร้างผลกำไรทางธุรกิจให้กับองค์กร ตลอดจนการใช้กลยุทธท์ ่เี หมาะสมและสอดคลอ้ งกับองคก์ ร (Bradly N.J., 2020) 5. การดำเนินงานของธุรกิจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (������̅ = 3.91, S.D. = 0.42) ได้แก่ ค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ มุมมองด้านลูกค้า รองลงมาคือ มุมมองทางด้านการเงิน มุมมอง การเรียนรู้และเตบิ โต และมมุ มองกระบวนการภายในธุรกจิ เห็นไดว้ ่า การดำเนินงานของธุรกิจ เป็นการสร้างโอกาส แนวคิดและวิธีการทำงานแบบใหม่ มาใช้ในการบริหารจัดการต่อผลการ ดำเนินงานของธุรกิจ โดยควรมีการระดมความคิดเห็นในการสร้างสรรค์นวัตกรรมบริหารจัดการ กับการทำงาน เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลกู ค้าในมมุ มองตา่ ง ๆ เชน่ มมุ มองด้านลกู คา้ มมุ มอง ทางด้านการเงิน มุมมองการเรียนรู้และเติบโต และมุมมองกระบวนการภายในธุรกิจ เพื่อนำมา ปรับปรุงการบริหารจัดการผลของการดำเนินงานของธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับ Guo & Wang ท่ีกล่าว ว่า การดำเนินงานจะส่งผลต่อการบริหารจัดการที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งเปิด โอกาสให้ลูกค้าสามารถแสดงถึงทัศนคติของลูกค้าท่ีมีต่อธุรกิจ ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง
วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชงิ พทุ ธ ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (กันยายน 2563) | 347 ในปัจจุบันโดยตัววัดที่สำคัญของมุมมองด้านลูกค้าจะช่วยให้องค์กรเข้าใจกลุ่มลูกค้าหลัก ถึงความต้องการและความคาดหวัง ตลอดถึงภาพลักษณ์ขององค์กรในสายตาลูกค้า ความ เชือ่ มนั่ ของลูกคา้ ความพึงพอใจของลกู ค้า เป็นต้น (Guo & Wang, 2015) จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย เห็นได้ว่า การจัดสรรปันส่วนเป็นสิ่งสำคัญของบริษัท คือ การบริหารจัดการแนวทางการจัดสรรปันส่วน พื้นที่ภายใต้สัญญาอย่างเคร่งครัด การใช้ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสร้างประโยชน์ในการบริหารพื้นที่ โครงการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารทรัพย์สินในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ อย่างสม่ำเสมอ รวมถึงด้านกลยุทธ์ที่ควรมีการพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการสินทรัพย์ให้ สามารถแข่งขันได้อย่างสม่ำเสมอ และมปี ระสิทธภิ าพในการดำเนินการบริหารสินทรัพย์ภายใต้ การใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการดำเนินงานที่ดีที่สุด เพื่อสร้าง ความสามารถทางด้านการเงิน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Shanker R & Bhanugopan R. ที่กล่าวว่า พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นการทำให้บุคลากรในองค์กรเริ่มต้นที่จะสร้าง แนวคิดใหม่สำหรับการประยุกต์ในการบริหารจัดการ การปรับปรุงการดำเนินงานและการ ยกระดับการบริหารจัดการให้มีขีดความสามารถทางการแข่งขันที่สูงสุดเพื่อก่อให้เกิดการ จัดการอสังหาริมทรัพย์ (อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล เพื่อค้นพบเจอโอกาสใหม่ ๆ จะ ทำให้องค์กรสามารถบริหารการจัดการอสังหาริมทรัพย์ ในรูปแบบที่แตกต่างออกไปอย่างมี คุณค่าและสร้างให้เกิดข้อแตกต่างที่ส่งผลต่อการเพิ่มผลการดำเนินงานขององค์กร (Shanker R., & Bhanugopan R., 2014) จากการพัฒนาปัจจัยเชิงเหตุและผลของการจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ใน ประเทศไทย โดยพิจารณาจากค่าสถิติที่ใช้ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างโมเดลกับข้อมูล เชิงประจักษ์ ได้แก่ ค่าไคว์ - สแควร์ มีค่าเท่ากับ 62.61 องศาอิสระเท่ากับ 78 ค่าความน่าจะ เป็น (p) เท่ากับ 0.89796 นั่นคือ ค่าไคว์ - สแควร์ แตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.98 ค่าดัชนี วัดความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) มีค่าเท่ากับ 0.96 ซึ่งมีค่าเข้าใกล้ 1 และค่าดัชนีราก กำลังสองเฉลี่ยของส่วนที่เหลือ (RMR) มีค่าเท่ากับ 0.008 ซึ่งเข้าใกล้ศูนย์ เห็นได้ว่า ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแฝงมีค่าอยู่ระหว่าง 0.85 – 0.93 โดยตัวแปรทุกคู่ เป็นความสัมพันธ์แบบมีทิศทางเดียวกัน คือ มีค่าความสัมพันธ์เป็นบวก ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของ Yang C.C. et al. ที่กล่าวว่า การวัดผลการดำเนินงานที่องค์การควรพิจารณา ตัวชี้วัด 4 มุมมอง คือ มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective) มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) มุมมองดา้ นกระบวนการภายใน (Internal Business Perspective) และมุมมองด้านการเรียนรู้และเติมโต (Learning and Growth Perspective) โดยนำเสนอ แนวคิดการวัดผลการดำเนินงานขององค์กรเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการ ดำเนินงานทางธุรกิจขององค์กร โดยมีมิติมุมมองเพิ่มขึ้นจากแต่ก่อนที่องค์กรต่าง ๆ วัดแต่ผล
348 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) การดำเนินงานทางการเงิน (Financial Perspective) เท่าน้ัน แนวคิดใหม่ครั้งนั้นครอบคลุม การวัดผลการดำเนินงานที่ไม่ใช่การเงิน (Nom - Financial Perspective) เช่น ความพึงพอใจ ของลูกค้า กระบวนการภายในธุรกิจ นวัตกรรมและการเรียนรู้ เป็นต้น ทำให้แนวคิดดัชนีวัด ความสำเร็จแบบสมดุลเป็นที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลาย ในธุรกิจต่าง ๆ และเป็นเครื่องมือท่ี ประสบความสำเรจ็ ในการวัดผลการดำเนินงาน (Yang C.C. et al, 2005) สรุป/ข้อเสนอแนะ จากการศกึ ษาสารมารถสรุปไดว้ ่า ด้านปัจจยั เชิงเหตแุ ละผลของการจดั การธรุ กิจ ไดแ้ ก่ พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม การมุ่งเน้นตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการ อสังหาริมทรัพย์ และการดำเนินงานของธุรกิจ ด้านปัจจัยท่ีมีผลต่อการจัดการอสังหาริมทรพั ย์ ลำดับมากที่สุด คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีอิทธิพลต่อการจัดการอสังหาริมทรัพย์ โดยเป็น อิทธิพลรวมเท่ากับ 0.42 มีอิทธิพลทางตรงเท่ากับ 0.42 ไม่มีอิทธิพลทางอ้อม รองลงมาคือ การมุ่งเน้นตลาด มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ เป็นอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.40 มีอทิ ธิพลทางตรงเทา่ กับ 0.37 มีอิทธิพลทางอ้อมเท่ากับ 0.03 และดา้ น แบบจำลองการพัฒนา ตัวแบบปัจจัยเชิงเหตุและผลของการจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่พัฒนาขึ้นสอดคล้อง กลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.98 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) มีค่าเท่ากับ 0.96 ซึ่งมีค่าเข้าใกล้ 1 และค่าดัชนีรากกำลังสองเฉลี่ยของส่วนที่เหลือ (RMR) มีค่าเท่ากับ 0.008 ซึ่งเข้าใกล้ศูนย์ สามารถนำแบบจำลองนี้ไปประยุกต์ใช้ในด้านการจัดการและการบริการธุรกจิ อสังหารมิ ทรพั ย์ได้ ชว่ ยใหบ้ ุคคล องค์กร รวมถึงธุรกิจลดความเส่ียงในด้านการเงนิ เพราะมีการ นำเทคโนโลยีมาช่วยในการตรวจสอบ และวางแผนได้แต่ต้องดูถึงความแตกต่างของสภาพ บริบทด้วย ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ยั คร้ังต่อไป คือ 1) ควรนำแบบจำลองที่ใช้ในการศกึ ษาใน ครั้งนี้ ได้แก่ พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม การมุ่งเน้นการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการอสังหาริมทรัพย์ และการดำเนินงานของธุรกิจ ไปวิจัยซ้ำในภาคอุตสาหกรรมอ่ืน หรือต่างประเทศ เพื่อทำการตรวจสอบโมเดลว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ต่อไป 2) ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสนทนา (Focus Group) กับผู้บริหารหรือผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ เพื่อศึกษาและค้นหาการพัฒนารูปแบบใหม่ ที่ผู้บริหารหรือผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ควรให้ความสำคัญในการพัฒนาเพิ่มเติม และใช้เป็นเครื่องมือในการยกระดับการจัดการอสังหาริมทรัพย์และผลการดำเนินงานให้กับ ธุรกิจ และ 3) ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยเหตุด้านอื่น ที่เป็นปัจจัยเหตุที่ส่งผลต่อการจัดการ อสงั หารมิ ทรัพย์ เช่น กระบวนการในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพือ่ การลงทนุ ในอสังหารมิ ทรัพย์
วารสารสงั คมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (กันยายน 2563) | 349 เอกสารอ้างองิ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2563). รายชื่อบริษัทอสังหาริมทรัพย์. เรียกใช้เมื่อ 4 พฤษภาคม 2563 จาก http://datawarehouse.dbd.go.th ไทยรัฐ. (2563). อสังหาริมทรัพย์ ปี 56 ทะลุจุดเดือด. เรียกใช้เมื่อ 4 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.thairath.co.th บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 พิมพ์ครั้งที่ 5. กรงุ เทพมหานคร: สุวีรยิ าการพมิ พ์. ผู้เชี่ยวชาญท่านที่ 4. (17 พฤษภาคม 2562). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของการจัดการธุรกิจ อสังหาริมทรพั ยใ์ นประเทศไทย. (ณัฐ เหลอื งคำชาติ, ผู้สัมภาษณ์) ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). ที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้งปี 2559 59 หดตัวต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 โค้งสุดท้ายของปี ผู้ประกอบการปรับกลยุทธ์เปิด ขายโครงการแนวราบ. เรยี กใช้เมอ่ื 1 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.kasikorn research.com Ares Commercial Real Estate Corporation. (2016). Ares Commercial Real Estate Corporation to Present at the JMP 2016 Financial Services and Real Estate Conference. Investment Weekly News. Retrieved พฤษภาคม 6, 2563, from https://www.businesswire.com Bradly N.J. (2020). An evaluation of coastal management by the Department of Conservation under the Resource Management Act 1991 in New Zealand. Retrieved May 4, 2020, from http://search.proquest.com Cronbach L..J. (1990). Essentials of psychological testing. New York: Harper. Desjardins J. (2016). Three Megatrends Dominating Global Real Estate Investment. Retrieved May 4, 2016, from http://www.visualcapitalist.com Guo & Wang. ( 2 0 1 5 ) . How manufacturer market orientation influences B2 B customer satisfaction and retention empirical investigation of the three market orientation components. The Journal of Business & Industrial Marketing, 30(2), 182 - 195. Kokles M. et al. ( 2 0 1 5 ) . Information Systems in the Post- Transition Period in Enterprises in Slovakia. Journal of Global Information Technology Management, 18(2), 110 - 126. Lin M.J. et al. (2015). the effects of external inter - organizational integration on proactive market orientation responsive market orientation and new product development performance. shangguan keji jikan, 16(1), 19 - 45.
350 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) Living T. F. (2563). ทิศทางอสังหาริมทรัพย์. เรียกใช้เมื่อ 4 พฤษภาคม 2563 จาก http://thinkofliving.com Shanker R., & Bhanugopan R. (2014). Relationship between Organizational Climate for Innovation and Innovative Work Behavior. Singapore: Government - linked Companies. Taro Yamane. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. Newyork: Harper. Truebestein M. ( 2 0 1 6 ) . Real Estate Asset and Investment Management for Institutional Investors in Switzerland. Real Estate Finance, 32(3), 108-128. Watley B.E. (2016). Effects of Innovation Training on Innovative Work Behaviors. Retrieved May 4, 2020, from http://search.proquest.com Yang C.C. et al. (2005). A study of implementing balanced scorecard (BSC) in non- profit organizations : A case study of private hospital. Newyork: Human Systems Management.
