Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ไตร 1-2-64

สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ไตร 1-2-64

Published by 420st0000060, 2022-01-05 07:16:31

Description: สรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ไตร 1-2-64

Search

Read the Text Version

คำนำ กศน.ตำบลทุ่งขวาง กศน.ตำบลกุฎโง้ง และกศน.ตำบลนามะตูม สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้จัดทำโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเกี่ยวกับการเมืองการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขท่ีถูกต้องและให้ผู้เข้าร่วมอบรมเห็นถึงความสำคัญของการ เลือกต้ังท้ังในระดบั ชาตแิ ละระดบั ท้องถ่ินซงึ่ มีการสรปุ ผลการจดั กจิ กรรมโครงการดังกลา่ วเพ่ือต้องการทราบว่า การดำเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้จัดทำเอกสารสรุปผล การจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนเสนอต่อผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้องเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพฒั นาการดำเนินโครงการให้ดยี ง่ิ ขึน้ คณะผู้จัดทำ ขอขอบคุณผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอพนัสนคิ ม ที่ให้คำแนะนำ คำปรึกษา ในการจัดทำสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชนในครั้งน้ี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานโครงการและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งในการนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตอ่ ไป คณะผูจ้ ดั ทำ กมุ ภาพนั ธ์ 2564

สารบญั หนา้ ก หัวเร่อื ง ข คำนำ ค สารบัญ สารบญั ตาราง 1 บทท่ี 1 บทนำ 1 1 - หลักการและเหตุผล 2 - วตั ถปุ ระสงค์ 2 - เปา้ หมายการดำเนนิ งาน - ผลลพั ธ์ 3 - ตวั ชีว้ ัดผลสำเร็จของโครงการ 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง 12 - กรอบการจดั กิจกรรมการศึกษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 16 - เอกสาร/งานท่เี กยี่ วข้อง 22 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ งาน 24 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก - แผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน - โครงการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน - หนังสอื ขออนุเคราะห์วทิ ยากร/หนังสอื เชิญวทิ ยากร - รายงานผลการจดั กจิ กรรม - แบบประเมนิ ผรู้ บั บริการ คณะผูจ้ ดั ทำ

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1. ผเู้ ข้าร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ 16 2. ผูเ้ ข้าร่วมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 16 3. ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชีพ 17 4. ผู้เขา้ รว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา 17 5. แสดงคา่ รอ้ ยละเฉล่ียความสำเรจ็ ของตัวช้วี ัด ผลผลิต ประชาชนทั่วไป 18 6. ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 18 7. ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ดา้ นบริหารจัดการ 19 8. คา่ เฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 19 9. ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นประโยชน์ท่ีไดร้ บั 20

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 1 บทที่ 1 บทนำ หลกั การและเหตุผล การสง่ เสริมสนับสนุน และเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องประชาธิปไตยนั้น จะต้องเรม่ิ ท่ีเด็กและ เยาวชน สถานศึกษาจึงเป็นสถาบันท่ีสำคัญยิ่งในการปลูกฝัง ฝึกฝนประชาชนให้รู้จักและคุ้นเคยกับพ้ืนฐาน ความคิดแบบประชาธิปไตย ซึ่งมีความสำคัญยิ่งต่อการเป็นพลเมืองดีและกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติ บ้านเมืองในอนาคต อีกทั้ง กศน.ตำบลแต่ละตำบลเป็นศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตําบล มีหน้าที่ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ขยายผลการส่งเสริมประชาธิปไตย เพ่ือให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจ และ ตระหนักถึงความสำคัญของวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ตลอดจนรณรงค์และส่งเสริมให้มีการดำเนินกิจกรรมที่ เสรมิ สรา้ งวถิ ีประชาธปิ ไตยทกุ แห่ง ท่ีจะนำไปประยุกตใ์ ช้ในสถานศึกษาของตนต่อไป จากเหตุผลดังกล่าว กศน.ตำบลทุ่งขวาง กศน.ตำบลกุฎโง้งและกศน.ตำบลนามะตูม ได้ตระหนักเห็น ความสำคัญของประชาธิปไตย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน ขึ้น เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้องและเห็นถึงความสำคัญของการเลือกต้ังทั้งในระดับชาติและระดับ ท้องถ่ินต่อไป วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือใหผ้ ้เู ขา้ ร่วมอบรมสง่ เสริมและเผยแพร่ความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับการเมอื งการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ ท่ถี ูกตอ้ ง 2. เพ่ือใหผ้ เู้ ข้าร่วมอบรมเหน็ ถึงความสำคัญของการเลอื กตั้งท้ังในระดับชาตแิ ละระดับท้องถิน่ เป้าหมาย (Outputs) ด้านปรมิ าณ ประชาชนตำบลทงุ่ ขวาง จำนวน 12 คน ประชาชนตำบลกุฎโงง้ จำนวน 12 คน ประชาชนตำบลนามะตูม จำนวน 12 คน รวมทั้งสิน้ 36 คน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 2 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ 1. เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การเมอื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ทถี่ ูกต้องได้อย่างเหมาะสม 2. เพ่อื ให้ผ้เู ข้ารบั การอบรมเห็นถงึ ความสำคัญของการเลอื กตั้งท้งั ในระดับชาตแิ ละระดบั ท้องถนิ่ ผลลพั ธ์ - ผเู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การเมอื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้องไดอ้ ย่างเหมาะสม ดชั นชี ว้ี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ ตวั ชี้วดั ผลผลิต (Outputs) รอ้ ยและ 80 ของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการเมืองการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ทถ่ี ูกต้องไดอ้ ย่างเหมาะสม ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ (Outcomes) ร้อยและ 80 ของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม นำความรู้ที่ได้รับมาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 3 บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในการจดั ทำสรปุ ผลโครงการสง่ เสรมิ วถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน คร้ังนี้ คณะผูจ้ ัดทำโครงการได้ทำการคน้ คว้าเนือ้ หาเอกสารการศึกษาและงานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง ดงั นี้ 1. กรอบการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน 2. เอกสาร/งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง 1. กรอบการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชมุ ชน นโยบายเรง่ ดว่ นเพื่อร่วมขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง 1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.3 การศึกษาตอ่ เนือ่ ง 4) การจดั กิจกรรมการเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกระบวนการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่างๆ ใหก้ ับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุม้ กัน สามารถยนื หยดั อยู่ไดอ้ ย่างมัน่ คง และมี การบริหาร จัดการความเส่ียงอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดุลและย่งั ยนื 2. เอกสาร/งานท่เี กีย่ วข้อง ❖การปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบ่งแยกอำนาจ และหลักการท่ีว่าด้วยความถูกต้องแห่งกฎหมาย ผู้ปกครอง ประเทศท่ีมาจากการเลือกตั้งของประชาชน เป็นเพียงตัวแทนท่ีได้รับมอบอำนาจให้ใช้อำนาจอธิปไตยแทน ประชาชนซ่ึงระบอบการปกครองตนเองของประชาชน โดยผ่านการเลือกสมาชิกผู้แทนราษฎรไปบริหารและ ดแู ลเร่ืองกฎหมาย เพ่ือผลประโยชน์ของประชาชนส่วนใหญ่และโดยการตรวจสอบควบคุมดูแลของประชาชน โดยตรงหรือการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน เช่น การยื่นเสนอหรือแกไ้ ขกฎหมาย การยืน่ ถอดถอนนักการเมืองท่ี ประพฤติมิชอบ การแสดงความคิดในการทำประชาพิจารณ์ การออกเสียงในการทำประชามติระบอบนี้มี ลักษณะเด่นอยู่ท่ีการแข่งขันอย่างเสรีระหว่างกลุ่มหรือพรรคการเมืองต่างๆ เพียงเพ่ือให้ได้รับความไว้วางใจ จากประชาชนสว่ นมากในหลักการของระบอบประชาธิปไตย

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 4 1. อำนาจอธิปไตย หรืออำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ หรือบางทีก็เรียกกันว่า อำนาจของรัฐ (state power) เป็นอำนาจท่ีมาจากปวงชน และผู้ที่จะได้อำนาจปกครองจะต้องได้รับความยินยอมจาก ประชาชนสว่ นใหญใ่ นประเทศ 2. ประชาชนมีสิทธิที่จะมอบอำนาจปกครองให้แก่ประชาชนด้วยกันเอง โดยการออกเสียงเลือกต้ัง ตัวแทนเพอ่ื ไปใช้สิทธิใช้เสียงแทนตน เช่น การเลือก สส. หรือ สว. โดยมีการกำหนดวนั เลือกต้ังและมีวาระการ ดำรงตำแหนง่ เช่น ทกุ 4 ปี หรือ 6 ปเี ปน็ ตน้ 3. รัฐบาลจะต้องเคารพสิทธแิ ละเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของประชาชน อาทิ สิทธใิ นทรัพย์สนิ สิทธิในชีวิต เสรีภาพในการพูด การเขียน การแสดงความคดิ เหน็ การชุมนุม โดยรฐั บาลจะตอ้ งไมล่ ะเมิดสิทธเิ ลา่ นี้ เว้นแต่เพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ หรือเพ่ือรักษาความสงบเรียบร้อย หรือเพ่ือรักษาศีลธรรมอันดีงามของ ประชาชน 4. ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิเสมอกันในการทจ่ี ะได้รับบรกิ ารทกุ ชนิดที่รัฐจัดให้แก่ประชาชน เช่น สิทธใิ น การ ไดร้ ับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 12 ปโี ดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ ่าย 5. รัฐบาลถือกฎหมายและความเป็นธรรมเป็นบรรทัดฐานในการปกครอง และในการแก้ปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ ระหวา่ งกลุ่มชน รวมทั้งจะตอ้ งไมอ่ อกกฎหมายทมี่ ีผลเปน็ การลงโทษบุคคลย้อนหลัง ระบอบประชาธิปไตยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบท่ีมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และแบบที่มี ประธานาธิบดเี ปน็ ประมุข 1. แบบแรกมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้แก่ อังกฤษ เนเธอแลนด์ เบลเย่ียม เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวเี ดน ญ่ีปนุ่ มาเลเซยี และไทย 2. แบบทส่ี องมปี ระธานาธบิ ดเี ปน็ ประมขุ ไดแ้ ก่ ฝรงั่ เศส อนิ เดยี สหรัฐอเมรกิ า เปน็ ต้น ขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของ ระบอบประชาธิปไตย 1. ขอ้ ดีของระบอบประชาธปิ ไตย ที่ควรกล่าวถงึ มีดงั น้ี 1.1 เปิดโอกาสใหป้ ระชาชน ส่วนข้างมากดำเนินการปกครองประเทศ โดยประชาชนส่วนขา้ งนอ้ ย มีสิทธิที่จะดำรงอยู่และทำการคัดค้านการปกครองของฝ่ายข้างมากได้ ข้อดีข้อนี้มีส่วนทำให้เกิดผลดีต่อ ประเทศชาติโดยส่วนรวม เน่ืองจากการตัดสินใจทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยฝ่ายเสียงข้างมากนั้นย่อมจะมีความถูกต้อง มากและผิดพลาดน้อย ขณะเดียวกันฝ่ายเสียงข้างน้อยจะคอยเป็นกระจกเงา และท้วงติดผลเสียที่จะต้อง ป้องกนั มิให้เกิดขน้ึ ตลอดเวลา

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 5 1.2 เปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนใช้สิทธิเสรีภาพได้อย่างเสมอหน้ากัน ตวั อย่างเช่น ไม่ว่าจะเป็น คนม่ังมีหรือยากจน มีสทิ ธิท่ีจะรวมตัวกันเปน็ พรรคการเมอื งและสมคั รรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร และประธานาธบิ ดี ซง่ึ ทำให้ประชาชนมีโอกาสเลือกคนดแี ละมีความสามารถเข้าดำรงตำแหน่งดังกลา่ ว 1.3 ถือกฎหมายเปน็ มาตรฐานในการดำเนินการปกครอง โดยใช้กฎหมายบังคับแกท่ กุ คน ไม่ว่าจะ เป็นคนมั่งมีหรอื ยากจน ไม่วา่ จะเปน็ ขา้ ราชการหรือประชาชน ยงั ผลให้ทกุ คนเสมอกนั โดยกฎหมาย 1.4 ช่วยระงับความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับประชาชน และระหว่างประชาชนด้วยกันเองโดย สันติวิธี โดยมศี าลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ซ่ึงช่วยทำให้ประชาชนอยู่ร่วมกัน ได้อยา่ งสันติ โดยมกี ฎหมายเปน็ กรอบของความประพฤติของทุกคน 2. ข้อเสยี ของระบอบประชาธปิ ไตย ท่คี วรกล่าวถึงมดี งั น้ี 2.1 มีความล่าช้าในการตัดสินใจทำการต่าง ๆ เนื่องจากต้องมีการปรึกษาหารือและผ่านข้ันตอน มาก เช่นการตรา กฎหมายแต่ละฉบับต้องใช้เวลาบางคร้ังหลายวัน หลายสัปดาห์ หรือหลายเดือน เน่ืองจาก ต้องมีการอภิปรายกันในสภา และแก้ไขปรับปรุงกันมากกว่าจะประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมาย ด้วยเหตุนี้ผู้นำ ของประเทศท่ีกำลังพัฒนาซ่ึงมีปัญหาท่ีจะต้องแก้ไขโดยรีบด่วน จึงมักจะคิดว่าระบอบประชาธิปไตยไม่เหมาะ กบั ประเทศของตน 2.2 ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินการปกครองมาก ตัวอย่างเช่น ในการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วประเทศ หรือเลือกตั้งประธานาธิบดีแต่ละคร้ัง ต้องใช้เงินทองเป็นจำนวนมาก ซ่ึง ผ้นู ำประเทศทก่ี ำลงั พฒั นามกั คิดวา่ ประเทศของตนยากจนเกินไปทจ่ี ะใช้ระบอบประชาธิปไตยได้ 2.3 อาจนำไปสู่ความสบั สนวุ่นวายได้ ถ้าประชาชนส่วนมากในประเทศท่ีใช้ระบอบประชาธิปไตย ไม่รู้จักใช้สิทธิเสรีภาพให้อยู่ภายในกรอบของกฎหมาย ซ่ึงอาจทำให้ประเทศชาติเจริญช้าลงอีก ด้วยเหตุน้ีผู้นำ ของประเทศที่กำลังพัฒนาบางประเทศ จึงคิดว่าระบอบประชาธิปไตยไม่เหมาะสมกับประเทศของตน เนอื่ งจากประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่พร้อมทจ่ี ะปกครองในระบอบประชาธิปไตย รากฐานสำคัญของประชาธิปไตย อธิบายในเชิงวิชาการ (เชิงมีเหตุผลยืนยันสอดคล้องน่าเชื่อถือ หรอื พสิ จู นไ์ ด)้ ได้วา่ ระบอบประชาธปิ ไตยทแ่ี ท้จริงนัน้ ตอ้ งอยู่บนรากฐานหลักการทีส่ ำคญั 5 ประการ คือ 1. หลักการอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเป็นเจ้าของโดยใช้ อำนาจ ท่ีมีตามกระบวนการเลือกตั้งอย่างอิสระและทั่วถึงในการให้ได้มาซ่ึงตัวผู้ปกครองและผู้แทนของตน รวมทั้ง ประชาชนมีอำนาจในการคัดค้านและถอดถอนผู้ปกครองและผู้แทนท่ีประชาชนเห็นว่า ไม่ได้บริหารประเทศ ในทางทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สงั คมสว่ นรวม เชน่ มีพฤติกรรมฉอ้ โกง หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นจนร่ำรวยผดิ ปกติ 2. หลักเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทำหรืองดเว้นการกระทำอย่างใด อย่างหน่ึงตามที่บุคคลต้องการ ตราบเท่าที่การกระทำของเขานั้น ไม่ไปละเมิดลิดรอนสิทธิเสรีภาพของบุคคล อ่นื หรือละเมิดตอ่ ความสงบเรียบรอ้ ยของสงั คมและความม่ันคงของประเทศชาติ