กลยทุ ธก์ ารพฒั นาสมรรถนะผบู้ รหิ ารสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ยุคการศกึ ษา 4.0* COMPETENCY DEVELOPMENT STRATEGY OF BASIC EDUCATION SCHOOL DIRECTOR IN EDUCATION 4.0 มานะ ครุธาโรจน์ Mana Krutarojana พณิ สดุ า สิรธิ รังศร Pinsuda Siridhrungsri สรรเสรญิ สวุ รรณ์ Sanrasern Suwan มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์ Dhurakij Pundit University, Thailand E-mail: [email protected] บทคัดย่อ บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของสมรรถนะผู้บริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการพัฒนา สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานยุคการศึกษา 4.0 และ 3) เสนอกลยุทธ์การพัฒนา สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานยุคการศึกษา 4.0 เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี การ วิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 314 คน ในเขตตรวจราชการ 6 ภูมิภาค ปี การศึกษา 2561 เครื่องมือใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูล สำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ปฏิบัติเป็นเลิศ ด้านโรงเรียนพระราชทาน จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสังเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบวา่ 1) องค์ประกอบของสมรรถนะผู้บรหิ ารสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1.1) คุณลักษณะ 1.2) ทักษะยุคใหม่ 1.3) ภาวะผู้นำทาง วิชาการ และ 1.4) คุณธรรมจริยธรรม 2) สภาพปัจจุบัน พบว่า สภาพปัจจุบันที่เป็นจุดแข็ง ได้แก่ ด้านความกล้าหาญทางคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ เป็นต้น และความต้องการ พบว่า ต้องการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ ทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ บริหารสถานศึกษา 3) กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะ ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ ได้แก่ 3.1) * Received 26 June 2020; Revised 7 September 2020; Accepted 13 September 2020
352 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อนำมาพัฒนาสถานศึกษา 3.2) พัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการแสวงหาความรู้ใหม่ 3.3) เพิ่ม ประสิทธภิ าพการใชน้ วัตกรรมการบริหารของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา เพ่อื พฒั นาสถานศึกษาอย่าง เป็นระบบ 3.4) ส่งเสริมศักยภาพภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารยุคใหม่ 3.5) ส่งเสรมิ ประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา และ 3.6) พัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษาใหใ้ ชก้ ระบวนการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล คำสำคัญ: กลยุทธ์การพฒั นา, สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน, ยคุ การศึกษา 4.0 Abstract The objectives of research were: 1) study the components of the competency of basic education School Director in Education 4.0, 2) study the current situation and needs for competency development of Basic Education school administrators in Education 4.0 and 3) or competency development of Basic Education school administrators in Education 4.0. The mixed method research was employed. Quantitative research the sample group consisted of elementary school administrators. Under the Office of the Basic Education Commission, consisting of 314 people in the 6 regional inspection areas, academic year 2018, the research instrument was a qualitative research questionnaire the key informants are school administrators who perform best. Regarding the royal school of 7 persons, data were collected through in-depth interviews. Data were analyzed using descriptive statistics such as mean, percentage, standard deviation. And data synthesis by content analysis method the results of the research revealed that 1) The composition of the basic educational institution administrators' competency in the education era 4.0 consists of 4 aspects which are 1.1) characteristics 1.2) new age skills 1.3) academic leadership and 1.4) morality and ethics. 2) Nowadays, the strengths are moral courage. Ethics and code of ethics, etc., and the need to find that the most needed development is the use of media and information technology in school management. 3. The strategies for competency development of Basic Education school administrators in Education 4.0 consisted of 6 areas including 3.1) promoting the use of ICT among school administrators for institutional development, 3.2) developing English for communication and acquiring new knowledge, 3.3)optimizing the effectiveness of innovative management of school
วารสารสงั คมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบับท่ี 9 (กันยายน 2563) | 353 administrators for systematic institutional development, 3.4) supporting the potential of transformative leadership, 3.5) promoting the effectiveness of academic management of school administrators, and 3.6) developing school administrators to employ institutional management process based on good governance. Keywords: Competency Development, Strategy of Basic Education School Administrators, Education 4.0 บทนำ ปจั จบุ นั กระแสสงั คมโลกได้พฒั นาเข้าสู่ยุคของการเปล่ียนแปลงหรือยุคสังคมเศรษฐกิจ ฐานความรู้ (Knowledge- Based Economy Society) ทั้งความเจริญด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านการเมืองการปกครอง ความผันผวนทาง เศรษฐกิจ การเข้าสู่สังคมสูงวัยของโลก รวมถึงด้านการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ ที่ต้องใช้ ความรู้และนวัตกรรมเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาและผลิตมากกว่าการใช้เงินทุนหรือแรงงาน (วิจารณ์ พานิช, 2546) จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลกระทบและเป็นแรงผลักดันให้ ประเทศไทย จำเป็นต้องปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้านทั้งองค์กรทางธุรกิจ และองค์กรทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคนในองคก์ รใหเ้ ป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา มี ปัญญา มีความรู้และมีภาวะผู้นำในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (สุรศักดิ์ ศุภเมธีวรกุล, 2557) ดังจะเห็นได้จากหลายๆ หน่วยงานของภาครัฐและเอกชนต่างมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ทุกด้าน โดยเฉพาะด้านทรัพยากรมนุษย์ เป็นทรัพยากรที่นำมาซึ่งศักยภาพความ เจรญิ ก้าวหนา้ ขององคก์ รและความได้เปรยี บทางการแข่งขัน (พชิ ิต เทพวรรณ์, 2555) ผู้บริหารสถานศึกษาในฐานะผู้นำองค์กรเป็นกลไกและเป็นตัวแปรสำคัญในการจัด การศึกษาให้มีคุณภาพและมีอิทธิพลสูงสุดต่อคุณภาพของผลลัพธ์ที่เกิดจากการบริหาร และมี บทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา และกำหนดทิศทางความสำเร็จของ โรงเรียนให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่ จำเป็นต่อการศึกษา ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) นอกจากนี้ผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นต้องปฏิรูปตนเอง ต้องมีความรู้ความสามารถมี ทักษะและประสบการณ์ทางการบริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลงองค์กรครั้งใหญ่โดยเปน็ ผู้นำ และ ประสานความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่มีความสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการเรียน การสอนและการเรียนรู้ รวมถึงการประสานสัมพันธ์ ระดม และจัดสรรทรัพยากรได้อย่างมี
354 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) ประสิทธิภาพนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตอ้ งการโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลงท่ี จะมีผลกระทบต่อการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ซึ่งเป็นการศกึ ษาที่จัดขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อม ด้านทรัพยากรมนุษย์อันมีค่าของประเทศ (ชัยยนต์ เพาพาน, 2558) และในการบริหารจัดการ สถานศึกษาให้มีคุณภาพนั้น อยู่ภายใต้กรอบของการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจาย อำนาจในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา (Fullan, M., 2006) นั่นคือ ผู้บริหารสถานศึกษาท่จี ะ นำพาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล ต้องรู้จักใช้สมรรถนะผู้นำการ เปลี่ยนแปลงในการบริหารสถานศึกษา มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ สามารถตดั สินใจได้ดว้ ยตนเองอย่างชาญฉลาด (Wilson, R. C., 2002) โรงเรียนท่ีมี ผู้บริหารที่มีความรู้ความสามารถหรือมีสมรรถนะ (Competency) สูงย่อมพัฒนาโรงเรยี นไปสู่ ความสำเร็จ บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ สมรรถนะการบริหารจึงเป็นส่วน หน่งึ ของพฤติกรรมการบริหารที่มคี วามสำคญั ยิ่งเพราะเป็นเครื่องชีว้ ดั คณุ ภาพของผู้บริหารว่ามี ความสามารถหรือมีสมรรถนะในการบริหารองค์กร ซึ่งการบริหารงานของสถานศึกษา จะเกิด ประสิทธผิ ลข้ึนอยู่กับสมรรถนะการบริหารของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ (สุรีพร โพธิภ์ ักดี, 2558) ดังนั้นกระบวนการคัดเลือกพัฒนาและประเมินผู้บริหารสถานศึกษาจึงใช้หลกั การของ สมรรถนะโดยกำหนดให้มีการประเมินสมรรถนะหลักทางการบรหิ ารที่หลากหลาย เช่น การมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ การบรกิ ารทดี่ ี การสงั่ สมความเชยี่ วชาญในงานอาชพี การยึดมัน่ ในความถกู ต้องทาง จริยธรรม การทำงานเป็นทีม และสมรรถนะประจำสายงาน ประกอบด้วย การวิเคราะห์และ สังเคราะห์ การสื่อสารและการจูงใจ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและการมีวิสัยทัศน์ เป็นต้น (สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, 2548); (วิมลรัตน์ ศรี สำอางค์, 2558) จะเห็นได้ว่า สมรรถนะ มีความสำคัญและเป็นหัวใจของระบบการบริหารงาน ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในปัจจบุ ัน จากผลการศึกษาพบว่า ผบู้ รหิ ารโรงเรียนทีด่ ี มปี ระสิทธิผล มีความสัมพันธ์กับโรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งพบตัวบ่งชี้ประสิทธิผลของโรงเรียน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะของผู้เรียน ความพึง พอใจของครู และความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และบางส่วนสอดคล้องกับ Hoy, W.K. and Miskel, C.G. ที่ไดน้ ำเสนอตวั ช้วี ัดสำคัญด้านผลลัพธ์ของโรงเรียนท่ีแสดงถึงคุณลักษณะของการ มีประสิทธิผลของโรงเรียน 3 ประการ ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ความพึงพอใจในงานของ ครู และการรับรู้ต่อประสิทธิผลของโรงเรียนทั้งหมด (Hoy, W. K. & Miskel, C. G. , 2001) ; (บรรลุ ชินน้ำพอง และวัลลภา อารีรัตน์, 2556) ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องแสดง บทบาทความเป็นผู้นำที่มีสมรรถนะสูง คือ มีและใช้ความรู้ความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะที่จำเป็นในการบริหารงานให้ประสบความสำเร็จและเกิดประโยชนส์ งู สุดต่อการจดั การศกึ ษาให้มีคณุ ภาพสูงกวา่ เดิม ซง่ึ หมายถึง การได้รบั การพัฒนาและการเสริมสรา้ งสมรรถนะ ครอบคลุมองค์ประกอบสมรรถนะ 3 กลุ่ม คือ ความรู้ (knowledge) ทักษะ (skills)
วารสารสงั คมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชงิ พุทธ ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2563) | 355 คุณลักษณะเฉพาะบุคคล (Personal characteristics or Attribute) (นุชนรา รัตนะศิระ ประภา, 2557) นอกจากนี้พฤติกรรม (Behavior) และความรับผิดชอบของผู้บริหาร เป็นส่วน หนึ่งที่ทำให้การปฏิบัติงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ บรรลุเป้าหมายตามที่ได้วางไว้ ด้วยเหตุนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้นำแนวคิดเรื่องสมรรถนะมาใช้ในการบริหารบุคลากรขององค์กร การศึกษาทุกระดับ โดยปัจจุบันได้กำหนดสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาไว้ 2 กลุ่ม 9 สมรรถนะย่อย คอื 1) สมรรถนะหลกั (Core Competency) ประกอบด้วย 4 สมรรถนะยอ่ ย คือ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง และการทำงานเป็นทีม และ 2) สมรรถนะประจำสายงาน (Functional competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ ประจำสายงานย่อย คือ การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ การสอื่ สารและจูงใจ การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร การมีวิสัยทัศน์ และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ซึ่งถือได้ว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วย ให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่และความรับผิดชอบ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ องคก์ รอย่างมีประสทิ ธิภาพอย่างไรกต็ ามการพัฒนาสมรรถนะผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพื่อให้เกิดการปฏิรูปการศึกษาบรรลุตามกรอบยทุ ธศาสตร์ของชาติ ยุคการศึกษา 4.0 ที่เน้นคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึง และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม โดยการบริหารจัดการดังกล่าวจะ บรรลุผลสำเร็จขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ในการบริหารจัดการสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จากผลการประเมินศักยภาพผู้บริหารโดยการ ทดสอบความรู้เชิงบริหาร ภาวะผู้นำ คุณธรรม จริยธรรม ความสามารถทางภาษาอังกฤษและ เทคโนโลยี พบว่า ผู้บริหารที่เข้าทดสอบ จำนวน 37,522 คน มีผู้บริหารที่ผ่านการทดสอบได้ คะแนนร้อยละ 80 ไม่ถึงรอ้ ยละ 50 ท้ังนเ้ี นอื่ งมาจากผ้บู รหิ ารสว่ นหนง่ึ ไม่มีความมัน่ ใจในการใช้ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และ ผู้บริหารอกี สว่ นหนึ่งมีประสบการณ์น้อย มีความสามารถหรือทักษะการสื่อสารและการจูงใจ ไม่ชัดเจน ขาดการติดต่อประสานงาน ระหว่างผู้บริหารและครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษาบางคนไม่มีศิลปะในการเผยแพร่วิสัยทัศน์ ตลอดจนบกพร่องในทักษะการบริหารและการทำงานเป็นทีม (นุชนรา รัตนะศิระประภา, 2557) จากปัญหาดังกล่าวขา้ งตน้ ส่งผลให้การบริหารจดั การสถานศึกษาสู่ความเป็นไทยแลนด์ 4.0 จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เป็นองค์กรที่มีความคล่องตัว บุคลากรมีความชำนาญ มีความเป็นมืออาชีพ มีการส่งเสริมให้บคุ ลากรมกี ารเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (สำนักงานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา, 2553) จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทำการศึกษา กลยุทธ์การพัฒนา สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานยุคการศึกษา 4.0 เพื่อให้เป็นผู้มีวิสัยทัศน์และมี ความสามารถในการกระตุ้นให้บุคลากรในองค์กรได้ใช้ศักยภาพ สามารถบริหารจัดการ สถานศึกษาของตนเองสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากลให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิด