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 6 3. หลักความเสมอภาค การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและคุณค่า ต่างๆของสังคมที่มีอยู่จำกัดอย่างเทา่ เทียมกัน โดยไมถ่ ูกกีดกันด้วยสาเหตุแห่งความแตกตา่ งทางช้ันวรรณะทาง สังคม ชาติพนั ธ์ุ วฒั นธรรมความเปน็ อยู่ ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือด้วยสาเหตุอื่น 4. หลักการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม การให้ความคุ้มครองสิทธิขั้นพ้ืนฐานของ ประชาชนท้ังในเร่ืองสิทธิเสรีภาพในทรัพย์สิน การแสดงออก การดำรงชีพ ฯลฯ อย่างเสมอหน้ากัน โดย ผู้ปกครองไม่สามารถใช้อำนาจใดๆลิดรอนเพิกถอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้ และผู้ปกครองไม่สามารถใช้ อภิสทิ ธิอยเู่ หนอื กฎหมาย หรอื เหนอื กว่าประชาชนคนอ่นื ๆได้ 5. หลักการเสียงข้างมาก (Majority rule)ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights) การตัดสินใจใดๆที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็นการเลือกตั้งผู้แทนของ ประชาชนเข้าสู่ระบบการเมือง การตัดสินใจของฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายตุลาการ ย่อมต้องถือเอา เสียงข้างมากที่มีต่อเร่ืองนั้นๆ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็นตัวแทนท่ีสะท้อน ความตอ้ งการ/ขอ้ เรียกรอ้ งของประชาชนหม่มู าก หลักการเสียงข้างมากนี้ ต้องใช้ควบคู่ไปกับการ เคารพและคุ้มครองสิทธิเสียงข้างน้อยด้วย ทั้งน้ีก็ เพ่ือเป็นหลักประกันว่า ฝ่ายเสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการพวกมากลากไปเพื่อผลประโยชน์ของพวกตนอย่าง สุดโต่ง แต่ต้องดำเนินการเพ่ือประโยชน์ของประชาชนท้ังหมด เพื่อสร้างสังคม ท่ีประชาชนเสียงข้างน้อย รวมทั้งชนกลุ่มนอ้ ย ผู้ดอ้ ยโอกาสต่างๆ สามารถอยรู่ ่วมกบั ประชาชนกลุ่มอืน่ ๆ ได้อย่างสันติสุข โดยไม่มีการเอา เปรียบกัน และไมม่ ีการสรา้ งความขดั แย้งในสงั คมมากเกินไป ❖การเลือกตั้งผแู้ ทนในระดบั ท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในแต่ละแห่งท่ีมาจากการเลือกต้ังโดยตรงของประชาชน แบ่งเป็น 2 ฝ่าย คอื 1.ฝ่ายนิติบญั ญัติ มีหนา้ ทีอ่ อกกฎหมายทอ้ งถน่ิ และตรวจสอบการบรหิ ารงานของทอ้ งถนิ่ ไดแ้ ก่ สมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารส่วนตำบล (ส.อบต.) สมาชิกสภาเทศบาล (ส.ท.) สมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั (ส.จ.) สมาชกิ สภาเมอื งพัทยา สมาชิกสภากรงุ เทพมหายคร (ส.ก.) 2. ฝ่ายบรหิ าร มหี น้าทใ่ี นการควบคุมและบริหารกิจการของท้องถิน่ ได้แก่ นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบล นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเมอื งพัทยา

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 7 ผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานคร ทำไมตอ้ งไปเลือกผ้แู ทนทอ้ งถน่ิ การเลือกตั้ง เปน็ หน้าที่ของคนไทยทุกคนในระบอบประชาธปิ ไตยเพอ่ื ให้มีตวั แทนไปทำหน้าสำคญั แทนพวกเรา เช่น ปกป้องผลประโยชน์ และดูทุกข์สุกของประชาชนในท้องถ่ิน ให้ประชาชนอยู่ดีกินดี เรียกร้องให้แก้ไข ปัญหาความเดือดร้อนท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ซึ่งหากไม่มีผู้แทนก็จะไม่มีผู้นำเสนอปัญหาเหล่าน้ันก็จะไม่ได้รับการ แกไ้ ข การปกครองทอ้ งถิ่นสำคัญอยา่ งไร องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ จดั ต้งั ขน้ึ เพื่อให้การบรกิ ารแกป่ ระชาชนในดา้ นตา่ งๆ เช่น ด้านการศึกษา วฒั นธรรม ประเพณี ดา้ นสาธารณูปโภค ด้านปกปอ้ งและบรรเทาสาธารณภัย โรคตดิ ต่อ สง่ เสริมพฒั นา สตรี เดก็ เยาวชน ผสู้ ูงอายุ คุณสมบัตขิ องผมู้ สี ิทธเิ ลอื กตั้ง ผู้มสี ิทธเิ ลือกตัง้ คอื ผูท้ ่มี คี ณุ สมบัติดงั นี้ มสี ญั ชาติไทย ถ้าแปลงสัญชาติตอ้ งได้สัญชาตไิ ทยมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 5 ปี มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ในวันท่ี 1 มกราคม ของปีที่มีการเลือกต้ัง และมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้านในเขต เลือกตั้งติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ปีนับถึงวันเลือกต้ัง เช่น ถ้าเราอาศัยอยู่ใน อบต. ก็เลือกนายก อบต. กับ ส. อบต. เช่นกัน ถา้ อาศัยอยูใ่ นเขตเทศบาล กเ็ ลือก นายกเทศมนตรี กับ ส.ท. เป็นตน้ เตรียมความพรอ้ มเลอื กต้ังท้องถิน่ อย่างไร การเลือกตงั้ ทอ้ งถน่ิ ทกุ ระดบั ต้อง เตรยี มพร้อม เหมือนกนั ดงั นี้ 20 วัน ก่อนวันเลือกต้ัง ตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้ที่ท่ีว่าการอำเภอท่ีทำการองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ ทท่ี ำการผูใ้ หญบ่ า้ น เขตชมุ ชนหรอื ที่เลอื กต้ัง 15 วัน ก่อนวันเลือกต้ัง เจ้าบ้านจะได้รบั หนังสือแจ้งรายชื่อผู้มีสทิ ธิเลือกต้ังเพ่อื ให้ตรวจสอบชอ่ื -นามสกลุ และ ทีเ่ ลือกต้ัง 10 วัน ก่อนวันเลือกต้ัง หากเห็นว่าไม่มีชื่อตนเองหรือมีชื่อผู้ไม่มีสิทธิเลือกตั้งปรากฏในบัญชีรายช่ือผู้มีสิทธิ เลือกตง้ั ให้ยืน่ คำรอ้ งขอเพิม่ ขึ้น-ถอนชอื่ ต่อนายทะเบียนอำเภอหรือนายทะเบยี นท้องถ่ิน หลักฐานทีใ่ ชใ้ นการเลือกตง้ั บตั รประชาชน (บตั รที่หมดอายกุ ็ใช้ได)้ บัตรหรือหลกั ฐานท่ีราชการหรอื หนว่ ยงานของรัฐออกใหม้ รี ปู ถา่ ยและหมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน เชน่ บัตรประจำตวั เจา้ หน้าท่ขี องรัฐ ใบขับข่ี หนงั สือเดนิ ทาง (พาสปอรต์ ) ผู้แทนท้องถน่ิ ควรมีลักษณะอย่างไร เปน็ คนทีอ่ าศยั อยใู่ นท้องถน่ิ รบั รู้ปญั หาของทอ้ งถิน่ มีคณุ ธรรมและรจู้ ักเสยี สละ ไมเ่ หน็ แกต่ วั

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 8 มกี ารหาเสียงอยา่ งสร้างสรรค์ โดยไมผ่ ิดกฎหมาย เข้าถึงประชาชนในพืน้ ท่ีอย่างสมำ่ เสมอ เขา้ ใจปญั หาท่เี กิดขึ้นและนำมาแก้ไขโดยเสนอนโยบายทเี่ ป็นประโยชน์ ตอ่ ประชาชนและปฏิบตั ไิ ด้จรงิ เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปญั หาและรับฟงั ความคิดเห็นของประชาชน เพ่อื รว่ มกันพัฒนา เป็นแบบอย่างของการรู้จกั รักษาประโยชน์ส่วนรวม มบี ทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาประชาธปิ ไตย ไมม่ พี ฤตกิ รรมฝ่าฝนื กฎหมายเลือกตง้ั เช่น แจกเงินหรือสิ่งของ อยา่ เลอื กคนทุจริต อย่าคิดขายเสียง เมื่อท่านมีโอกาสไปทำหน้าที่ใช้สิทธิเลือกต้ังแล้วไม่ควรเลือกผู้สมัครที่โกงการเลือกตั้งเป็นผู้แทน ท้องถ่ินในทุกระดับเพราะผู้สมัครท่ีโกงการเลือกต้ังโดยใช้เงินซ้ือเสียงหัวละไม่ก่ีร้อยบาท เม่ือได้เข้าไปบริหาร เงินงบประมาณของท้องถิ่น ซึ่งมาจากภาษีของเราเองแล้วไปถอนทุนคืนทำให้พวกเราได้รับประโยชน์ในการ พัฒนาท้องถน่ิ ไมเ่ ต็มท่ี เชน่ ถนน สะพาน ใชไ้ ด้ไม่นานกช็ ำรุดเสยี หาย ดังน้ัน พวกเราต้องไปเลือกต้ังด้วยใจบริสุทธิด้วยการไม่รับเงินซื้อเสียงหรือผลประโยชน์อื่นใดจาก ผู้สมัคร แต่เลือกผู้แทนที่ดีไปบริหารงบประมาณในการพัฒนาท้องถ่ินให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย จะดกี วา่ ❖การทุจรติ เลอื กตง้ั ส่งผลเสยี หายต่อทอ้ งถนิ่ อยา่ งไร ท้องถ่ินสูญเสียงบประมาณ ซงึ่ มาจากภาษีของพวกเราในการจัดการเลือกต้งั ใหม่ ผูแ้ ทนท่เี ลือกเขา้ ไปจะโกงเงินภาษี ทำใหท้ อ้ งถิน่ ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเตม็ ท่ี ดังน้ัน เม่ือพบเห็นการทุจริตเลือกตังไม่ว่าจะเป็นการแจกเงินสิ่งของ หรือมีการเลือกรับเงินหรือทรัพย์สิน ให้ ช่วยกันแจ้งเบาะแสหรือรวบรวมหลักฐานการทุจรติ แจ้งต่อตำรวจในพื้นที่ กกต.จังหวัด กกต.ท้องถนิ่ หรือแจ้ง ใหก้ กต.สว่ นกลาง สายด่วน 1171 ทราบ ❖การแจง้ เหตุทไ่ี ม่อาจไปใช้สทิ ธิเลอื กตงั้ 7 วัน ก่อนวันเลือกต้ัง หรือ ภายใน 7 วัน นับแต่วันเลือกตั้ง ขอรับแบบ ส.ถ./ผ.ถ. 31 หรือทำหนังสือชี้แจง เหตุที่ทำให้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งไม่ได้ และให้ระบุเลขประจำตัวประชาชนและที่อยู่ตามทะเบียนบ้านโดยยื่นต่อ นายทะเบียนอำเภอ หรือนายทะเบยี นทอ้ งถิ่น ดว้ ยตนเอง หรือ มอบหมายผู้อืน่ หรอื สง่ ทางไปรษณยี ล์ งทะเบียน ไม่ได้ไปเลือกตงั้ ทอ้ งถิน่ เสียสิทธอิ ะไรบ้าง ❖ผูท้ ี่ไม่ไดไ้ ปใชส้ ิทธเิ ลอื กตงั้ และไม่ได้แจง้ เหตอุ นั สมควร จะเสียสิทธิ 6 ประการ ดงั น้ี - สิทธิยืน่ คำรอ้ งคัดค้านการเลอื กต้ังสมาชกิ สภาท้องถ่ินและผูบ้ รหิ ารท้องถน่ิ - สทิ ธิร้องคดั คา้ นการเลือกตั้งกำนนั และผู้ใหญบ่ ้านตามกฎหมายวา่ ด้วยลกั ษณะปกครองท้องที่ - สิทธสิ มคั รรบั เลือกตงั เปน็ สมาชกิ สภาท้องถน่ิ และผู้บรหิ ารทอ้ งถน่ิ - สิทธสิ มัครรับเลือกเปน็ กำนันและผ้ใู หญ่บา้ นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยลักษณะปกครองท้องที่