356 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารการศึกษาในโรงเรียนสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานต่อไป วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพอื่ ศกึ ษาองคป์ ระกอบของสมรรถนะผบู้ รหิ ารสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 2. เพ่อื ศกึ ษาสภาพปัจจุบันและความต้องการพฒั นาสมรรถนะผบู้ รหิ ารสถานศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน ยคุ การศึกษา 4.0 3. เพื่อเสนอกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 วธิ ดี ำเนินการวิจยั ผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยผสมวิธี (Mixed Method Research) ระหว่างการวิจัยเชิง คุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมี วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั แบง่ เปน็ 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบของสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยคุ การศกึ ษา 4.0 ดังน้ี ศกึ ษา เอกสาร ตำรา แนวคดิ ทฤษฎี งานวิจัย และแหลง่ ข้อมูลอน่ื ๆ ขอ้ มลู ที่เกี่ยวข้อง กับองคป์ ระกอบของสมรรถนะผู้บริหารสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ยคุ การศกึ ษา 4.0 เพื่อนำมาเป็น กรอบในการสัมภาษณ์ ประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องเกี่ยวกับองค์ประกอบของ สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ปฏิบัติเป็นเลิศ (Best Practice) ด้านโรงเรียนพระราชทาน จำนวน 7 คน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอ อาจารย์ท่ีปรกึ ษา การวเิ คราะหข์ อ้ มูล โดยการวิเคราะหส์ ังเคราะห์ ดว้ ยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบันและความต้องการการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร สถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ยุคการศกึ ษา 4.0 ดังน้ี การเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากเขตตรวจราชการ 6 ภูมิภาค ปีการศึกษา 2561 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา 183 เขต จำนวน 27,985 โรงเรียน/คน สุ่มตัวแทนเขตตรวจราชการ ในแต่ละ ภูมิภาค 6 เขตตรวจราชการ ซึ่งมีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 40 แห่ง สุ่มสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาจาก 40 เขตพื้นที่ 11 เขตพื้นที่ และได้สุ่มกลุ่ม ตัวอย่างจาก 11 เขตพื้นที่ โดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มหลายขั้นตอน (Multi - Stage Random Sampling) กลุ่มตัวอยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัยได้จำนวน 314 คน เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย
วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชงิ พทุ ธ ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 357 ไดแ้ ก่ แบบสอบถามใชส้ ำหรับเกบ็ รวบรวมข้อมลู แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั สภาพปัจจุบันและ ความต้องการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ของกลุ่ม ตัวอย่าง ผู้วิจัยนำเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพ เป็นการหาความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ใช้เทคนิควธิ ีการวดั ดัชนีความสอดคล้องข้อคำถามกับวตั ถุประสงค์ (Item Objective Congruence Index : IOC) ตรวจสอบความถูกต้องของเนือ้ หาและลักษณะการใช้ ภาษา ผู้เชีย่ วชาญตรวจเคร่อื งมอื การวิจยั จำนวน 5 ท่าน และไดค้ ่าที่ 1.0 ผู้วิจัยนำเครื่องมือที่ผ่านการแก้ไขปรับปรุงแล้ว มาทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง (try out) โดยผู้วิจัยนำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับกลุ่มประชากร ผู้บริหารสถานศึกษาข้ัน พื้นฐานที่ไม่ได้ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยจำนวน 30 คน แล้วนำมาวิเคราะห์หาค่าความ เชือ่ ม่นั ของแบบสอบถามโดยใช้วิธขี องครอนบาค (Cronbach) ได้คา่ ความเช่อื มัน่ (Reliability) ของแบบสอบถามท้งั ฉบบั เทา่ กบั 0.926 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ค่าเฉลี่ย (������̅) ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ขั้นตอนที่ 3 เสนอกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยคุ การศกึ ษา 4.0 ดังนี้ 1. ร่างกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ร่างกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา ยุคการศึกษา 4.0 2. ตรวจสอบกลยุทธ์โดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เลือกจาก คณุ สมบตั ิ ดังนี้ เป็นผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ไม่ตำ่ กวา่ 10 ปี สำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาโท ขึ้นไป สาขาบริหารการศึกษา มีวิทยฐานะไม่ต่ำกว่า ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญด้านบริหาร การศกึ ษา เช่ยี วชาญดา้ นกลยุทธ์ และ นักวชิ าการท่ีมีผลงานเชิงประจักษ์ด้านบริหารการศึกษา ร่างผลการตรวจสอบกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา ยุคการศึกษา 4.0 การ วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยการวเิ คราะห์เนื้อหา 3. ปรับปรุงและนำเสนอกลยทุ ธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยคุ การศกึ ษา 4.0
358 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) ผลการวจิ ยั 1. องค์ประกอบของสมรรถนะผ้บู ริหารสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ยคุ การศกึ ษา 4.0 องค์ประกอบของสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะ 2) องค์ประกอบด้าน ทักษะ ยุคใหม่ 3) องค์ประกอบด้านภาวะผู้นำทางวิชาการ และ 4) องค์ประกอบด้านคุณธรรม จริยธรรม ส่วนสมรรถนะผู้บริหารที่ควรนำมาศึกษามี 6 สมรรถนะ ได้แก่ 1) ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลง 2) ความสามารถในการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพ 3) ทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการบรหิ ารสถานศึกษา 4) ความสามารถ ในการใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารและการแสวงหาความร้ใู หม่ ๆ 5) ส่งเสริมบรรยากาศทาง วชิ าการของสถานศึกษาและความสามารถในการเขยี นงานวิชาการ และ 6) ความกล้าหาญทาง จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและจรรยาบรรณ 2. สภาพปัจจุบันและความต้องการของการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ผลการวิจยั แบง่ ออกเป็น 2 ประเด็น ดังนี้ สภาพปจั จบุ ันของการพฒั นาสมรรถนะผู้บริหาร n = 314 คน สถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ยคุ การศึกษา 4.0 ระดบั ความพึงพอใจ โดยภาพรวม ������ S.D. 1. ดา้ นความกลา้ หาญทางจรยิ ธรรมคุณธรรมและจรรยาบรรณ 4.01 0.32 2. ดา้ นส่งเสริมบรรยากาศดา้ นวิชาการของสถานศึกษาและ 3.99 0.39 ความสามารถในการเขยี นงานวิชาการ 3. ดา้ นภาวะผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง 3.90 0.48 4. ดา้ นความสามารถในการใชน้ วัตกรรมใหมเ่ พอื่ พฒั นาสถานศกึ ษา 3.89 0.41 อยา่ งมีคณุ ภาพ 5. ดา้ นทักษะการนำสอื่ และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ าร 3.48 0.51 สถานศึกษา 6. ด้านความสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารและการ 3.68 0.35 แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ภาพรวม 3.76 0.37 1. สภาพปจั จุบันโดยภาพรวม อย่ใู นระดบั มาก (������ = 3.76 , S.D= 0.37) เมอื่ พิจารณา เปน็ รายดา้ น พบว่า ดา้ นท่มี คี า่ เฉลี่ยสงู สุดท่เี ป็นจุดแข็ง ไดแ้ ก่ ดา้ นความกล้าหาญทางจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณ (������ = 4.01 , S.D= 0.32) ด้านส่งเสริมบรรยากาศด้านวิชาการของ สถานศึกษาและความสามารถในการเขียนงานวิชาการ (������ = 3.99 , S.D= 0.39) ด้านภาวะ ผู้นำการเปลีย่ นแปลง (������ = 3.90 , S.D= 0.48) และความสามารถในการใชน้ วัตกรรมใหม่เพอื่ พัฒนาสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพ (������ =3.89, S.D= 0.41) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดที่เป็น
วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชงิ พุทธ ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 359 จุดอ่อนเรียงลำดับได้ดังนี้ ทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร สถานศึกษา (������ = 3.48 , S.D= 0.51) รองลงมา ได้แก่ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสอื่ สารและการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ (������ = 3.68 , S.D= 0.35) ตามลำดบั ความตอ้ งการของการพฒั นาสมรรถนะผบู้ รหิ าร n = 314 คน สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ระดับความพงึ พอใจ ������ S.D. โดยภาพรวม 4.89 0.08 1. ด้านความกล้าหาญทางจริยธรรมคณุ ธรรมและจรรยาบรรณ 4.92 0.07 2. ด้านส่งเสริมบรรยากาศด้านวิชาการของสถานศึกษาและ 4.88 0.07 ความสามารถในการเขียนงานวชิ าการ 4.87 0.01 3. ดา้ นภาวะผ้นู ำการเปลีย่ นแปลง 4. ด้านความสามารถในการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนาสถานศึกษา 4.97 0.61 อย่างมีคุณภาพ 4.92 0.07 5. ด้านทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร 4.91 0.06 สถานศึกษา 6. ด้านความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ภาพรวม 2. ความต้องการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 4.91 , S.D= 0.06) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลีย่ สูงสุดที่เป็นความต้องการสูงสุด คือ ทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการบริหารสถานศึกษา (������ = 4.97 , S.D= 0.61) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ (������ = 4.92 , S.D=0.07) และที่มีความต้องการ น้อยที่สุด คือ ความสามารถในการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพ (������ = 4.87 , S.D=0.01) ตามลำดับ 3. กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ประกอบด้วย 6 กลยทุ ธ์ ได้แก่ 3.1 ด้านทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร สถานศึกษาประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่ 3.1.1 ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใ้ นการบริหารสถานศึกษาอย่างผู้บริหารมืออาชีพ 3.1.2 พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยที างการบริหารสถานศึกษา
360 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) 3.1.3 ส่งเสริมการนำสอื่ และเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้เป็นส่วนหน่ึง ของการบรหิ ารสถานศึกษา และ 3.1.4 เสริมสร้างสมรรถนะผู้บริหารด้านการปฏิบัติการใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา 3.2 ด้านความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและแสวงหา ความรู้ใหม่ ๆ ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ได้แก่ 3.2.1 สนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารด้านการใช้ ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสารและแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ 3.2.2 พัฒนาความร้ภู าษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารและแสวงหาความรู้ ใหม่ ๆของผูบ้ ริหารยุคการศกึ ษา 4.0 และ 3.2.3 พัฒนากระบวนเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาสัมฤทธิ์ผลการนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่าง สรา้ งสรรค์ 3.3 ด้านความสามารถในการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างมี คุณภาพ ประกอบด้วย 2 กลยทุ ธ์ ประกอบดว้ ย 3.3.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนา สถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ และ 3.3.2 สง่ เสริมพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือ การบริหารสถานศึกษา 3.4 ด้านภาวะผูน้ ำการเปลีย่ นแปลงประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ 3.4.1 ส่งเสริมเพิ่มศักยภาพภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ยคุ การศกึ ษา 4.0 และ 3.4.2 สร้างสมั พนั ธภาพระหว่างผูบ้ ริหารกับครแู ละบุคลากรสู่องค์กร คุณภาพ 3.5 ดา้ นส่งเสรมิ บรรยากาศทางวิชาการของสถานศึกษาและความสามารถใน การเขียนงานวชิ าการ ประกอบดว้ ย 2 กลยทุ ธ์ ได้แก่ 3.5.1 ส่งเสริมประสิทธิภาพ การบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับ ประสทิ ธผิ ลการปฏบิ ัติงานของครูและบุคลากรและ 3.5.2 สนับสนุนครูและบุคลากรพัฒนางานวิชาการในหน้าที่ รับผดิ ชอบแบบม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิ และ 3.6 ด้านความกล้าหาญทางจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณ ประกอบดว้ ย 2 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชงิ พทุ ธ ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (กันยายน 2563) | 361 3.6.1 สง่ เสริมและพัฒนาความกล้าหาญทางจรยิ ธรรม คุณธรรมและ จรรยาบรรณให้สอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมาภบิ าล และ 3.6.2 ปรับปรุงการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาด้วยความยตุ ิธรรม และ เป็นกัลยาณมิตรกบั ครูและบุคลากร อภปิ รายผล จากผลการวจิ ัยครงั้ นี้ ผู้วจิ ยั ได้นำมาอภปิ รายผล ดังนี้ องค์ประกอบของสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ยุคการศึกษา 4.0 จากการศึกษาองค์ประกอบของสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะ 2) องค์ประกอบด้านทักษะ ยุคใหม่ 3) องค์ประกอบด้านภาวะผู้นำทางวิชาการ และ 4) องค์ประกอบด้านคุณธรรมจริยธรรม เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่าสมรรถนะที่ควร นำมาศึกษามี 6 สมรรถนะ คือ 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2) ความสามารถในการใช้ นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างมีคุณภาพ 3) ทักษะการนำสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการบริหารสถานศึกษา 4) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารและการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ 5) ส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการของสถานศึกษาและ ความสามารถในการเขียนงานวิชาการ และ 6) ความกล้าหาญทางจริยธรรม คุณธรรมและ จรรยาบรรณ จากผลการวิจัยจะเห็นได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จในการบริหารการศึกษา มีความเป็นมืออาชีพที่จะสร้าง เด็กยุคใหม่ให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการประยุกต์ใช้ และเข้าถึงนวัตกรรม และ เทคโนโลยีใหม่ ๆ มีองค์ประกอบที่สำคัญคือ มีคุณลักษณะ มีทักษะยุคใหม่มีภาวะผู้นำทาง วิชาการ และมีคุณธรรม จริยธรรม จะเห็นได้ว่าผลการวิจัยทั้ง 4 องค์ประกอบ และสมรรถนะ ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทั้ง 6 สมรรถนะ จึงมีความสำคัญในยุคเทคโนโลยีที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลาและขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ข่าวสาร และนวัตกรรม ผู้บริหารสถานศึกษา จึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะให้เป็นผู้บริหารสถานศึกษา ยุค การศึกษา 4.0 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งบางส่วนสอดคล้องกับแนวคิดของ สุ บัน มุขธระโกษา และคณะ ที่กล่าวว่า ผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 ต้องมี คุณสมบัติที่โดดเด่นเหมาะสมมีประสบการณ์ทางการบริหารการศึกษา และทักษะยุคใหม่ท่ี ทนั สมัยเหมาะสมกบั ยุคโลกาภวิ ตั น์ 4 ดา้ น ได้แก่ มีคณุ ลักษณะทด่ี ี มที ักษะยคุ ใหม่ มคี วามเป็น ผู้นำทางวิชาการบนพื้นฐานคุณธรรมจริยธรรม เพื่อนำพาสถานศึกษาสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ สามารถสนองตอบต่อการแข่งขนั และทันสมัยเหมาะสมกับยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยองคป์ ระกอบ ด้านคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า สมรรถนะที่สำคัญคือมีภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลง และมีความสามารถในการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
362 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) ซึ่งบางส่วนสอดคล้องกับงานวจิ ยั ความเปน็ มอื อาชพี ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 (สบุ นั มุขธระโกษา และคณะ, 2561) สภาพปัจจุบันและความต้องการของการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พนื้ ฐาน ยุคการศึกษา 4.0 จากการศึกษาสภาพปัจจุบันของการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ผู้บริหารมีจุดแข็ง คือ ด้านความกล้าหาญทางจริยธรรมคุณธรรมและจรรยาบรรณ รองลงมา คือ ด้านส่งเสริมบรรยากาศด้านวิชาการของสถานศึกษาและความสามารถในการ เขียนงานวิชาการ ทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาต้องเป็นผู้นำ มีทักษะใน การกำหนดเป้าหมาย การทำงาน กำหนดนโยบายท่ีชัดเจน มีความรู้ความสามารถ มีวสิ ยั ทศั น์ที่ กว้างไกล มีคุณธรรมและจริยธรรมในการบริหาร ส่วนสอดคล้องกับงานวิจัยเกี่ยวกับบทบาท และคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารสถานศึกษายุค ไทยแลนด์ 4.0 (สบุ ัน มขุ ธระโกษา และคณะ, 2561) สำหรับความตอ้ งการพฒั นาสมรรถนะผู้บรหิ ารสถานศึกษาพบว่า สมรรถนะท่ีผู้บริหาร ยคุ การศกึ ษา 4.0 ตอ้ งการพัฒนามากท่ีสุด ได้แก่ ทกั ษะการนำส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในการบริหารสถานศึกษา รองลงมาคือ ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และ การแสวงหาความร้ใู หม่ ๆ ซ่ึงสอดคล้องกบั นพิ นธ์ ศขุ ปรีดี ได้ใหแ้ นวคดิ ในการพัฒนาผู้นำ ทางทางการศึกษาให้เป็นผู้นำมืออาชีพ (นิพนธ์ ศุขปรีดี, 2545) ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาใน ฐานะผู้นำทางวิชาการจะต้องมีลักษณะ Leader Internet/ICT คือ เป็นผู้เรียนและสร้างองค์ ความรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิคส์ (Electronic Learning) ด้วยการใช้ระบบออนไลน์ (ระบบ โทรคมนาคมและเครือข่ายคอมพิวเตอร์) ได้อย่างชำนาญและชาญฉลาด ตระหนักว่าโลกแห่ง อินเตอร์เน็ตสำคัญอย่างยิ่งต่อการเจริญก้าวหน้าขององค์กรและบุคคลในองค์กร ใช้เครื่องมือ สื่อสารที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบอินเตอร์เน็ตเป็น เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่อง Palm organization โทรศัพท์มือถือทีร่ องรับระบบ GPRS ฯลฯ ใช้การไหลเวียนของข้อมลู ด้วยระบบ E-mail (สมชาย พวงโต, 2560) กลยุทธ์การพฒั นาสมรรถนะผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ยคุ การศกึ ษา 4.0 จากการศึกษากลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยคุ การศึกษา 4.0 ประกอบดว้ ย 6 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อนำมาพัฒนาสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารมีจุดอ่อนในการพัฒนาทักษะ การนำสื่อและ เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการบริหาร และมคี วามต้องการในการพัฒนาสมรรถนะการใช้ส่ือ เทคโนโลยี ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาที่ได้กล่าวว่า ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลสำคัญในการพัฒนาองค์กรทางการศึกษา ข้อมูลข่าวสารที่ไร้ พรมแดน ผู้บริหารจำเป็นตอ้ งได้รบั การพัฒนาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศการสือ่ สาร