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 9 - สิทธิเข้าชอื่ รอ้ งขอให้สภาท้องถ่ินพิจารณาออกข้อบัญญัตทิ ้องถ่ิน ตามกฎหมายว่าดว้ ยการเข้าชื่อเสนอ ขอ้ บัญญัตทิ อ้ งถน่ิ - สิทธิเข้าช่ือร้องขอให้ถอดถอนสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถ่ินตามกฎหมายว่าด้วยการ ลงคะแนนเสยี งเพือ่ ถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิน่ หรือผ้บู รหิ ารท้องถ่นิ ❖การมสี ่วนร่วมทางการเมืองระหว่างการเลอื กต้ัง ในระหว่างที่มีการเลือกต้ังเรามสี ่วนรว่ มทางการเมืองได้ เช่นติดตามการโฆษณาหาเสียงของผู้สมัครว่า ทำผิดกฎหมายเลือกต้ังหรือไม่สังเกตการณ์ทำหน้าที่ของกรรมการประจำหน่วยเลือกต้ัง เช่น เปิดหีบบัตรตรง เวลาหรือมีบัตรอยู่ในหีบก่อนเปิดหีบหรือไม่เฝ้าติดตามการนับคะแนนว่ากรรมการมีการอ่านคะแนนถูกต้อง หรือไม่ ฯลฯการมีส่วนรว่ มทางการเมอื งหลังการเลอื กตั้ง แม้การเลือกตังเสร็จส้ินไปแล้วแต่ท่านยังสามรถตรวจสอบการทำงานของผู้แทนในระดับท้องถ่ินได้ ดังนี้ - มีส่วนร่วมในการบริหาร เช่น การเข้ารับฟังการประชุมของสภาท้องถิ่นหรือติดตามประกาศต่างๆของ ทอ้ งถ่ิน รวมทั้งใหค้ วามคิดเห็นในการจัดทำโครงการหรอื กจิ กรรมต่างๆ ของทอ้ งถนิ่ - มีส่วนร่วมในการตรวจสอบ เช่น ติดตามและตรวจสอบการบริหารงานของผู้บริหารท้องถ่ินหรือการ ปฏิบตั หิ นา้ ที่ของสมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ - การมีสว่ นรว่ มทางด้านกฎหมาย เช่น การเข้าชื่อเสนอรา่ งขอ้ บัญญตั ิ หรอื แสดงความคิดเหน็ เสนอแนะ ต่อสภาทอ้ งถ่ิน - การคดั ค้านการเลอื กตั้ง - การคัดค้านการเลือกต้ัง สามารถยื่นคำร้องได้ก่อนวันเลือกต้ัง หรือภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศ ผลเลือกต้ังผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10 คน หรือผู้สมัคร หรือผู้ว่าราชการจังหวัด หรือนายอำเภอ ในเขตเลือกตั้งน้ันกรณีเห็นว่าการเลือกต้ัง หรือการนับคะแนนเลือกตง้ั ในเขตเลือกต้ังเป็นไปโดยทุจริต หรือไม่เท่ียงธรรมให้ยื่นคำร้องคัดค้านต่อ กกต. โดยผ่านผู้อำนวยการเลือกต้ังประจำจังหวัดผู้สมัคร สมาชิกสภาทอ้ งถนิ่ หรือผู้บริหารท้องถ่ินจะต้องย่ืนบญั ชีค่าใช้จา่ ยในการเลอื กตง้ั ภายใน 90 วัน นบั แต่ วันประกาศผลการเลือกตัง้ และผู้ร้องคัดค้านเกยี่ วกบั ค่าใช้จ่ายในการเลอื กต้ัง ผรู้ ้องสามารถย่นื คำรอ้ ง คดั ค้านไดภ้ ายใน 180 วัน นับแตว่ นั ประกาศผลการเลือกตั้ง ❖วธิ ีการข้าช่ือรอ้ งขอและลงคะแนนเสยี งถอดถอนสมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ ประชาชนในท้องถ่ินมีสิทธิยื่นคำร้องขอให้มีการลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาท้องถ่ิน หรือผู้บริหาร ทอ้ งถ่ินนน้ั ไดห้ ากเหน็ วา่ ผูน้ ัน้ ไมส่ มควรทีจ่ ะดำรงตำแหนง่ อีกต่อไปโดยมี 4 ขั้นตอนดังนี้ - ทำคำร้องขอใหม้ ีการถอดถอนโดยระบชุ ื่อ ทอี่ ยู่ ลงลายมอื ช่ือ พรอ้ มสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน - ยื่นคำร้องต่อผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย(เฉพาะ กทม.) โดยมี รายละเอียดของข้อเท็จจริง และพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นวา่ สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผบู้ ริหารท้องถ่ิน ปฏบิ ตั ิหนา้ ทห่ี รอื มีความประพฤตเิ สื่อมเสยี จนเป็นเหตุทไ่ี ม่สมควรดำรงตำแหน่งตอ่ ไป - เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยได้รับคำร้องแล้ว ให้ส่งคำร้องพร้อมคำ ชแี้ จงของผู้ถูกกล่าวหาไปยงั กกต. เพือ่ ทำการประกาศวันและจดั ใหม้ กี ารลงคะแนนเสยี งถอดถอน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 10 - ผมู้ สี ทิ ธิลงคะแนนเสยี งไปลงคะแนนเสียงถอดถอน ณ หน่วยลงคะแนนเสยี งท่ี กกต. กำหนด การเขา้ ชอ่ื รอ้ งขอและการลงคะแนนเสยี งถอดถอนสมาชกิ สภาทอ้ งถิ่นหรอื ผู้บรหิ ารท้องถิ่นจะถือเกณฑ์จำนวน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ แต่ละแห่งต่อจำนวนผู้เขา้ ชื่อ ดังนี้ - จำนวนผ้มู สี ิทธเิ ลือกต้ัง ไม่เกิน 1 แสนคน จำนวนผู้เข้าช่ือถอดถอน ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ใน 5 - จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ระหว่าง 1 แสนคน – 5 แสนคน จำนวนผู้เข้าช่ือถอดถอน ไม่น้อยกว่า 2 หมืน่ คน - จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ระหว่าง 5 แสนคน – 1 ล้านคน จำนวนผู้เข้าช่ือถอดถอน ไม่น้อยกว่า 2.5 แสนคน - จำนวนผู้มสี ทิ ธิเลอื กตั้ง เกนิ 1 ลา้ นคน จำนวนผเู้ ข้าชือ่ ถอดถอน ไม่น้อยกวา่ 3 แสนคน ❖ผลการลงคะแนนเสียง ประชาชนลงคะแนนเสียงเกินกง่ึ หน่งึ ของจำนวนผมู้ สี ทิ ธิลงคะแนนเสียงและได้คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งท่ีมาลงคะแนนเสียงให้บุคคลน้ันพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันลงคะแนนเสียง ประชาชนลงคะแนนเสียงไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจำนวนผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงให้การเข้าชื่อถอดถอนบุคคลนั้นเป็น อนั ตกไป (บุคคลน้นั ยงั อยู่ในตำแหน่งตอ่ ไป) ❖คุณสมบัติของผู้มีสทิ ธเิ ลอื กตั้ง – สัญชาติไทย หรือผมู้ สี ัญชาติไทยโดยได้แปลงสัญชาติมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 5 ปี – อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคม ของปีท่มี ีการเลือกตั้ง ในปีน้ีถึงว่า ต้องมีอายุครบ 18 ปีบ ริบรณู ์ภายในวนั ที่ 1 มกราคม 2553 – มีชื่ออย่ใู นทะเบียนบ้านในเขตเลือกต้งั มาแลว้ เป็นเวลาติดต่อกนั ไมน่ ้อยกวา่ 90 วนั นับถงึ วนั เลือกตั้ง ❖ลักษณะต้องหา้ มของผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 11 – ภกิ ษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช – อยใู่ นระหวา่ งถูกเพิงถอนสิทธิการเลอื กต้งั – ต้องคุมขงั โดยหมายของศาล หรือโดยคำสงั่ ที่ชอบดว้ ยกฎหมาย – วิกลจรติ จิตฟ่ันเฟือน หรือไม่สมประกอบ

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 12 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ งาน การดำเนนิ โครงการสง่ เสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน ได้ดำเนินการตาม ข้ันตอนตา่ งๆ ดงั น้ี 1. ขน้ั เตรียมการ  การศกึ ษาเอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องกับโครงการส่งเสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของ ประชาชน ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการได้ศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารทเ่ี กยี่ วข้องเพ่ือเปน็ ข้อมูลและแนวทางในการดำเนินการ โครงการสง่ เสรมิ วถิ ีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน 1. ศึกษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนงั สือ เกย่ี วกับการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนเพื่อเป็นแนวทางเก่ยี วกับการจัดโครงการการสง่ เสรมิ วถิ ปี ระชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน 2. ศกึ ษาขนั้ ตอนการดำเนินโครงการสง่ เสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธิเสรีภาพของประชาชนเพ่ือ เห็นถงึ ความสำคัญของการเลือกตงั้ ท้งั ในระดับชาตแิ ละระดับทอ้ งถนิ่  การสำรวจความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี (ตามนโยบายของรัฐบาล) กลมุ่ ภารกจิ การจดั การศึกษานอกระบบ มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการ ของกลมุ่ เปา้ หมายเพื่อทราบความตอ้ งการที่แท้จริงของประชาชนในตำบล และมขี ้อมลู ในการจดั กิจกรรมท่ี ตรงกับความต้องการของชมุ ชน  การประสานงานผู้นำชุมชน / ประชาชน /วิทยากร 1. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกบั หวั หนา้ /ผูน้ ำชุมชนและประชาชนในตำบลเพอ่ื รว่ มกัน ปรกึ ษาหารือในกลุ่มเก่ียวกบั การดำเนินการจัดโครงการให้ตรงกับความต้องการของชมุ ชน 2. ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกบั หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งเพื่อจัดหาวิทยากร  การประชาสัมพนั ธ์โครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้ดำเนนิ การประชาสัมพนั ธก์ ารจัดโครงการส่งเสรมิ วถิ ีประชาธิปไตยและ สทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน เพ่อื ใหป้ ระชาชนทราบข้อมลู การจัดกจิ กรรมดังกล่าวผา่ นผู้นำชุมชน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 13  ประชมุ เตรยี มการ / วางแผน 1) ประชุมปรกึ ษาหารือผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง 2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานให้ฝ่ายต่างๆ เตรยี มดำเนินการ 3) มอบหมายหน้าที่ แต่งตัง้ คณะทำงาน  การรบั สมัครผเู้ ข้าร่วมโครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้รบั สมัครผูเ้ ข้าร่วมโครงการสง่ เสรมิ วถิ ีประชาธิปไตยและสิทธิเสรภี าพของ ประชาชนโดยใหป้ ระชาชนท่วั ไปท่ีอาศัยอยใู่ นพื้นท่ีกศน.ตำบลทุ่งขวาง กศน.ตำบลกฎุ โง้งและ กศน.ตำบลนามะตมู เขา้ ร่วม เปา้ หมายจำนวน 36 คน  การกำหนดสถานทแี่ ละระยะเวลาดำเนนิ การ ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานทีใ่ นการจัดอบรมคือ ห้องประชุมโรงเรยี นเทศบาล 4 เจรญิ อุปถัมภ์ปญั ญาธร ตำบลพนสั นิคม อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี ในวนั ที่ 22 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 จำนวน 1 วัน เวลา 08.30-12.00 น. 2. ข้นั ดำเนนิ งาน  กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนตำบลทงุ่ ขวาง จำนวน 12 คน ประชาชนตำบลกฎุ โงง้ จำนวน 12 คน ประชาชนตำบลนามะตูม จำนวน 12 คน รวมทงั้ สนิ้ 36 คน  สถานทด่ี ำเนนิ งาน ครู กศน.ตำบล จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมวิถปี ระชาธิปไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน โดยจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในวันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 08.30-12.00น. ณ กศน.ตำบลทุ่งขวาง กศน.ตำบลกุฎโง้งและกศน.ตำบลนามะตูม  การขออนุมตั แิ ผนการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน กศน.ตำบล ไดด้ ำเนนิ การขออนุมัติแผนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน โครงการส่งเสรมิ วิถีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชนต่อสำนักงาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี เพื่อใหต้ ้น สังกดั อนุมตั แิ ผนการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 14  การจัดทำเคร่ืองมอื การวัดความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม เครื่องมือท่ีใชใ้ นการติดตามประเมนิ ผลโครงการ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ  ขน้ั ดำเนินการ / ปฏิบัติ 1. เสนอโครงการเพื่อขอความเหน็ ชอบ/อนุมตั ิจากต้นสงั กดั 2. วางแผนการจัดกิจกรรมในโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของ ประชาชน โดยกำหนดตารางกิจกรรมที่กำหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ กผ่ รู้ ับผิดชอบฝ่ายต่างๆ 4. แต่งตงั้ คณะกรมการดำเนนิ งาน 5. ประชาสมั พันธ์โครงการส่งเสริมวถิ ปี ระชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน 6. จัดกจิ กรรมโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามตาราง กิจกรรมท่ีกำหนดการ 7. ติดตามและประเมนิ ผลโครงการสง่ เสรมิ วถิ ีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน 3. การประเมนิ ผล  วเิ คราะห์ข้อมูล 1. บนั ทกึ ผลการสังเกตจากผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม 2. วิเคราะหผ์ ลจากการประเมินในแบบประเมินความพึงพอใจ 3. รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านรวบรวมสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของโครงการนำเสนอตอ่ ผบู้ ริหาร นำปัญหา ข้อบกพร่องไปแก้ไขครง้ั ต่อไป  คา่ สถิตทิ ี่ใช้ การวเิ คราะห์ข้อมูล ใช้คา่ สถติ ิร้อยละในการประมวลผลขอ้ มลู ส่วนตวั และตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ ของโครงการตามแบบสอบถามคดิ เป็นรายข้อ โดยแปลความหมายคา่ สถิติรอ้ ยละออกมาได้ดังน้ี ค่าสถติ ริ อ้ ยละ 90 ขน้ึ ไป ดมี าก ค่าสถิติร้อยละ 75 – 89.99 ดี คา่ สถิติรอ้ ยละ 60 – 74.99 พอใช้ ค่าสถิตริ อ้ ยละ 50 – 59.99 ปรับปรุง คา่ สถิติรอ้ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายข้อซึ่งมีลักษณะเป็นค่าน้ำหนัก คะแนน และนำมาเปรียบเทยี บ ไดร้ ะดับคณุ ภาพตามเกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 15 เกณฑก์ ารประเมิน (X) 4.50 – 5.00 ระดับคุณภาพ คือ ดมี าก คา่ นำ้ หนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ คือ ดี ค่านำ้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคุณภาพ คอื พอใช้ ค่านำ้ หนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คณุ ภาพ คือ ต้องปรบั ปรงุ ค่าน้ำหนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคุณภาพ คอื ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน ค่าน้ำหนักคะแนน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 16 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวิเคราะหข์ ้อมลู ตอนที่ 1 รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน โครงการสง่ เสริมวิถีประชาธิปไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน สรปุ รายงานผลการจัดกิจกรรมได้ ดังน้ี ในการจดั กิจกรรมอบรมให้ความรตู้ ามโครงการสง่ เสรมิ วิถีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพ ของประชาชน เปน็ การอบรมให้ความรู้ โดยมี นายประกาย รัตนมณี เปน็ วิทยากรในการบรรยายใหค้ วามรู้ เร่อื ง การเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข และ การเลือกต้งั ทอ้ งถิน่ หลงั จากเสร็จส้ินกจิ กรรมดังกลา่ วแลว้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเขา้ ใจในการมีสว่ นร่วม ทางการเมอื งและนำความรทู้ ่ีไดร้ ับมาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ตอนที่ 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน การจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน ซึง่ สรปุ รายงานผลจาก แบบสอบถามความคดิ เหน็ ข้อมลู ที่ไดส้ ามารถวเิ คราะห์และแสดงค่าสถติ ิ ดังนี้ ตารางที่ 1 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ รายละเอยี ด เพศ หญงิ ชาย 27 75.00 จำนวน (คน) 9 ร้อยละ 25.00 จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการส่งเสรมิ วถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน เป็นชาย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 และ เปน็ หญิง จำนวน 27 คน คิดเปน็ ร้อยละ 75.00 ตารางที่ 2 ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป)ี อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ข้นึ ไป 17 12 จำนวน (คน) 1 - 6 47.22 33.33 ร้อยละ 2.78 - 16.67