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 363 เพื่อการบริหาร ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา ให้เกิดคุณภาพและประสิทธิภาพให้ สอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลง (ภคินี มีวารา, 2559) กลยุทธ์ท่ี 2 พัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการแสวงหา ความรู้ใหม่ พบวา่ ผ้บู รหิ ารมีจุดอ่อนในทักษะการฟงั พดู อ่าน และเขยี นภาษาองั กฤษ สามารถ สื่อสารกับชาวต่างชาติได้ เตรียมพร้อมในการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก และมีความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะด้านทักษะภาษาอังกฤษ ซึ่ง สอดคล้องกับแนวคิดของ ชัยเสฎฐ์ พรหมศรี ได้สรุปคุณลักษณะของผู้นำที่มีประสิทธิภาพที่ สำคัญ 10 ประการซึ่งรวมถึง คุณลักษณะด้านการสื่อสารการสื่อสารของผู้บริหารต้องมี ประสิทธิภาพทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา ผู้บริหารในยุคปัจจุบันต้องสามารถสือ่ สารได้หลาย ภาษา นอกจากนี้ผู้บริหารยังต้องมีความสามารถในการใช้ภาษาทางเทคโนโลยี (Technology Literacy) เช่นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งถือเป็น เรอ่ื งทสี่ ำคัญอยา่ งยิ่งในปัจจบุ ัน (ชยั เสฎฐ์ พรหมศรี, 2548) กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้นวัตกรรมการบริหารของผู้บริหาร สถานศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ พบว่า ผู้บริหารมีจุดอ่อนในการจัดทำ แผนการนำนวัตกรรมใหม่มาใช้เพื่อพัฒนาสถานศึกษาสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เปา้ หมายของสถานศกึ ษาและมีความต้องการในการพฒั นาสมรรถนะด้านการเพม่ิ ประสิทธิภาพ การใช้นวัตกรรมการบริหารซึ่ง บุญเลิศ วีระพรกานต์ กล่าวไว้ว่าว่า การบริหารสถานศึกษาใน ยุคโลกาภิวัตน์และยุคของการปฏิรูปการศึกษาส่งผลให้ผู้บริหารสถานศึกษาต้องใช้ ความสามารถและอำนาจในการตัดสินใจ และต้องมีภาวะผู้นำ มีความเป็นมืออาชีพในการ บริหารจัดการ ผู้บริหารสถานศึกษาจึงจำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีเครื่องมือในการ บริหารจัดการนวัตกรรมเป็นเครื่องมือในการบริหารสถานศึกษาไปสู่เป้าหมาย เช่น 1) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2) การบริหารแบบมุง่ ผลสัมฤทธ์ิ 3) การประกันคุณภาพ การศึกษา และ 4) การจัดการความรู้ ซึ่งนวัตกรรมเพื่อการบริหารสถานศึกษา จะประสบ ความสำเร็จหรอื ไม่ข้ึนอยกู่ ับปัจจยั และบริบทต่าง ๆ เชน่ ผ้บู ริหารสถานศึกษา บคุ ลากร ทีมงาน ต้องมีองค์ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมในการบริหารที่นำมาใช้ สามารถปฏิบัติได้ ถ่ายทอดเป็น และองค์กรหรือสถานศึกษาต้องมคี วามพร้อมในการเปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การ เปน็ องคก์ รแห่งนวตั กรรม (บญุ เลิศ วีระพรกานต์, 2553) กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมศักยภาพภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารยคุ ใหม่ พบว่า ผู้บริหารมีจุดอ่อนในการมีแนวทางในการปฏิบัติงานครูและบุคลากรเพื่อให้บรรลุ เปา้ หมายทางการศึกษาและต้องการเป็นแบบอย่างทดี่ ีในการปฏิบัติงาน และมคี วามต้องการใน การพัฒนาสมรรถนะด้านการส่งเสริมศกั ยภาพภาวะผู้การเปล่ียนแปลงของผู้บริหารยุคใหม่ ซ่ึง สอดคล้องกับงานวิจัยของ ประพจน์ แย้มทิม กล่าวว่าผู้บริหารโรงเรียนในยุคปฏิรูปการศึกษา ควรมีลักษณะทีส่ ำคัญ คือ ต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงจะต้องเป็นผู้ใฝ่รูใ้ ฝ่เรยี นอย่างต่อเน่อื ง
364 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) รเู้ ท่าทันการเปลย่ี นแปลง มวี ิสัยทัศน์ สามารถทีจ่ ะวางแผนกลยุทธเ์ พ่ือนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง อย่างมีแผน สามารถสร้างความเข้าใจและผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบในโรงเรียน (ประพจน์ แย้มทิม, 2545) และยังสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ ธีระ รญุ เจริญ ได้กล่าวว่า ผู้บริหาร สถานศึกษาต้องมีบทบาทในการบริหารสถานศึกษาควรมีลักษณะความเป็นผู้นำ ที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ซึ่งหมายถึง สามารถชักนำหรือสร้างแรงจูงใจให้ ผู้ร่วมงานเกิดการเปลี่ยนแปลง การปฏิบัติงานทางการศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมาย ผู้บริหาร สถานศึกษาจำเปน็ ต้องเป็นผู้นำท่ีมีความรู้ และรู้จักแสวงหาความรู้ให้ทนั ต่อความเปลีย่ นแปลง ของสังคม ใหก้ ารสนับสนุนและอำนวยความสะดวก ด้านการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาตนเอง นอกจากนั้นยังต้องส่งเสริมให้ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และชุมชนมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมของสถานศกึ ษา (ธีระ รญุ เจริญ, 2544) กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษาพบว่า ผู้บริหารมีจุดอ่อนในการเปน็ ผู้นำทางวิชาการในการส่งเสริมบรรยากาศทาง วิชาการของสถานศึกษาและความสามารถในการเขียนงานวิชาการและมีความต้องการในการ พัฒนาสมรรถนะด้านส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรจัดทำเอกสารทางวิชาการเพื่อใช้ ประกอบการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติงานท่ีรับผิดชอบ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ธีระ รุญ เจริญ ได้กล่าววา่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาตอ้ งมบี ทบาทเปน็ ผู้นำทางวชิ าการ โดยให้ความสำคญั ต่อ การส่งเสริมและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ตามหมวด 4 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมีการวางแผนนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ของ สถานศึกษาอย่างชัดเจนและสะดวกต่อการนำไปปฏิบัติให้คำปรึกษาแนะนำ และสร้างพลัง ความร่วมมือของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อการเรียนรู้ซึ่งจะนำไปสู่การศึกษา นอกจากนั้นภาวะ ผนู้ ำทางวิชาการเป็นความสามารถของผบู้ ริหารโรงเรยี นในการนำความรทู้ ักษะตลอดจนเทคนิค ต่างๆมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงานวิชาการให้บุคลากรในโรงเรียนร่วมมือปฏบิ ัติงาน จนบรรลเุ ปา้ หมายของโรงเรยี นอย่างมีประสิทธิภาพ และจะต้องมคี วามร้คู วามเข้าใจเรื่องระบบ ตรวจสอบและประกันคุณภาพเป็นข้อมูลในการตัดสินใจและปรับปรุงการจัดการศึกษาเพื่อให้ บรรลุผลตามที่คาดหวงั ไว้ (ธีระ รญุ เจริญ, 2544) กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้ใช้กระบวนการบริหารสถานศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล พบว่า ผู้บริหารมีจุดอ่อนในเรื่องความชัดเจนในการปฏิบัติงานและมี ความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะด้านบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมมาภิบาล ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ ประพจน์ แย้มทิม กล่าวว่า ผู้บริหารโรงเรียนในยุคปฏิรูปการศึกษา ควรมลี ักษณะทสี่ ำคัญ คือ ตอ้ งเปน็ ผูน้ ำทางจรยิ ธรรม เพราะผบู้ รหิ ารเป็นเสมอื นสัญลักษณ์หรือ ผู้แทนของโรงเรียนจะต้องเป็นผู้นำที่เป็นแบบอย่าง แห่งการประพฤติปฏิบัติที่ดี บริหารงาน บริหารคนโดยนำหลักธรรมเข้ามาใช้ในการบริหารคำนึงถึงความถูกต้องชอบธรรมเหตุและผล
วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชงิ พทุ ธ ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (กันยายน 2563) | 365 ตลอดจนมีความกล้าหาญทางจริยธรรมคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนพวก พอ้ ง (ประพจน์ แยม้ ทมิ , 2545) องคค์ วามรใู้ หม่ ภาพท่ี 1 องค์ความรูใ้ นการวิจัย ผวู้ ิจัย: มานะ ครุธาโรจน์: 2563 จากภาพท่ี 1 องค์ความรู้ในการวิจยั มีคำอธบิ ายดงั นี้ กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ควร ไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะสำหรบั ผู้บริหารใหค้ รอบคลมุ ทง้ั 6 กลยทุ ธ์ ดงั นี้ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา เพอื่ นำมาพฒั นาสถานศึกษา คอื ผ้บู ริหารสถานศึกษาเปน็ บุคคลสำคัญในการพัฒนาองค์กรทาง การศึกษา ข้อมูลข่าวสารที่ไร้พรมแดน ผู้บริหารจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารเพื่อการบริหาร ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา ให้ เกดิ คณุ ภาพและประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการแสวงหา ความรู้ใหม่ คือ ผู้บริหารควรมีทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ สามารถสื่อสาร
366 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) กับชาวต่างชาติได้ เตรียมพร้อมในการเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของประชาคมอาเซียนและ ประชาคมโลก และมคี วามตอ้ งการในการพัฒนาสมรรถนะดา้ นทกั ษะภาษาองั กฤษ กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้นวัตกรรมการบริหารของผู้บริหาร สถานศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ คือ ผู้บริหารควรมีการจัดทำแผนการนำ นวัตกรรมใหม่มาใช้เพื่อพัฒนาสถานศึกษาสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของ สถานศึกษาและมีความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ นวตั กรรมการบริหาร เพอ่ื นำไปส่กู ารเปน็ องค์กรแหง่ นวตั กรรม กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมศักยภาพภาวะผู้นำการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารยคุ ใหม่ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีบทบาทในการบริหารสถานศึกษาควรมีลักษณะความเป็นผู้นำ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาและต้องการเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในการปฏบิ ัตงิ าน กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร สถานศกึ ษา คอื การเปน็ ผนู้ ำทางวิชาการในการสง่ เสริมบรรยากาศทางวชิ าการของสถานศึกษา และความสามารถในการเขียนงานวิชาการและมีความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะด้าน ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ครแู ละบคุ ลากรจัดทำเอกสารทางวชิ าการเพ่ือใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติงานทีร่ ับผดิ ชอบ กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้ใช้กระบวนการบริหารสถานศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล คือ ผู้บริหารมีความชัดเจนในการปฏิบัติงานและมีความต้องการในการ พัฒนาสมรรถนะด้านบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมมาภิบาล บริหารงาน บริหารคนโดยนำ หลักธรรมเขา้ มาใช้ในการบริหารคำนึงถึงความถูกต้องชอบธรรมเหตแุ ละผล ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ควรได้รับการพัฒนา สมรรถนะสำหรับผู้บริหารให้ครอบคลุมทั้ง 6 กลยุทธ์ รวมถึงด้านส่งเสริมบรรยากาศด้าน วิชาการของสถานศึกษาและความสามารถในการเขียนงานวิชาการ ด้านความกล้าหาญทาง จริยธรรมคุณธรรมและจรรยาบรรณ ด้านความสามารถในการใช้นวัตกรรมใหม่เพื่อพัฒนา สถานศึกษาอย่างมีคุณภาพ และด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เนื่องเพราะผู้บริหาร สถานศกึ ษาต้องเป็นผู้นำทม่ี ีสมรรถนะ (Competency) สูง คอื มแี ละใช้ความรู้ ความสามารถ/ ทักษะและคุณลักษณะที่จำเปน็ ของผู้บรหิ ารในการบริหารงานใหป้ ระสบความสำเรจ็ สรุป/ข้อเสนอแนะ กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธท์ ี่ 1 ส่งเสรมิ การใชส้ ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหาร สถานศึกษาเพื่อนำมาพัฒนาสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารและการแสวงหาความรู้ กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้นวัตกรรมการบริหารของ ผบู้ ริหารสถานศึกษา เพือ่ พฒั นาสถานศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบ กลยทุ ธ์ท่ี 4 ส่งเสรมิ ศกั ยภาพภาวะ
วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชงิ พทุ ธ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (กันยายน 2563) | 367 ผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารยุคใหม่ กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารงาน วิชาการของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา และกลยทุ ธ์ท่ี 6 พัฒนาผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาให้ใชก้ ระบวนการ บริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล โดยผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการพัฒนาสมรรถนะ ผู้บริหารสถานศึกษา ยุคการศึกษา 4.0 ดังนี้ รัฐควรมีนโยบายสง่ เสริมสนับสนุนงบประมาณให้ หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วประเทศ เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ควรกำหนดกลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ยคุ การศึกษา 4.0 เพ่อื นำไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและ ต่อเนื่อง โดยให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนกล ยุทธ์และมาตรการดำเนินงานอย่างรอบด้าน และควรกำหนดบทบาทการพัฒนาสมรรถนะ ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา 4.0 โดยมุ่งเน้นส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้บริหาร สถานศึกษามีศักยภาพสูงสุดในการบริหารสถานศึกษาให้มีคุณภาพบรรลุตามเป้าหมายการจัด การศึกษาตามแผนการศึกษาชาติและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 โดยผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ส่ือ และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับการพัฒนาสมรรถนะบริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนั้น จึงควรมีการศึกษากลยุทธ์การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อจะได้ทราบว่าในการพัฒนาสมรรถนะผู้บริหาร สถานศึกษาด้านสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศควรมีกลยุทธ์สำคัญอย่างไรบ้าง และผู้บริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐานส่วนใหญ่ต้องการได้รับการพัฒนาความรู้ภาษาอังกฤษและการแสวงหา ความรูใ้ หม่ ๆ อย่างเรง่ ดว่ น ดังนั้น จงึ ควรมีการศึกษาแนวทางการพัฒนาและส่งเสรมิ การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษและการแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เอกสารอ้างองิ กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ. ชัยยนต์ เพาพาน. (2558). แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานการเป็นผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาใน ศตวรรษท่ี 21 คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั กาฬสนิ ธ์.ุ วารสารบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , 12(1), 1-9. ชัยเสฎฐ์ พรหมศร.ี (2548). การบรหิ ารจดั การแบบมืออาชพี . กรงุ เทพมหานคร: บ๊คุ แบงก์. ธีระ รุญเจริญ. (2544). สภาพและปัญหาการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สถานศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา แหง่ ชาติ สำนกั นายกรฐั มนตร.ี นิพนธ์ ศุขปรีดี. (2545). นวัตกรรม เทคโนโลยี สื่อสารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: นีลนารา การพิมพ์.
368 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) นุชนรา รัตนะศิระประภา. (2557). สมรรถนะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณลักษณะโรงเรียน มาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการ Veridian E - Journal, 7(3), 507 – 528. บรรลุ ชินน้ำพอง และวลั ลภา อารรี ตั น.์ (2556). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น. วารสาร ศึกษาศาสตร์ ฉบบั วิจยั บณั ฑติ ศกึ ษา, 7(1), 92-103. บญุ เลศิ วรี ะพรกานต.์ (2553). นวัตกรรมเพอื่ การบรหิ ารสถานศึกษา. เรยี กใชเ้ ม่อื 20 สิงหาคม 2561 จาก https://www.gotoknow.org/posts/342911 ประพจน์ แย้มทิม. (2545). ยุทธศาสตร์การบริหารสถานศึกษาใหป้ ระสบความสำเร็จ. วารสาร บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒประสานมิตร, 34(3), 34 – 35. พิชิต เทพวรรณ์. (2555). A-Z เครอ่ื งมอื การจดั การทรพั ยากรมนุษยส์ มยั ใหม.่ กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน. ภคินี มีวารา. (2559). สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอ่างทอง ตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา. เรียกใช้เมื่อ 28 สิงหาคม 2 5 6 1 จ า ก http: / / www. edu- journal. ru. ac. th/ index. php/ abstractData /viewIndex/348.ru. วิจารณ์ พานิช. (2546). องค์การแห่งการเรียนรู้และการจัดความรู้. เรียกใช้เมื่อ 17 กรกฎาคม 2554 จาก http://www.ha.or.th/km.html. วิมลรัตน์ ศรีสำอางค์. (2558). สมรรถนะหลักทางการบริหารสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาตาม ความคิดเห็นของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครพนม. วารสารมหาวิทยาลัย นครพนม, 5(2), 80-89. สมชาย พวงโต. (2560). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําทางวิชาการของศึกษานิเทศก์ สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 4(2), 22 - 30. สำนักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา. (2548). ประกาศสำนักงาน ก.ค.ศ. เรื่องมาตรฐานตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา. สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2553). ขอ้ เสนอการปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561). กรงุ เทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค. สุบนั มขุ ธระโกษา และคณะ. (2561). ความเป็นมอื อาชพี ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษายคุ ไทยแลนด์ 4.0 . วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ (สาขามนุษยศาสตร์และ สงั คมศาสตร)์ , 4(2), 453-461.
วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีท่ี 5 ฉบบั ท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 369 สุรศักดิ์ ศุภเมธีวรกุล. (2557). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้นำการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็น เลิศตามมาตรฐานสากลในการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขา การจัดการการศกึ ษา. วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบณั ฑิตย์. สุรีพร โพธิ์ภักดี. (2558). สมรรถนะการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน ตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 8(1), 47-54. Fullan, M. ( 2 0 0 6 ) . The New Meaning of Education Change. London: Routledge/Falmer. Hoy, W. K. & Miskel, C. G. . (2001). Educational Administration: Theory, Research, and Practice. (6th ed.). New York: McGraw-Hill. Wilson, R. C. (2002). Education for Gifted. Chicago: The University of Chicago Press.
การพัฒนาคูม่ ือภาษาองั กฤษสำหรบั ผขู้ ับข่ีรถสาธารณะ ในอำเภอขนอม จงั หวดั นครศรีธรรมราช* DEVELOPMENT OF AN ENGLISH HANDBOOK FOR PUBLIC TRANSPORT DRIVERS IN KHANOM DISTRICT NAKHON SI THAMMARAT PROVINCE ภัชญาภา ทองใส Patchayapa Thongsai คมสทิ ธ์ิ สทิ ธิประการ Komsit Sittipragan ลดาวัลย์ จนั ทวงค์ Ladawan Jantawong โสพิศพไิ ล ทองใส Sopispilai Thongsai มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช (ไสใหญ)่ Rajamangala University of Technology Srivijaya Nakhon Si Thammarat Saiyai Campus, Thailand E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความต้องการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับข่ี รถสาธารณะ เพ่ือพฒั นาคูม่ ือภาษาองั กฤษสำหรับผู้ขบั ข่ีรถสาธารณะและเพื่อศึกษาระดับความ พึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราชที่มีต่อคู่มือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 53 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง การวิจัยนี้เป็นแบบผสมผสาน ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสำรวจ ความต้องการใช้ภาษาอังกฤษ แบบประเมนิ คู่มือภาษาอังกฤษ คมู่ อื ภาษาองั กฤษ แบบสอบถาม ความพึงพอใจและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ผู้ขับขี่รถสาธารณะมีความต้องการใช้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับ มาก เพราะบางคนไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติได้ หรือบางคนสามารถ สื่อสารภาษาอังกฤษได้บ้าง แต่ใช้ภาษาอังกฤษได้ไม่ถูกต้อง ผู้เชี่ยวชาญประเมินคู่มือ ภาษาอังกฤษสรุปผลการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษในด้านเนื้อหา โดยมีหัวข้อเรื่องการทักทาย ผู้โดยสาร การกล่าวขอบคุณและกล่าวอำลาผู้โดยสาร การสอบถามจุดหมายปลายทาง การบอกราคาและการบอกทางให้ผู้โดยสารอยู่ในระดับมากท่ีสุด (������ = 5.00, 5.00, 4.67, 4.67 และ 4.33) ตามลำดบั และผ้ขู บั ขี่รถสาธารณะมีความพึงพอใจต่อคู่มือภาษาองั กฤษในภาพรวม * Received 9 July 2020; Revised 6 September 2020; Accepted 13 September 2020
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชงิ พทุ ธ ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (กันยายน 2563) | 371 อยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 4.37) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าผู้ขับขี่รถสาธารณะมีความ พึงพอใจในด้านการนำไปใช้ ด้านเนื้อหาของคู่มือและด้านรูปเล่มของคู่มืออยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 4.48 4.40 และ 4.23) ตามลำดับ ส่วนแนวทางในการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับ ผขู้ ับขร่ี ถสาธารณะ คอื จัดทำคูม่ อื ภาษาองั กฤษในรูปแบบออนไลนเ์ พ่ือการเข้าถงึ ขอ้ มลู ท่ีสะดวก และงา่ ยขนึ้ คำสำคัญ: การพฒั นา, คูม่ อื ภาษาองั กฤษ, ผขู้ บั ขีร่ ถสาธารณะ Abstract The purposes of this mixed methods research article were to explore public transport drivers’ needs for an English handbook, to develop an English handbook for public transport drivers and to investigate the satisfaction of 53 public transport drivers in Khanom district, Nakhon Si Thammarat province towards using the English handbook by purposive sampling. The research instruments consisted of an English needs survey, an English handbook evaluation form, English handbook, a satisfaction survey and In-depth Interview f o r m . Statistical data analysis comprised means and standard deviation. T h e results indicated high levels of the public transport drivers’ needs of using English because some public transport drivers could not communicate in English with foreigners, or some could communicate in English but they used English incorrectly. According to experts’ evaluation of the handbook, the finding of development the English handbook regarding contents on greetings, thanking and saying goodbye, asking for destination, telling the fare and giving directions were at the highest levels (������ = 5.00, 5.00, 4.67, 4.67 and 4.33 respectively). The public transport drivers’ overall satisfaction with the handbook was at the highest level (������ = 4.37). Considering individual aspects, it was found that the public transport drivers had the highest level of satisfaction toward utilizing the handbook, its contents and format (������ = 4.48, 4.40 and 4.23 respectively). It was suggested that an online English manual for public transport drivers be created for more convenient and easier information access. Keywords: Development, English Handbook, Public Transport Drivers
372 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) บทนำ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่สามารถใช้สื่อสารได้อย่างเข้าใจตรงกันทั่วโลก มีผู้ใช้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่จำนวน 330 ล้านคน และใช้โดยประชากรทั่วโลกทั้งหมดประมาณ 1.8 พันล้านคน (ชมพู อิสริยาวัฒน์, 2561) ภาษาอังกฤษจึงเป็นภาษาสำคัญที่ใช้ในการติดต่อ ประสานงาน ทั้งด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ และด้านการบริการ เป็นต้น ภาษาอังกฤษ มีความสำคัญกับคนไทยในการดำรงชีวิตเพื่อประกอบอาชีพอย่างมาก โดยเฉพาะในด้านการ ท่องเที่ยว (กฤษณา สิกขมาน, 2554) ซึ่งในประเทศไทยนั้นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวถือเป็น อุตสาหกรรมหลักที่ทำรายได้ให้ประเทศมากที่สุดและมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกจิ ในชุมชนทอ้ งถน่ิ ในแต่ละภูมภิ าค (Industrial news, 2561) ปัจจุบันนี้มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาในประเทศไทยและนิยมเดินทาง ต่อไปยังแต่ละภูมิภาคในจังหวัดต่าง ๆ เช่น ภูเก็ต ชลบุรี กระบี่ สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่ ประจวบคีรีขันธ์ ระยอง นครพนม นครศรีธรรมราช เป็นต้น ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีชาวต่างชาติเดินทางมาท่องเที่ยวในปี 2559 มากกว่า 80,000 คนและมีแนวโน้มเพิ่มสูงข้ึน เรอื่ ย ๆ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2560) เป็นจงั หวดั ท่ีมแี หล่งท่องเที่ยวท่ีหลากหลายตามความ นิยมของชาวต่างชาติ ได้แก่ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารที่เป็นมรดกโลก และทะเลขนอม เป็นต้น การเดินทางของนักท่องเที่ยวไปยังสถานที่ต่าง ๆ เหล่านั้นส่วนใหญ่จะเป็นการเดินทาง โดยรถเช่าหรอื รถสาธารณะ เช่น รถโดยสารประจำทางปรบั อากาศ รถตู้สาธารณะ เป็นต้น แต่ จากการสัมภาษณ์บุคคลที่มีประสบการณ์ในการขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราชได้ข้อมูลว่า ผู้ขับขี่รถสาธารณะโดยเฉพาะรถตู้โดยสารมีปัญหาการสื่อสาร ภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติมาก และมีความต้องการฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ หากมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดอบรมหรือจัดทำคู่มือภาษาอังกฤษให้กับผู้ที่มีความจำเป็น ดังกล่าว จะเป็นประโยชน์อย่างมาก (สานิตย์ แซ่อุ่ย, 2563) จากงานวิจัยของ เขมิกา ขาวสำลี และคณะ พบว่าผู้ประกอบอาชีพนวดแผนไทยมีการใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างสุภาพและถูกต้อง ตามหลกั ไวยากรณ์ และสามารถใช้ภาษาอังกฤษแทนการใช้ทา่ ทางหลงั จากใช้คูม่ ือภาษาอังกฤษ (เขมิกา ขาวสำลี และคณะ, 2554) และงานวิจัยของ กรชนก แสงพานชิ และคณะ พบว่า คมู่ ือ ภาษาอังกฤษช่วยให้ผู้ประกอบอาชีพขับรถแท็กซี่ในจังหวัดกรุงเทพฯ สามารถบอกราคาค่า โดยสารและนัดรับผู้โดยสารได้ นอกจากนั้นยังช่วยเพิ่มรายได้มากขึ้นอีกด้วย (กรชนก แสงพานิช และคณะ, 2554) อยา่ งไรก็ตาม แม้มกี ารศกึ ษาถึงปัญหาการสื่อสารภาษาอังกฤษของผู้ขบั ขี่รถสาธารณะ ในอำเภอขนอม จงั หวัดนครศรธี รรมราชแลว้ ยงั ไม่มกี ารพฒั นาการส่อื สารภาษาอังกฤษสำหรับ ผู้ขับขี่รถสาธารณะ ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับ ผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อเป็นการพัฒนาและ เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการสื่อสารภาษาอังกฤษให้กับผ้ขู ับข่รี ถสาธารณะในอนาคต
วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชงิ พทุ ธ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 9 (กนั ยายน 2563) | 373 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 1. เพื่อสำรวจความต้องการใช้ภาษาองั กฤษสำหรับผู้ขับข่ีรถสาธารณะในอำเภอขนอม จงั หวัดนครศรธี รรมราช 2. เพื่อพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวดั นครศรธี รรมราชท่มี ตี ่อคมู่ ือภาษาอังกฤษสำหรบั ผู้ขับขีร่ ถสาธารณะ วธิ ีดำเนนิ การวิจยั วิธีดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ และการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ โดยมขี ้นั ตอน ดงั น้ี ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้าง ผู้ขับขี่รถตู้โดยสาร และผู้ขับขี่รถโดยสารประจำทางปรับอากาศในอำเภอขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราช จำนวน 53 คน โดยวธิ กี ารเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) ดงั นี้ 1. ผ้ขู ับขี่รถจักรยานยนตร์ ับจา้ ง จำนวน 28 คน 2. ผ้ขู บั ขรี่ ถตโู้ ดยสาร จำนวน 23 คน 3. ผู้ขับขรี่ ถโดยสารประจำทางปรับอากาศ จำนวน 2 คน เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย ผวู้ ิจัยใช้เคร่อื งมอื ในการวจิ ยั ดังตอ่ ไปนี้ 1. แบบสำรวจความต้องการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะ เป็นการการสนทนากลุ่มเพือ่ สำรวจความต้องการใช้ภาษาอังกฤษ หัวข้อและเนื้อหาที่ใช้ในการ พัฒนาคมู่ ือภาษาอังกฤษ 2. แบบประเมินคู่มือภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะ ในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วยการประเมิน 2 ด้าน คือ ด้านรูปเล่ม จำนวน 4 ข้อ และด้านเนื้อหา จำนวน 5 ข้อ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษจำนวน 3 ทา่ นเป็นผ้ปู ระเมนิ คู่มือภาษาอังกฤษ 3. คู่มือภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขน อม จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นคู่มือภาษาอังกฤษมีเนื้อหาจำนวน 5 บท ได้แก่ การทักทาย ผู้โดยสาร การสอบถามจุดหมายปลายทาง การบอกทางให้ผู้โดยสาร การบอกราคา การกล่าว ขอบคุณและกล่าวอำลาผโู้ ดยสาร 4. แบบสอบถามความพงึ พอใจ โดยแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ดงั น้ี 4.1 ข้อมูลทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