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 17 จากตารางที่ 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามที่เข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน มีอายุ 15-29 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อย ละ 2.78 มีอายุ 40-49 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 มีอายุ 50-59 จำนวน 17 คนคิด เป็นร้อยละ 47.22 และมอี ายุ 60 ปขี นึ้ ไป จำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.33 ตารางที่ 3 ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี รายละเอยี ด เกษตรกรรม รับจ้าง อาชพี ค้าขาย อน่ื ๆ รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ จำนวน (คน) 7 13 - 4 12 รอ้ ยละ 19.44 36.11 - 11.11 33.33 จากตารางท่ี 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน โครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน มีอาชพี เกษตรกรรม จำนวน 7 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 19.44 มีอาชพี รับจ้าง จำนวน 13 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36.11 มีอาชพี ค้าขายจำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อย ละ 11.11 และอาชพี อื่นๆ จำนวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 รายละเอยี ด ประถม ระดบั การศึกษา ปวส./ป.ตรขี น้ึ ไป การศกึ ษา 3 ม.ต้น ม.ปลาย/ปวช. 5 จำนวน (คน) 8.33 ร้อยละ 4 24 13.89 11.11 66.67 จากตารางท่ี 4 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามที่เขา้ ร่วมกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน โครงการส่งเสรมิ วิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน มรี ะดบั ประถม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 มีระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.11 มรี ะดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 24 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 66.67 และมรี ะดับ ปวส./ป.ตรี ขน้ึ ไป จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.89

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 18 ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละเฉลี่ยความสำเรจ็ ของตัวชวี้ ดั ผลผลติ ประชาชนทวั่ ไป เข้ารว่ มโครงการจำนวน 36 คน เป้าหมาย(คน) ผลสำเร็จของโครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ 36 ผู้เขา้ รว่ มโครงการ(คน) 100 36 จากตารางท่ี 5 พบวา่ ผลสำเร็จของตวั ชวี้ ัดผลผลติ กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน โครงการส่งเสรมิ วถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน มีผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ จำนวน 36 คน คดิ เป็น ร้อยละ 100 ซึง่ บรรลุเปา้ หมายดา้ นตวั ชี้วัด ผลผลิต ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมที่มีความพงึ พอใจต่อ โครงการส่งเสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรภี าพของประชาชน ในภาพรวม รายการ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดับ () () ความพึงพอใจ ด้านบริหารจดั การ 4.61 0.52 ดีมาก ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.46 0.50 ดี ด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั 4.53 0.51 ดีมาก รวมทุกด้าน 4.53 0.51 ดมี าก จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย และสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (=4.53) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านบริหารจัดการ อยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.61) รองลงมาคอื ด้านประโยชน์ที่ได้รับ มีอยู่ในระดับ ดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.53) และ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี มีค่าเฉล่ีย (= 4.46) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.50 - 0.51 แสดงวา่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึง พอใจสอดคล้องกนั ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อ โครงการสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน ดา้ นบริหารจดั การ

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 19 รายการ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบย่ี งเบน ระดับ ความพึงพอใจ 1. อาคารสถานท่ี () มาตรฐาน () 2. ส่ิงอำนวยความสะดวก 4.60 0.49 ดีมาก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 4.47 0.50 ดี 4. เอกสารการอบรม 4.47 0.50 ดี 5. วิทยากรผู้ให้การอบรม 4.80 0.54 4.73 0.44 ดีมาก รวม 4.61 0.49 ดีมาก ดีมาก จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจต่อ โครงการส่งเสริมวิถี ประชาธิปไตยและสิทธเิ สรภี าพของประชาชน ด้านบริหารจัดการ ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ดีมาก มีคา่ เฉลย่ี (= 4.61) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เอกสารการอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.80) รองลงมา คือ วิทยากรผู้ให้ การอบรม มีค่าเฉลย่ี (= 4.73) อาคารสถานที่ มคี ่าเฉลีย่ (= 4.60) สิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลยี่ (= 4.60) และกำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ มีค่าเฉลี่ย (= 4.47) ตามลำดับ โดยมีส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.44 - 0.54 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไปในทิศทาง เดยี วกนั ตารางท่ี 8 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อ โครงการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธิปไตยและสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ รายการ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบน ระดบั () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจัดกิจกรรม โครงการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตย 4.33 และสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน 0.47 ดี 7. การให้ความรเู้ ร่ืองการเลือกตั้งท้องถิ่น 8. การตอบข้อซักถามของวิทยากร 4.53 0.50 ดมี าก 9. การแลกเปล่ียนเรียนรขู้ องผู้เข้ารับการอบรม 4.53 0.50 ดีมาก 10. การสรุปองค์ความรรู้ ว่ มกัน 4.20 0.40 11. การวดั ผล ประเมนิ ผล การฝกึ อบรม 4.67 0.47 ดี 4.47 0.50 ดีมาก ดี

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 20 รายการ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบน ระดบั รวม () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 4.46 0.47 ดี จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและ สิทธิเสรีภาพของประชาชน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉล่ีย (= 4.46) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีค่าเฉลี่ย (= 4.67) รองลงมาคือ การให้ ความรู้เร่ืองการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน มีค่าเฉล่ีย(= 4.53 ) การตอบข้อ ซกั ถามของวิทยากร มีคา่ เฉล่ยี (= 4.53 ) การวดั ผล ประเมินผล การฝกึ อบรม มีค่าเฉล่ยี (=4.47) การจัด กจิ กรรมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารใหค้ วามรใู้ นการสง่ เสริมวิถปี ระชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน มีค่าเฉลี่ย (= 4.33) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลย่ี ( = 4.20) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.40 - 0.50 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็น สอดคล้องกนั ตารางที่ 9 คา่ เฉลีย่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมที่มีความพงึ พอใจตอ่ โครงการการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน ดา้ นประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั รายการ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบน ระดับความ () มาตรฐาน () พึงพอใจ 12. ไดเ้ รยี นรู้ถึงระบบการปกครองรปู แบบ 4.47 ประชาธิปไตย 0.50 ดี 13. นำความรทู้ ี่ได้รับมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน 4.60 0.49 ดมี าก รวม 4.53 0.49 ดีมาก จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจตอ่ โครงการการสง่ เสรมิ วิถปี ระชาธปิ ไตย และสิทธิเสรีภาพของประชาชน ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.53) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ นำความรู้ทไี่ ด้รบั มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีค่าเฉลย่ี (= 4.60) รองลงมา ได้เรียนรู้ถึงระบบการปกครองรูปแบบประชาธิปไตย มีค่าเฉล่ีย (= 4.47) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหว่าง 0.49 - 0.50 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดยี วกนั

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 21 สรปุ ในภาพรวมของกจิ กรรมคิดเปน็ รอ้ ยละ 90.68 มคี ่าน้ำหนกั คะแนน 4.53 ถือวา่ ผู้รับบริการ มคี วามพึงพอใจทางดา้ นต่างๆ อยูใ่ นระดับดีมาก โดยเรียงลำดบั ดังน้ี  อนั ดบั แรก ดา้ นบรหิ ารจัดการ คิดเป็นร้อยละ 92.72 มคี า่ นำ้ หนักคะแนน 4.66 อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีมาก  อันดบั สอง ด้านประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ คิดเป็นร้อยละ 90.67 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.53 อยู่ในระดบั คณุ ภาพดีมาก  อันดับสาม ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 89.11 มคี ่าน้ำหนักคะแนน 4.46 อยู่ในระดบั คุณภาพดี