374 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) 4.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะใน อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 53 คน ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านรูปเลม่ ของคมู่ อื ด้านเนือ้ หา และด้านการนำไปใช้ 4.3 ข้อเสนอแนะ 5. แบบสัมภาษณ์ เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก ลักษณะคำถามเป็นคำถาม ปลายเปิด จำนวน 3 คำถาม โดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้ขับขี่รถสาธารณะทั้ง 3 ประเภท จำนวน 12 คน ดงั นี้ 5.1 ผูข้ ับขีร่ ถจกั รยานยนตร์ บั จ้าง จำนวน 5 คน 5.2 ผู้ขบั ข่ีรถตูโ้ ดยสาร จำนวน 5 คน 5.3 ผู้ขบั ขร่ี ถโดยสารประจำทางปรับอากาศ จำนวน 2 คน วิธกี ารเกบ็ ข้อมลู การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวจิ ัย มีขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ผวู้ ิจยั ทำการสนทนากลุ่ม เพ่ือสำรวจความต้องการใชภ้ าษาอังกฤษ รวมทั้ง ประเด็นหัวข้อและเนื้อหาที่ใช้ในการสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติและทำการศึกษาจาก เอกสารข้อมูลต่าง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ งเพื่อนำมาสร้างคู่มอื ภาษาองั กฤษสำหรับผขู้ บั ขี่รถสาธารณะ 2. หลังจากที่ผู้วิจัยสร้างคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะแล้ว ได้ให้ผู้เชีย่ วชาญประเมินคู่มอื ภาษาอังกฤษ 3. ผูว้ จิ ัยทำการปรบั ปรงุ แก้ไขคู่มอื ภาษาอังกฤษตามคำแนะนำของผเู้ ช่ียวชาญ 4. ผวู้ ิจยั ทำการขออนุญาตผู้ดแู ลคิวรถทั้ง 3 ประเภทในการทำวจิ ัย และช้ีแจง วตั ถุประสงค์ ความสำคัญของการวิจัยครัง้ นใี้ หก้ บั กลุม่ ตัวอยา่ ง 5. ผู้วจิ ยั แจกคมู่ ือใหก้ ับกลุม่ ตัวอยา่ ง 6. ผ้วู จิ ยั เก็บขอ้ มลู แบบสอบถามความพงึ พอใจท่ีมีต่อคมู่ ือภาษาอังกฤษ 7. หลังจากนั้นผู้วิจัยเลือกสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างแต่ละประเภทแบบเจาะจง และจดบนั ทกึ ลงในแบบสมั ภาษณ์ 8. นำข้อมูลทั้งหมดไปวิเคราะห์ การวิเคราะหข์ ้อมลู การวเิ คราะหข์ ้อมูลแบ่งออกเปน็ 2 ส่วน คือ 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ การวิเคราะห์ผลประเมินคู่มือภาษาอังกฤษและ ระดับความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะ นำผลที่ได้มาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ การวิเคราะห์การสนทนากลุ่มและแบบสัมภาษณ์เชิง ลกึ เป็นการสรุปประเดน็ เนื้อหาต่าง ๆ และนำเสนอขอ้ มูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 375 ผลการวจิ ยั ผลของการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรบั ผู้ขับขี่รถสาธารณะ ไดผ้ ลดงั ต่อไปน้ี ตอนที่ 1 ผลการสำรวจความตอ้ งการใชภ้ าษาอังกฤษสำหรบั ผขู้ บั ขี่รถสาธารณะ จากการสำรวจความต้องการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะโดยการ สนทนากลุ่มกับตัวแทนกลุ่มของผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 10 คน ผลจากการสนทนากลุ่มพบว่า 1) ผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราชทั้งหมด มีความต้องการใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารกับชาวต่างชาตใิ นระดับ มาก เนื่องจาก ในอำเภอขนอมมีชาวต่างชาติเข้ามารับบริการรถสาธารณะอย่างสม่ำเสมอ ถึงแม้ว่าผู้ขับขี่รถสาธารณะส่วนใหญ่จะมีประสบการณ์ใน การทำงานเป็นเวลาหลายสิบปี แต่บางคนก็ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติได้ หรือบางคนสามารถสื่อสาร ภาษาอังกฤษได้บ้าง แต่ใช้ภาษาอังกฤษได้ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้ชาวต่างชาติเกิดความสับสนและ ไม่ได้รับบริการรถสาธารณะ 2) ผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช มคี วามต้องการเนื้อหาในการสือ่ สารภาษาองั กฤษโดยสรุปเป็นหวั ข้อได้ดงั น้ี 1. การทักทายผู้โดยสาร (Greetings) 2. การสอบถามจุดหมายปลายทาง (Asking For Destination) 3. การบอกทางให้ผโู้ ดยสาร (Giving Directions) 4. การบอกราคา (Telling About The Fare) 5. การกล่าวขอบคุณและกล่าวอำลาผู้โดยสาร (Thanking and Saying Goodbye) ตอนที่ 2 ผลการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขน อม จงั หวัดนครศรีธรรมราช ตารางที่ 1 ผลการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะ ด้านรูปเล่มของ ค่มู อื รายการประเมิน ������ S.D. ความหมาย 1. ค่มู ือมขี นาดกะทดั รัด สามารถพกพาไดส้ ะดวก 4.33 0.47 มากท่สี ุด 2. ปกหน้าของคู่มอื มีความสวยงาม 4.00 0.00 มาก 3. ขนาดตัวอกั ษรมีความเหมาะสม 5.00 0.00 มากทส่ี ุด 4. มีการจัดลำดบั เน้อื หาไดด้ ี 4.33 0.47 มากท่สี ุด รวม 4.42 0.36 มากที่สุด จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าผู้เชี่ยวชาญประเมินคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับข่ี รถสาธารณะในด้านรูปเล่มของคู่มืออยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 4.42) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ขนาดตัวอักษรมีความเหมาะสม คู่มือมีขนาดกะทัดรัด สามารถพกพาได้สะดวกและ
376 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) มีการจัดลำดับเนื้อหาได้ดีอยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 5.00, 4.33 และ 4.33) และปกหน้าของ คมู่ อื มีความสวยงามอยู่ในระดับมาก (������ = 4.00) ตามลำดับ ตารางที่ 2 ผลการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรบั ผู้ขับข่รี ถสาธารณะ ดา้ นเนื้อหา รายการประเมิน ������ S.D. ความหมาย 1. การทักทายผู้โดยสาร 5.00 0.00 มากท่ีสุด 2. การสอบถามจุดหมายปลายทาง 4.67 0.47 มากท่ีสุด 3. การบอกทางใหผ้ ู้โดยสาร 4.33 0.47 มากทส่ี ุด 4. การบอกราคา 4.67 0.47 มากที่สดุ 5. การกลา่ วขอบคณุ และกลา่ วอำลาผูโ้ ดยสาร 5.00 0.00 มากที่สดุ รวม 4.73 0.25 มากที่สดุ จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่าผู้เชี่ยวชาญประเมินคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่ รถสาธารณะในด้านเนื้อหาอยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 4.73) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า การทักทายผู้โดยสาร การกล่าวขอบคุณและกล่าวอำลาผู้โดยสาร การสอบถามจุดหมาย ปลายทาง การบอกราคาและการบอกทางให้ผู้โดยสารอยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 5.00, 5.00, 4.67, 4.67 และ 4.33) ตามลำดบั ตอนที่ 3 ผลความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัด นครศรธี รรมราชที่มต่ี ่อคู่มอื ภาษาอังกฤษสำหรบั ผูข้ ับขี่รถสาธารณะ ตารางที่ 3 ผลการประเมินความพงึ พอใจของผขู้ ับขี่รถสาธารณะต่อคู่มอื ภาษาองั กฤษ รายการประเมิน (������) S.D. ระดับ ความพงึ พอใจ 1. ดา้ นรูปเล่มของคูม่ ือ 4.23 0.52 มากทส่ี ดุ 2. ดา้ นเน้อื หาของค่มู อื 4.40 0.49 มากที่สุด 3. ดา้ นการนำไปใช้ 4.48 0.51 มากทส่ี ดุ รวม 4.37 0.45 มากทสี่ ุด จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่าผู้ขับขี่รถสาธารณะมีความพึงพอใจเกี่ยวกับคู่มือ ภาษาองั กฤษสำหรับผขู้ ับขี่รถสาธารณะในภาพรวม อยใู่ นระดับมากทสี่ ุด (������ = 4.37) เม่ือพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน ได้แก่ ด้านการนำไปใช้ (������ = 4.48) รองลงมาคอื ดา้ นเน้ือหาของคู่มือ (������ = 4.40) และดา้ นรูปเล่มของคมู่ อื (������ = 4.23) จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ทุกคนมีความยินดีและพึงพอใจเป็นอย่างมากที่ได้รับคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถ สาธารณะ ซึ่งคู่มือนั้นสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติได้จริง
วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 377 รวมถึงเรื่องการออกเสียงที่ถูกต้องซึ่งเป็นการเพ่ิมความรู้ให้กับผู้ขับข่ีรถสาธารณะแทน การอบรมได้ โดยไม่เสียเวลาในการหารายได้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่รถสาธารณะยังสนับสนุนให้มี การพัฒนาคู่มือ ภาษาอังกฤษในหัวข้อต่าง ๆ ตอ่ ไปในอนาคต ตวั อย่างเช่น ผู้ขับขี่รถสาธารณะคนท่ี 1 กล่าวว่า “ดีมากครับที่ได้นำคู่มือภาษาอังกฤษมาให้ เพราะที่ขนอมมีชาวต่างชาติเป็นจำนวนมาก บางครั้งไม่สามารถสื่อสารได้ ก็เสียรายได้ตรงนั้นไป อยากใหค้ มู่ ือเล่มเลก็ กว่าน้สี ามารถใส่กระเป๋าเส้ือได้” (กติ ติ ขนอม, 2563) ผู้ขับขี่รถสาธารณะคนที่ 2 กล่าวว่า “ดีมาก ๆ เลยครับ ตัวอักษรอ่านเห็นชัดดี มากสำหรับคนอายุมาก ๆ อยากให้เพิ่มการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับชีวิตประจำวันด้วย” (จักรี งาม โสม, 2563) ผู้ขับขี่รถสาธารณะคนท่ี 3 กล่าวว่า “ดีมากครับ ขนาดกำลังดีวางหน้ารถได้ หยิบอา่ นไดเ้ ลย ดใี จมากท่ไี ด้คู่มือเล่มน้ีมา” (เจดิ ศักดิ์ ณ นคร, 2563) ผู้ขับขี่รถสาธารณะคนที่ 4 กล่าวว่า “ก็ดีครับ แต่อยากได้เล่มเล็กกว่านี้แบบ พกพาใส่กระเป๋าได้ ถ้ามีโอกาสทำอีกอยากให้ทำคู่มือภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจำวันทั่ว ๆ ไป ด้วย” (พงษศ์ ักดิ์ งามผวิ , 2563) ผู้ขับขี่รถสาธารณะคนท่ี 5 กล่าวว่า “ดีเลยครับ เพราะคำศัพท์บางคำยังออก เสียงผิดอยู่ ไม่รู้เลยว่าคำว่า “good afternoon” ออกเสียง กึด อาฟเทอะนูน ไม่ใช่ กูด อาฟเต้อ นูน” (สมศักด์ิ ใจแจ้ง, 2563) ผู้ขับขี่รถสาธารณะคนท่ี 6 กล่าวว่า “ดีมากครับ เนื้อหาใช้ได้จริงเลย พูดตาม คู่มือนี้ได้เลย อยากให้ทางมหาวิทยาลัยจัดอบรมภาษาอังกฤษให้กับเยาวชนช่วงปิดเทอมด้วย” (จกั รกฤต ชูพนั ธ์, 2563) อภิปรายผล จากการวิจัยเรื่องการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอ ขนอม จงั หวดั นครศรีธรรมราช ผวู้ ิจยั ได้อภปิ รายผลการวิจยั ไดด้ ังนี้ 1. ผลสำรวจความต้องการและเนื้อหาที่ใช้ในการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับ ผูข้ ับขรี่ ถสาธารณะ ผลจากการสำรวจความต้องการใช้ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะโดยการ สนทนากลุ่มกับตัวแทนกลุ่มของผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 10 คน พบว่าหัวข้อและเนื้อหาที่ใช้ในการสร้างคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถ สาธารณะ คอื การทกั ทายผ้โู ดยสาร (Greetings) การสอบถามจดุ หมายปลายทาง (Asking for Destination) การบอกทางให้ผู้โดยสาร (Giving Directions) การบอกราคา (Telling about the Fare) และการกล่าวขอบคุณและกล่าวอำลาผู้โดยสาร (Thanking and Saying Goodbye) ซึ่งสอดคล้องกับ กรชนก แสงพานิช และคณะ ที่พบว่า สำนวนประโยค
378 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) ภาษาอังกฤษที่ผู้ประกอบอาชีพขับรถแท็กซี่ที่ถูกใช้มากที่สุด คือ สำนวนเกี่ยวกับการทักทาย การถามจุดหมายปลายทาง การบอกราคา การกล่าวขอบคุณและอำลา ตามลำดับ (กรชนก แสงพานชิ และคณะ, 2554) และยังสอดคล้องกับ Thadphoothon, J. ที่พบว่า ผู้ขับ ขี่รถยนต์สาธารณะ (รถแท็กซี่) ในประเทศไทย มีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษที่ จำกัด ซงึ่ ภาษาอังกฤษท่ีใช้ก็มีความแตกต่างจากผู้ขับข่ีรถยนตส์ าธารณะชาวตะวนั ตก เช่น การ ทักทาย คนไทยจะพูดว่า “Hey! You where you go?” ซึ่งเป็นประโยคที่ผิดไวยากรณ์ แต่ ชาวตะวันตกพูดว่า “Hello! Where to sir or Where to Madam?” (Thadphoothon, J., 2017) 2. ผลการพฒั นาคูม่ ือภาษาองั กฤษสำหรบั ผ้ขู ับขี่รถสาธารณะ ผลการพัฒนาคู่มอื ภาษาองั กฤษสำหรบั ผู้ขบั ขี่รถสาธารณะ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญประเมนิ คู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะในด้านเนื้อหา พบว่า การทักทายผู้โดยสาร การกลา่ วขอบคุณและกลา่ วอำลาผู้โดยสาร การสอบถามจดุ หมายปลายทาง การบอกราคาและ การบอกทางให้ผู้โดยสารอยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 5.00, 5.00, 4.67, 4.67 และ 4.33) ตามลำดับ อาจเป็นเพราะได้มีการสำรวจเนื้อหาที่ใช้ในคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถ สาธารณะและมีการตรวจสอบความเหมาะสมของเนื้อหา ภาษาที่ใช้และความเที่ยงตรงของ เน้ือหาโดยผเู้ ชย่ี วชาญ มคี ่าเท่ากับ 0.97 ซ่งึ ถือวา่ อย่ใู นเกณฑ์นำไปใช้ได้ ในดา้ นรปู เล่มของคู่มือ พบว่า ขนาดตัวอักษรมีความเหมาะสม คู่มือมีขนาดกะทัดรัด สามารถพกพาได้สะดวกและมี การจัดลำดับเนื้อหาได้ดีอยู่ในระดับมากที่สุด (������ = 5.00, 4.33 และ 4.33) และปกหน้าของ คู่มือมีความสวยงามอยู่ในระดับมาก (������ = 4.00) ตามลำดับ ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ขับขี่รถสาธารณะมี อายุมากกว่า 50 ปี ดังนั้นขนาดตัวอักษรในการทำคู่มือจึงมีความสำคัญมาก ควรใช้ตัวอักษร ขนาดใหญ่เพื่อให้ผู้อ่านสามารถอ่านได้ง่ายและชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซ่ึ งสอดคล้องกับ ชมพู อิสริยาวัฒน์ ที่พบว่า ผู้เชี่ยวชาญประเมินคู่มือภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของชุมชน ทอ่ งเท่ียวบ้านหนองตาไห้ในด้านรปู เล่มอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ (������ = 4.67) และดา้ นเนื้อหาอยู่ใน ระดบั มาก (������ = 4.44) (ชมพู อิสรยิ าวัฒน์, 2561) 3. ผลความพงึ พอใจทม่ี ีต่อค่มู ือภาษาองั กฤษสำหรับผู้ขับข่ีรถสาธารณะในอำเภอขนอม จงั หวดั นครศรธี รรมราช ผลจากการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราชที่มีต่อคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะโดยภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (������ = 4.37) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน ได้แก่ ด้านการนำไปใช้ (������ = 4.48) รองลงมาคือ ด้านเนื้อหาของคู่มือ (������ = 4.40) และด้านรูปเล่ม ของคู่มือ (������ = 4.23) ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับ เขมิกา ขาวสำลี และคณะ ที่พบว่า การพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการอาชีพนวดแผนไทยทำให้ผู้ประกอบการ อาชพี นวดแผนไทยนำคู่มือภาษาอังกฤษไปใชใ้ นการประกอบอาชีพจนสามารถส่ือสารกับลูกค้า
วารสารสงั คมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีท่ี 5 ฉบบั ที่ 9 (กันยายน 2563) | 379 ชาวต่างชาติได้ดีขึ้น (เขมิกา ขาวสำลี และคณะ, 2554) และสอดคล้องกับ ศาสตรา สหัสทัศน์ และคณะ ที่พบว่า ผู้ประกอบการวิสาหกิจทอผ้าไหมแพรวาบ้านโพน อำเภอคำม่วง จังหวัด กาฬสินธุ์ มีการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษกับนักท่องเที่ยวต่างชาติอยู่ระดับมากที่สุด เมื่อใช้คู่มือสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สารกับชาวต่างชาติ (ศาสตรา สหัสทัศน์ และคณะ, 2560) ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยในครั้งนี้ โดยคู่มือนั้นช่วยให้ผู้ขับขี่รถสาธารณะใช้ ภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการส่ือสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติ ได้จริง ชาวต่างชาติเข้าใจการสนทนามากขึ้น อีกทั้งมีส่วนช่วยในการเพิ่มรายได้ให้กับผู้ขับขี่รถ สาธารณะได้ สรปุ /ขอ้ เสนอแนะ จากผลการวิจัยการพัฒนาคู่มอื ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้าง ผู้ขับขี่รถตู้โดยสาร และผู้ขับขี่รถโดยสารประจำทาง ปรับอากาศ ยังมีปัญหาในการใช้ภาษาอังกฤษและมีความต้องการใช้ภาษาอังกฤษระดับมาก แม้ว่าผู้ขับขี่รถสาธารณะในอำเภอขนอมจะมีโอกาสพบปะชาวต่างชาติอยู่เสมอ แต่ยังไม่ สามารถสือ่ สารภาษาองั กฤษไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ โดยเนือ้ หาท่ผี ้ขู ับข่ีรถสาธารณะตอ้ งการฝึก ได้แก่ การทักทายผู้โดยสาร การสอบถามจุดหมายปลายทาง การบอกทางให้ผู้โดยสาร การ บอกราคา การกล่าวขอบคุณและกล่าวอำลาผู้โดยสาร เมื่อผู้ขับขี่รถสาธารณะได้นำคู่มือ ภาษาอังกฤษไปใช้มีความพึงพอใจในด้านรูปเล่ม ด้านเนื้อหาและด้านการนำไปใช้ อยู่ในระดับ มากท่ีสุด โดยคมู่ อื น้ันชว่ ยให้ผู้ขบั ขรี่ ถสาธารณะใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง สามารถนำไปใช้ ประโยชน์ในการสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างชาติได้จริง ชาวตา่ งชาตเิ ข้าใจการสนทนามากขึ้น อีกทั้งมีส่วนช่วยในการเพิ่มรายได้ให้กับผู้ขับขี่รถสาธารณะได้ อย่างไรก็ตามคู่มือภาษาอังกฤษ สำหรับผู้ขับขี่รถสาธารณะสามารถนำเนื้อหาไปใช้ประโยชน์กับงานด้านการบริการอื่น ๆ ท่ี เก่ยี วขอ้ งดว้ ย แนวทางในการพัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผขู้ ับขรี่ ถสาธารณะ คือจดั ทำคู่มือ ภาษาอังกฤษในรปู แบบออนไลนเ์ พื่อการเขา้ ถึงข้อมลู ทสี่ ะดวกและงา่ ยขนึ้ เอกสารอา้ งอิง กรชนก แสงพานิช และคณะ. (2554). พัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบอาชีพขับรถ แท็กซี่ในกรุงเทพมหานคร. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกจิ . มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนดสุ ติ . กฤษณา สิกขมาน. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีปทมุ . กติ ติ ขนอม. (17 มิถุนายน 2563). ความพงึ พอใจของผู้ขบั ขร่ี ถสาธารณะต่อคู่มือภาษาอังกฤษ. (ภัชญาภา ทองใส, ผูส้ ัมภาษณ์)
380 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) เขมิกา ขาวสำลี และคณะ. (2554). พัฒนาคู่มือภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการอาชีพนวด แผนไทยในกรุงเทพมหานคร. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาอังกฤษธุรกจิ . มหาวิทยาลยั ราชภัฎสวนดสุ ิต. จักรกฤต ชูพันธ์. (17 มิถุนายน 2563). ความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะต่อคู่มือ ภาษาองั กฤษ. (ภัชญาภา ทองใส, ผูส้ ัมภาษณ์) จักรี งามโสม. (17 มถิ ุนายน 2563). ความพงึ พอใจของผู้ขบั ข่ีรถสาธารณะต่อคู่มอื ภาษาองั กฤษ. (ภัชญาภา ทองใส, ผสู้ ัมภาษณ์) เจิดศักดิ์ ณ นคร. (17 มิถุนายน 2563). ความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะต่อคู่มือ ภาษาองั กฤษ. (โสพศิ พไิ ล ทองใส, ผ้สู มั ภาษณ์) ชมพู อิสริยาวฒั น.์ (2561). การพฒั นาคูม่ อื ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารสำหรับชมุ ชนท่องเที่ยว: กรณีศึกษาบ้านหนองตาไก้ ตำบลหนองกง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสาร รมยสาร, 16(2), 127 - 145. พงษ์ศักดิ์ งามผิว. (17 มิถุนายน 2563). ความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะต่อคู่มือ ภาษาอังกฤษ. (ภชั ญาภา ทองใส, ผสู้ มั ภาษณ์) ศาสตรา สหัสทัศน์ และคณะ. (2560). พัฒนาคู่มือสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารกับ นักทอ่ งเท่ยี วต่างชาตสิ ำหรับวสิ าหกิจทอผ้าไหมแพรวาบ้านโพน อำเภอคำมว่ ง จังหวัด กาฬสินธุ์. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal), 6 (ฉบับพิเศษ), 105 - 119. สมศักดิ์ ใจแจ้ง. (17 มิถุนายน 2563). ความพึงพอใจของผู้ขับขี่รถสาธารณะต่อคู่มือ ภาษาอังกฤษ. (โสพิศพิไล ทองใส, ผู้สัมภาษณ)์ สานิตย์ แซ่อุ่ย. (8 มีนาคม 2563). ปัญหาและการแก้ไขการสื่อสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้ขับข่ี รถสาธารณะ. (ภชั ญาภา ทองใส, ผสู้ มั ภาษณ์) สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). รายงานสถิติจังหวัดนครศรีธรรมราช. กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานสถิตจิ งั หวัดนครศรธี รรมราช. Industrial news. (2561). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวธุรกิจทำเงินเข้าประเทศไทย. เรียกใช้ เมื่อ 5 มีนาคม 2563 จาก https://industrialnews.com/อุตสาหกรรมการ ทอ่ งเท่ียว/ Thadphoothon, J. (2017). Taxi Drivers’ Cross-Cultural Communication Problems and Challenges in Bangkok, Thailand. Journal of Reviews on Global Economics, 1(6), 313 - 320.
การพัฒนารูปแบบการเรยี นการสอนผา่ นเกมคอมพวิ เตอรโ์ ดยใช้ สถานการณจ์ ำลองรว่ มกับกระบวนการแก้ปญั หาเพอ่ื เสรมิ สรา้ งการคิด อยา่ งมวี จิ ารณญาณสำหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6* THE DEVELOPMENT OF COMPUTER GAME-BASED INSTRUCTIONAL MODEL USING SIMULATION AND PROBLEM SOLVING PROCESS TO ENHANCE CRITICAL THINKING OF GRADE 6 STUDENTS ธนนนั ธ์ ศรอี ุดมกิจ Thananunt Sriudomkij ศศฉิ าย ธนะมยั Sasichaai Tanamai สาโรช โศภรี ักข์ Saroach Soopeerak มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ Kasetsart University, Thailand E-mail: [email protected] บทคดั ย่อ บทความวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกม คอมพิวเตอรโ์ ดยใชส้ ถานการณจ์ ำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปญั หาเพ่ือเสริมสร้างการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ 2) สร้างเกมคอมพิวเตอร์ตามรูปแบบฯ 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบฯ และ 4) รับรองรูปแบบฯ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัฒนานุศาสน์ อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี จำนวน 154 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบง่าย เคร่อื งมือท่ีใช้ ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมร่างรูปแบบฯ แบบประเมินคุณภาพเกมคอมพิวเตอร์และคู่มือการ ใช้งานเกมคอมพิวเตอร์ แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักเรียน และ แบบรบั รองรปู แบบฯ การวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t - test) ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบฯ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.1) คุณลักษณะของเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับกระบวนการ แก้ปัญหา 1.2) การเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จำลอง 1.3) กระบวนการแก้ปัญหา 1.4) บทบาท ของผู้เรยี น 1.5) บทบาทของผู้สอน และ 1.6) เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ โดยมี 3 ข้ันตอน ได้แก่ 1.6.1) ขั้นตอนวิเคราะห์และออกแบบ 1.6.2) ขั้นตอนกระบวนการ และ 1.6.3) ขั้นตอน ประเมินผล 2) เกมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นการจำลองสถานการณ์และมีการจัดกิจกรรมให้ * Received 5 August 2020; Revised 6 September 2020; Accepted 13 September 2020
382 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) นักเรียนได้ฝึกการคิดแก้ปัญหา ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพในระดับมากที่สุด 3) ผลการใช้ รูปแบบฯ นักเรียนมีคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนมีความคิดเห็นต่อรูปแบบฯ ด้านการออกแบบ ด้านกิจกรรม และด้านเนื้อหา ในระดับมาก และ 4) รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกม คอมพวิ เตอร์ฯ (CGSP Model) ได้รับการรับรองโดยผู้เชีย่ วชาญ มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่สดุ (������̅ = 4.80) คำสำคัญ: รูปแบบการเรียนการสอน, เกมคอมพิวเตอร์, สถานการณ์จำลอง, กระบวนการ แกป้ ัญหา, การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ Abstract The objective of this research paper is to 1) develop the computer game - based instructional model using simulation learning and problem solving process to enhance critical thinking; 2) make a computer game; 3) study the outcome of using the computer game-based instructional model; 4) have the computer game-based instructional model certified by experts. The samples were 154 students who studied in grade 6 at Wattananusas School, Phanat Nikhom, Chonburi in the first semester of 2020 by using simple random sampling. Instruments were suitability assessment form for the draft of the computer game- based instructional model to be completed by experts, quality assessment form for the computer game and instruction manual, the computer game, critical thinking test, students’ opinion survey and the computer game - based instructional model certification form for expert. The data analysis used mean, standard deviation and t-test. The findings of the research showed that 1) The computer game-based instructional model consisted of 6 components, namely 1.1) the characteristics of the computer game that uses simulation learning and problem solving process 1.2) learning through simulation 1.3) problem solving process 1.4) learners’ role 1.5) instructors’ role 1.6) technology that supports learning and the three phases of the computer game- based instructional model were 1.6.1) analysis and design phase 1.6.2) process phase and 1.6.3) evaluation phase. 2) The computer game featured simulation and activities that allowed students to practice problem solving. Expert evaluation showed that its quality was at the highest level. 3) After using the computer game-based instructional model, the students’ critical thinking
วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวทิ ยาเชิงพทุ ธ ปีท่ี 5 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 383 improved significantly at .05 level and students thought the computer game was highly levels In terms of design, activities, and content. Finally, 4) the computer game-based instructional model (CGSP Model) was certified by experts with the highest level of suitability (������̅ = 4.80). Keywords: Instructional model, Computer Game, Simulation Learning, Problem Solving Process, Critical Thinking บทนำ การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ได้เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง นั่นก็คือการ ให้โอกาสแก่นักเรียนทุกคนในการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพ ของแต่ละคนให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ตามกำลังความสามารถและความแตกต่างระหว่าง บุคคล เด็กและวัยรุ่นเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีดิจิทัล โดยมีสภาพแวดล้อมที่ใช้เวลาอยู่กับ อุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ เป็นส่วนใหญ่ สภาพแวดล้อมเหล่านี้ทำให้เด็กและวัยรุ่นส่วนใหญ่ที่อายุ ตั้งแต่ 2 - 18 ปี ใช้เวลาอยูก่ ับการเลน่ เกมดิจทิ ัลโดยเฉลี่ย 20 ถงึ 33 นาทีตอ่ วัน (Green, M. & McNeese, M. N., 2007) และข้อมูลจากสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ ในปี พ.ศ. 2556 พบว่าเด็กไทยมีพฤติกรรมการเล่นเกมดิจิทัลเฉลี่ยสูงถึง 60.7 นาทีต่อวัน ถือเป็น อันดับ 1 ของประเทศในแถบเอเชีย ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีแนวโนม้ สงู ขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีการนำเกม คอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียน ซึ่งพบว่า เกม คอมพิวเตอร์ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนด้วยการนำเสนอเนื้อหาที่แปลก ใหม่และน่าสนใจ นกั เรียนไดม้ สี ่วนรว่ มในการตัดสินใจโดยอยู่ภายใต้กฎกติกาของเกมท่ีนักเรียน จะต้องปฏิบัติตาม เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ได้รับความสนุกสนาน และเกิดการเรียนรู้ขึ้นพร้อม ๆ กันช่วยเพ่มิ บรรยากาศในการเรียนการสอนให้ดีขึ้น (ปราชญ์ จกั รไชย, 2552) ด้วยปัจจุบันที่เป็นยุคเต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสารแบบดิจิทัล นักเรียนต้องอาศัย กระบวนการทางความคิดที่มากขึ้น โดยผู้ที่มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณมักจะเป็นผู้ที่สามารถ ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมว่าอะไรควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ แต่หลักสูตรการสอนส่วนใหญ่ใน ประเทศไทยไม่ได้เน้นสอนวิธีคิดใหก้ ับเด็ก เป็นผลทำให้เด็กไทยมีความสามารถในการคิดอยา่ ง มีวิจารณญาณอยู่ในขั้นต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ โดยเปรียบเทียบจากคะแนนสอบ โปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล PISA (Program for International Student Assessment) โดยหนึ่งในตัวชี้วัดมีเป้าหมายในเรื่อง นักเรียนมีความคิดอย่างมี วิจารณญาณ รวมถงึ มีความสามารถในการคิดวิเคราะหใ์ นการแก้ปัญหา ซ่งึ ผลประเมินคุณภาพ การศึกษาไทยของ PISA ในปี พ.ศ. 2561 ประเทศไทยอยู่ในลำดับที่ 66 และยังมคี ะแนนรวมท่ี ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยจาก 79 ประเทศอีกด้วย (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2562)