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 22 บทที่ 5 อภปิ รายและข้อเสนอแนะ ผลการจัดกจิ กรรมโครงการการส่งเสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธิเสรภี าพของประชาชน ไดผ้ ลสรุป ดังนี้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหผ้ ูเ้ ข้ารว่ มอบรมสง่ เสรมิ และเผยแพรค่ วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับการเมืองการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ที่ถูกตอ้ ง 2. เพ่อื ใหผ้ ู้เข้าร่วมอบรมเห็นถงึ ความสำคัญของการเลือกต้ังทัง้ ในระดับชาติและระดับท้องถิ่น เป้าหมาย (Outputs) ดา้ นปริมาณ ประชาชนตำบลท่งุ ขวาง จำนวน 12 คน ประชาชนตำบลกฎุ โงง้ จำนวน 12 คน ประชาชนตำบลนามะตูม จำนวน 12 คน รวมท้ังสิ้น 36 คน ดา้ นคุณภาพ 1. เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเมืองการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขทถี่ ูกตอ้ งได้อย่างเหมาะสม 2. เพ่ือให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมเห็นถงึ ความสำคัญของการเลือกต้ังทั้งในระดบั ชาตแิ ละระดบั ทอ้ งถนิ่ เครอื่ งมือทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในครัง้ น้ี คือ แบบประเมินความพงึ พอใจ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้มอบหมายให้ ครู กศน.ตำบล ท่ีรบั ผดิ ชอบกจิ กรรมแจกแบบสอบถาม ความพึงพอใจให้กับผู้รว่ มกจิ กรรม โดยใหผ้ ู้เข้ารว่ มกจิ กรรมประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมต่างๆ ตามโครงการการ ส่งเสริมวถิ ีประชาธิปไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 23 สรุปผลการดำเนินงาน กศน.ตำบลทุ่งขวาง กศน.ตำบลกุฎโง้งและกศน.ตำบลนามะตมู ไดด้ ำเนนิ การจัดกจิ กรรมตาม โครงการการสง่ เสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยดำเนนิ การเสรจ็ สิ้นลงแล้วและสรปุ รายงานผลการดำเนินงานไดด้ ังน้ี 1. ผ้รู ่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการเมืองการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ท่ีถูกต้องและนำความรู้ทไ่ี ดร้ ับมาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวัน 2. ผรู้ ว่ มกิจกรรมร้อยละ 90.67 นำความรู้ทีไ่ ดร้ ับมาปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั 3. จากการดำเนินกจิ กรรมตามโครงการดงั กล่าว สรุปโดยภาพรวมพบวา่ ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมส่วนใหญม่ ี ความพึงพอใจตอ่ โครงการ อยู่ในระดบั “ดีมาก ” และบรรลุความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายตัวช้ีวดั ผลลัพธ์ทต่ี ง้ั ไว้ โดยมคี ่าเฉล่ียร้อยละภาพรวมของกจิ กรรม 90.68 และค่าการบรรลุเปา้ หมายค่าเฉล่ยี 4.53 ขอ้ เสนอแนะ - อยากให้มีการจัดกิจกรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตต่อไป

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 24 บรรณานุกรม การเลือกต้ังท้องถ่นิ .2554. [ออนไลน]์ .https://www.ect.go.th/ect_en/สบื ค้นเมื่อ 10 กุมภาพนั ธ์ 2564 ชาญวทิ ย์ ปรีชาพาณชิ พฒั นา.2556. ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและหลักการของระบอบ ประชาธิปไตย [ออนไลน]์ .https://sites.google.com/site/janisataprombut/3-rabxb-kar- pkkhrxng-khxng-prathes/10 สืบคน้ เม่ือ 10 กุมภาพันธ์ 2564

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 25 ภาคผนวก

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 26

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 27

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 28

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 29

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 30

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 31

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 32

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 33

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 34 รายงานผลการจัดกจิ กรรม โครงการสง่ เสริมวิถีประชาธปิ ไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน จำนวน 1วัน ในวันที่ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ณ ห้องประชมุ โรงเรยี นเทศบาล 4 เจริญอุปถัมภป์ ญั ญาธร ตำบลพนัสนคิ ม อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี วทิ ยากรคือ นายประกาย รัตนมณี ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมจำนวน 36 คน

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 35 แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการส่งเสรมิ วถิ ีประชาธิปไตยและสิทธเิ สรีภาพของประชาชน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.อำเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี คำชี้แจง 1. แบบสอบถามฉบับนี้มีวตั ถุประสงค์ เพอื่ ใชใ้ นการสอบถามความพงึ พอใจตอ่ โครงการสง่ เสรมิ วิถีประชาธปิ ไตยและสิทธิ เสรภี าพของประชาชน 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดงั น้ี ตอนท่ี 1 ถามข้อมูลเกี่ยวกับผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ขอ้ ให้ทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งให้ตรงกับสภาพจริง ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอ่ โครงการสง่ เสรมิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน จำนวน 13 ข้อ ซ่ึงมรี ะดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ดังนี้ 5 มากทส่ี ุด หมายถึง มีความพงึ พอใจมากท่สี ดุ 4 มาก หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก 3 ปานกลางหมายถงึ มีความพงึ พอใจปานกลาง 2 น้อย หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ย 1 นอ้ ยที่สดุ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ยท่ีสดุ ตอนท่ี 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อโครงการส่งเสรมิ วิถีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน ตอนที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม หญงิ 40 ปี – 49 ปี เพศ 30 ปี – 39 ปี ชาย 60 ปขี ้ึนไป อายุ 15 ปี – 29 ปี 50 ปี – 59 ปี การศึกษา ตำ่ กวา่ ป.4 ป.4 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ประกอบอาชพี อนปุ ริญญา ปริญญาตรี สงู กว่าปริญญาตรี รบั จา้ ง ลูกจ้าง/ข้าราชการหนว่ ยงานภาครัฐหรือเอกชน คา้ ขาย อื่น ๆ …………………………………. เกษตรกร

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 36 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจเกีย่ วกับโครงการส่งเสริมวถิ ีประชาธปิ ไตยและสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชน ขอ้ ที่ รายการ ระดบั ความคิดเห็น 1 5 432 ดา้ นบรหิ ารจดั การ 1. อาคารและสถานท่ี 2. สิ่งอำนวยความสะดวก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วิทยากรผใู้ ห้การอบรม ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6. การจดั กิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ วถิ ีประชาธิปไตยและสทิ ธิ เสรีภาพของประชาชน 7. การให้ความร้เู ร่ืองปฏบิ ัติการเรียนรมู้ งุ่ สู่ความพอเพียง 8. การตอบข้อซกั ถามของวทิ ยากร 9. การแลกเปลยี่ นเรยี นร้ขู องผเู้ ข้ารบั การอบรม 10. การสรุปองคค์ วามรู้รว่ มกัน 11. การวดั ผล ประเมินผล การฝึกอบรม ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 12 ได้เรยี นรู้และฝึกตนเอง เกยี่ วกับปฏิบัติการเรยี นรู้มุ่งสคู่ วาม พอเพียง 13 นำความรู้ท่ีไดร้ ับมาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ข้อคิดเหน็ .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคุณท่ใี หค้ วามรว่ มมือ

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 37 คณะผู้จดั ทำ ท่ปี รกึ ษา หม่นื สา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม การงานดี ครู 1. นางณชั ธกญั ศรเี ทพ บรรณารักษ์ปฏบิ ัติการ 2. นางสาวมุทิกา ทำทอง ครผู ชู้ ว่ ย 3. นางปล้ืมจิตร ศรีบณุ ยะแก้ว ครผู ้ชู ่วย 4.นางพิรฬุ ห์พร คลังสนิ ธ์ ครู อาสาสมัคร กศน. 5.นางสาวณภษร อดุ านนท์ ครู อาสาสมคั ร กศน. 6. นางสาวเฟอื่ งฟ้า 7.นายวชั รินทร์ ครู กศน.ตำบลทุ่งขวาง ครู กศน.ตำบลกฎุ โง้ง คณะทำงาน นำ้ ฟ้า ครู กศน.ตำบลนามะตมู ฮกโก้ นางสาวนิตยา มาละเงนิ นางสาวกนกกร นางสาวสุทธิดา

ส รุ ป ผ ล ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม โ ค ร ง ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น 38