384 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) โดยประเทศไทยได้เห็นความสำคัญของการศึกษาเพ่ือพัฒนาการคิด จงึ ได้กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ได้กำหนดสมรรถนะสำคัญที่พงึ ประสงค์ของนกั เรยี น โดยกำหนดให้ นกั เรยี นจะตอ้ งเปน็ ผู้ท่ีมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดอย่างเป็นระบบ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการวิจัยกับนักเรียน ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 เนื่องจากเป็นช่วงอายุที่เด็กก้าวสู่ความเป็นวัยรุ่นตอนต้นคืออายุ 11 - 15 ปี ซึ่งช่วงวัยนี้เริ่มมีพัฒนาการการคิดพิจารณาอย่างมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหาตาม ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของเพียเจย์ (Piaget, J., 1969) เหมาะสมสำหรับเสริมสร้าง การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ เปน็ การเตรยี มเดก็ ใหพ้ รอ้ มเติบโตเปน็ ผใู้ หญ่ท่ดี ีในสงั คม การจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหามีส่วนช่วยพัฒนาการคิดอย่างมี วิจารณญาณ เนื่องจากการคิดแก้ปัญหาเป็นการคิดอย่างพินิจพิเคราะห์ มีเหตุผล หรือต้องใช้ วิจารณญาณในการแก้ปัญหา ซึ่งกล่าวได้ว่าวิจารณญาณเปน็ ความสามารถในการคิดอย่างหนง่ึ ที่ส่งเสริมการแก้ปัญหาให้ได้ข้อสรุปที่สมเหตุสมผล โดยการสอนการคิดและการแก้ปัญหานั้น วิธีการเรยี นรู้ผ่านสถานการณจ์ ำลองเป็นวิธีการท่ีเหมาะสม เนื่องจากเป็นรปู แบบการสอนที่ให้ นักเรียนลงไปเล่นในสถานการณ์ที่มีบทบาท มีกติกาการเล่นที่สะท้อนความเป็นจริง และมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งที่อยู่ในสถานการณ์นั้นโดยใช้ข้อมูลที่มีสภาพคล้ายกับข้อมูลในความเป็นจริง ในการตัดสินใจและแก้ปัญหาต่าง ๆ ซึ่งการตัดสินใจนั้นจะส่งผลถึงนักเรียนในลักษณะเดียวกนั กับที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริง ซึ่งนักเรียนจะต้องใช้ข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับประกอบกับ วิจารณญาณของตนเองในการปฏิบัติหน้าที่ตามสถานการณ์นั้นให้ดีที่สุด ซึ่งการเรียนรู้แบบ สร้างสถานการณ์จำลองนี้จะช่วยให้นักเรียนเกิดการถ่ายโยงการเรียนได้ดีและสามารถนำไปใช้ แก้ปัญหาในชีวติ จริงได้ (ทิศนา เขมมณี, 2545) การเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จำลองจึงเหมาะสม ในการจดั การเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ ทัง้ นก้ี ารจัดการเรียนการ สอนด้วยสถานการณ์จำลองมีรูปแบบที่หลากหลาย ลักษณะหนึ่งที่เหมาะสมคือ การจัดการ เรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์เพราะเกมคอมพิวเตอร์เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการฝึกให้เกิด การเรียนรู้และการตัดสินใจเพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งนักเรียนเป็นผู้ ตัดสินใจกระทำ มีปฏิสัมพันธ์ และเกมมีผลตอบกลับในทันที จึงเกิดความสนุกสนานไปพร้อม กนั ดว้ ย จากเหตุผลและความสำคัญดังกล่าว ทำใหผ้ ้วู จิ ยั สนใจพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ผ่านเกมคอมพวิ เตอร์โดยใช้สถานการณจ์ ำลองรว่ มกับกระบวนการแก้ปญั หา มาใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งผู้ที่มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จะเป็นคนมี เหตุผล ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างเลื่อนลอย รับฟังความคิดเห็นของคนอื่น ช่วยให้ชีวิตดำเนินไปด้วย ความราบรนื่ และชว่ ยสรา้ งความมีระเบยี บวินัยให้แก่บุคคลในชาติ
วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 9 (กนั ยายน 2563) | 385 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้สถานการณ์จำลอง ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 2. เพื่อสร้างเกมคอมพิวเตอร์ตามรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 6 3. เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้สถานการณ์ จำลองรว่ มกบั กระบวนการแก้ปัญหาเพ่ือเสริมสร้างการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ สำหรบั นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 4. เพื่อรับรองรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้สถานการณ์จำลอง ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 วิธีดำเนนิ การวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์ โ ด ย ใ ช ้ ส ถ า น ก า ร ณ ์ จ ำ ล อ ง ร ่ ว ม ก ั บ กร ะบ ว น กา ร แ ก ้ ป ั ญ ห า เ พ ื ่ อเ ส ร ิ มส ร ้ า ง ก า ร ค ิ ด อย ่ า ง มี วิจารณญาณ สำหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ประชากร คือ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนวัฒนานุศาสน์ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ภาคต้น ปีการศึกษา 2563 จำนวน 5 ห้องเรยี น มีท้ังนกั เรียน เกง่ ปานกลาง และอ่อน คละกันในแต่ละห้องเรียน รวมทง้ั สิ้น 252 คน และกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคต้น ปีการศึกษา 2563 จำนวน 154 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับสลาก ได้กลุ่มทดลองมา 3 ห้อง เครื่องมือที่ใช้ คือ เกมคอมพิวเตอร์ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ วเิ คราะหเ์ นื้อหา คา่ เฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบคา่ ที (t - test) การดำเนนิ การวจิ ัยแบ่งออกเปน็ 4 ระยะ ได้แก่ การวิจัยระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้ สถานการณ์จำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรบั นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โดยมีข้นั ตอนการดำเนินการ ดังน้ี 1. ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ เป็นองค์ประกอบและขั้นตอนของรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้ สถานการณจ์ ำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพ่ือเสริมสรา้ งการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
386 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) 2. สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาเป็นรายบุคคล จำนวน 5 คน เก่ียวกับองค์ประกอบและขั้นตอนของรูปแบบฯ โดยใช้คำถามปลายเปิด จากน้ัน ผวู้ จิ ยั ใช้วิธีการวเิ คราะห์ข้อมูลโดยเรียบเรยี งสรปุ เป็นประเด็นข้อเสนอแนะของผเู้ ชีย่ วชาญ 3. นำข้อมูลจากการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง และ ความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ มาออกแบบเป็นร่างรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกม คอมพิวเตอร์โดยใชส้ ถานการณ์จำลองร่วมกบั กระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอยา่ ง มีวิจารณญาณ แลว้ นำเสนอต่ออาจารยท์ ปี่ รกึ ษา รับข้อเสนอแนะเพอื่ ปรับปรงุ แก้ไข 4. สร้างแบบประเมินความเหมาะสมเกี่ยวกับองค์ประกอบ และขั้นตอนของ ร่างรูปแบบฯ และนำร่างรูปแบบ ให้ผู้เชีย่ วชาญจำนวน 5 คน พิจารณาความเหมาะสมของรา่ ง รูปแบบฯ โดยใช้สูตรค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence: IOC) และปรับปรุง แก้ไขร่างรปู แบบตามข้อเสนอแนะของผเู้ ชยี่ วชาญ การวิจัยระยะที่ 2 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์ตามรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ สถานการณ์จำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรบั นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ผูว้ ิจัยไดด้ ำเนินการสรา้ งเคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย โดยแบ่งเปน็ 2 สว่ น ไดแ้ ก่ 1. การสรา้ งเกมคอมพิวเตอร์ตามรปู แบบการเรียนการสอนโดยใชส้ ถานการณ์ จำลองร่วมกบั กระบวนการแก้ปญั หาเพื่อเสริมสร้างการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ มขี นั้ ตอนดังน้ี 1.1 วิเคราะห์เนื้อหาและสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนด สภาพการณ์ 1.2 ออกแบบเนื้อหาบทเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ ลักษณะการเล่น เงื่อนไข ปฏิสัมพันธ์ โดยเนื้อหาสาระที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำเรื่องพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยมาเรียบเรียงเป็นเนื้อหาในการพัฒนาเกม จากนั้นจัดทำเป็นผังงานและสตอรี่ บอร์ด และสร้างแบบประเมินความเหมาะสม นำไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการคิดอย่างมี วิจารณญาณ จำนวน 3 คน ประเมินความเหมาะสมด้านเนื้อหาและกิจกรรมในการพัฒนาการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้แบบประเมินความตรงเชิงเนื้อหาของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สูตรค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence: IOC) และนำ ข้อเสนอแนะมาปรบั ปรงุ แก้ไข 1.3 สร้างเกมคอมพิวเตอร์ พร้อมจัดทำคู่มือการใช้งานเกม คอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย ได้แก่ โปรแกรมสร้างเกม Unity โปรแกรม กราฟิก Adobe Illustrator, Abode Photoshop 1.4 สร้างแบบประเมินคุณภาพเกมคอมพิวเตอร์และคู่มือการใช้งาน เกมคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงแบบประเมินเป็นแบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั (Likert scale)
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวทิ ยาเชิงพทุ ธ ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2563) | 387 1.5 นำเกมคอมพิวเตอร์และคู่มือการใช้งาน ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีการศึกษา จำนวน 5 คน ประเมินคุณภาพเกมคอมพิวเตอร์และคู่มือการใช้งาน ตามหัวข้อประเมินในแบบประเมินคุณภาพที่สร้างขึน้ ซึ่งทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกม คอมพวิ เตอร์ฯ ได้แก่ 2.1 แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในการวิจัยครั้งน้ีใช้แบบทดสอบ วัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณมีชื่อว่า Cornell Critical Thinking Test Level X ที่ (Ennis, R., 1985) พัฒนาขึ้น มีทั้งหมด 78 ข้อ โดยนำมาแปลและเรียบเรียงเป็นภาษาไทยโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจความถูกต้องและคัดเลือกแบบทดสอบเหลือ 45 ข้อ และนำไปหาค่าความเชื่อมั่น โดย แบบทดสอบวัดการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณมีคา่ ความเชอ่ื มน่ั 0.734 2.2 สรา้ งแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มตี ่อรูปแบบการเรยี นการสอน ผา่ นเกมคอมพวิ เตอร์ฯ โดยจัดทำเปน็ แบบประเมินแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดบั (Likert scale) การวิจัยระยะที่ 3 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์ โ ด ย ใ ช ้ ส ถ า น ก า ร ณ ์ จ ำ ล อ ง ร ่ ว ม ก ั บ กร ะบ ว น กา ร แ ก ้ ป ั ญ ห า เ พ ื ่ อเ ส ร ิ มส ร ้ า ง ก า ร ค ิ ด อย ่ า ง มี วิจารณญาณ เปน็ ขัน้ ตอนการดำเนนิ การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล มีขัน้ ตอนดงั น้ี 1. ดำเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อน - หลัง (One Group Pretest-Posttest Design) (ล้วน สายยศ และอังคณา สาย ยศ, 2538) ดำเนินการทดลองโดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้ โดยใช้ ระยะเวลา 6 วัน 2. ก่อนดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดการ คดิ อย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียน 3. กลุม่ ตัวอย่างทำกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ 4. เมื่อดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว ให้กลุ่ม ตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียน และทำแบบสอบถามความคิดเห็น ของนกั เรียนทม่ี ตี ่อรปู แบบการเรยี นการสอนผา่ นเกมคอมพิวเตอร์ฯ 5. ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ การทดสอบคา่ ที การวิจัยระยะที่ 4 การรับรองรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้ สถานการณ์จำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ประกอบด้วย 1. สร้างแบบประเมินและรับรองรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกม คอมพวิ เตอร์ฯ โดยแบบประเมินรับรองเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ (Likert scale)
388 | Journal of Social Science and Buddhistic Anthropology Vol.5 No.9 (September 2020) 2. นำรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์ฯ ไปใหผ้ ูเ้ ชีย่ วชาญ 3 คน ประเมนิ และรับรองรูปแบบ วเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใช้ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย ระยะที่ 1 ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้ สถานการณ์จำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ประกอบด้านต่าง ๆ และการศึกษาความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัยได้ร่างรูปแบบการเรียนการสอนผ่านเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้สถานการณ์ จำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหา ผลการประเมินความเหมาะสมด้านองค์ประกอบและ ขั้นตอนของร่างรูปแบบ โดยผู้เชี่ยวชาญ จากการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) พบว่ามีค่า อยู่ระหว่าง 0.80 - 1.00 ทุกองค์ประกอบและขั้นตอน ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์คือ 0.5 ทุกข้อ และนำ ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข ได้รูปแบบมีองค์ประกอบ 6 ด้าน และขั้นตอน 3 ขั้นตอน ดังน้ี องค์ประกอบ ได้แก่ 1) คุณลักษณะของเกมคอมพิวเตอร์โดยใช้สถานการณ์จำลองร่วมกับ กระบวนการแก้ปัญหา 2) การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง 3) กระบวนการแก้ปัญหา 4) บทบาทของผู้เรียน 5) บทบาทของผู้สอน และ 6) เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ และมี ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นตอนวิเคราะห์และออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมขององค์ประกอบ ตา่ ง ๆ มี 3 ข้ันตอนย่อย คือ 1.1) การวิเคราะหเ์ พ่ือกำหนดสภาพการณ์ 1.2) การออกแบบการ เรียนรู้ และ 1.3) การสร้างและนำไปใช้ 2) ขั้นตอนกระบวนการ เป็นการดำเนินกิจกรรมโดย นักเรียนมีกระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ตามการเรียนการสอนโดยใช้ สถานการณ์จำลองร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนย่อย คือ 2.1) ขั้นตอนเริ่มต้น 2.2) ขั้นการรับรู้สถานการณ์จำลอง 2.3) ขั้นตอบสนอง 2.4) ขั้นอภิปรายสรุป 3) ขั้นตอนประเมินผล จะแสดงออกถึงผลการเรียนรู้ตามที่ครูได้วางแผนไว้ในกระบวนการ เรยี นรู้ คือ 3.1) การคดิ อย่างมีวิจารณญาณของนกั เรยี น 3.2) ความคิดเห็นของนกั เรยี น ระยะที่ 2 ผลการสร้างเกมคอมพิวเตอร์ตามรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์ จำลองรว่ มกับกระบวนการแก้ปัญหาเพ่ือเสริมสร้างการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ สำหรบั นกั เรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการสร้างเกมคอมพิวเตอร์ตามรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อเสริมสร้างการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ชื่อเกม นายอำเภอคน ใหม่ ผู้วิจัยได้นำเนื้อหาสาระเรื่องพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยมาเรียบเรียงเป็นเนื้อหาใน การพฒั นาเกม สำหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 506
Pages: