Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 ธรรมชาติของเสียง ความดังของเสียง 1,2

หน่วยที่ 2 ธรรมชาติของเสียง ความดังของเสียง 1,2

Published by Patcharee Wararatananurak, 2021-09-07 07:07:15

Description: ความดังของเสียง 1,2

Search

Read the Text Version

โรงเรียนวดั เทพชมุ นุม รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 หนว่ ยที่ 3 แรงและพลังงาน เรอ่ื ง ความดังของเสยี ง 1 ผสู้ อน : ครพู ชั รี วรรตั นานุรกั ษ์ (ครไู ก่)

ข้นั กระตุ้นความสนใจ เสียเงรจียางกลแาหดลบั จ่งคากวกาาเเมสนดียิดงงัเสขดีอยงั ทงงเเ่ีสหสุดีลยไง่าปจนา้ยีมกงัีคแเสวหาียลมง่งแคกตอ่ ากยเนทติด่าี่สงเุดสกียนั งใเนหเลร่าื่อนง้ีใด เสียงเคร่ืองดูดฝ่นุ เสียงหายใจ เสียงเคร่ืองตดั โลหะ เสียงกระซิบ 154

ข้นั สารวจและค้นหา 1.2 ความดงั ของเสียง ความดังของเสียงมีความสมั พนั ธ์กบั พลงั งานในการส่ันของแหล่งกาเนิดเสียง พลงั งานมาก เสียงดงั พลงั งานน้อย 155 เสียงค่อย

1.2 ความดงั ของเสียง ความดงั ของเสียงมีความสัมพนั ธ์กบั ความเข้มเสียง ความเข้มเสียง คือ พลงั งานเสียงท่ีตกต้งั ฉากบนหน่ึงหน่วยพ้นื ท่ีในหน่ึงหน่วยเวลา ความเขม้ เสียงสูง ความเขม้ เสียงต่า เสียงดงั เสียงค่อย 156

1.2 ความดงั ของเสียง ความดงั ของเสียงมีความสมั พนั ธ์กบั ระยะห่างจากแหล่งกาเนิดเสียงถงึ หูของผู้ฟัง ระยะห่างจาก เสเสียียงงคด่องั ย แหล่งกาเนิดเสียงนม้อากย 157

ข้ันอ1ธ.ิบกาารยไคดย้วนิ าเมสียรงู้ 1.2 ความดงั ของเสียง เสียงต่าง ๆ ที่เราไดย้ นิ ในชีวติ ประจาวนั มีความดงั แตกต่างกนั เพราะอะไร แบ่งกลุ่ม ร่วมกนั สืบคน้ ขอ้ มูล จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แลว้ มาอภิปราย และนาเสนอผลงานหนา้ หอ้ งเรียน ลองตอบคาถามจากแนวคาถามต่อไปน้ี 158

1.2 ความดงั ของเสียง แนวคาถาม 1. ความดงั ของเสียงคืออะไร ความรู้สึกไดย้ นิ ของคนเราวา่ ดงั มากหรือดงั นอ้ ย 2. ปัจจยั ที่มีผลต่อการเกิดเสียงดงั เสียงคอ่ ยคืออะไร พลงั งานในการสนั่ ของแหล่งกาเนิดเสียงและความเขม้ เสียง 159

ข้นั 1ข.ยกาารยไคดย้วนิ าเมสียรงู้ 1.2 ความดงั ของเสียง ซาวนด์มเิ ตอร์ นกั วทิ ยาศาสตร์กาหนดระดบั ความดงั ของเสียงไวเ้ ป็ นมาตรฐาน ในหน่วยท่ีมีช่ือว่า เดซิเบล (dB) โดยการวดั ความดงั ของเสียงจะใช้ เคร่ืองมือที่มีชื่อว่า ซาวนด์มิเตอร์ (sound meter) 160

1.2 ความดงั ของเสียง เรื่องน่ารู้: อเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ เป็ นผู้ประดิษฐ์โทรศัพท์คนแรก โดยใชห้ ลกั การความดงั ของเสียงที่ หูมนุษยส์ ามารถรับรู้ได้ 161

ข้นั สรุป นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง เรามาตรวจสอบความเข้าใจกนั พลงั งานในการสนั่ ของแหล่งกาเนิดเสียงมีผลต่อ ความดงั ของเสียงลกั ษณะใด เม่ือแหล่งกาเนิดเสียงสน่ั ดว้ ยพลงั งานมากข้ึน เสียงท่ีเราไดย้ นิ กจ็ ะดงั มากข้ึน 162

กิจกรรมประจาหน่วย ทบทวนคาศัพท์และหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ เสียงดงั และเสียงค่อยแตกต่างกนั ในเร่ืองใด พลงั งานในการส่ันของแหล่งกาเนิดเสียงและระยะห่าง ระหวา่ งแหล่งกาเนิดเสียงถึงหูของผฟู้ ัง 163

ความดงั ของเสียง คือ ความรู้สึกไดย้ นิ ของคนเราวา่ ดงั มากหรือดงั นอ้ ย ข้ึนอยกู่ บั พลงั งานในการสนั่ ความเขม้ เสียง ระยะห่างจากแหล่งกาเนิดเสียง ของแหล่งกาเนิดเสียง ถึงหูของผฟู้ ัง 164

โรงเรียนวดั เทพชมุ นมุ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน เรื่อง ความดงั ของเสียง 2 ผู้สอน : ครพู ัชรี วรรตั นานุรักษ์ (ครไู ก่)

ข้นั กระตุ้นความสนใจ เสียงต่าง ๆ ท่ีนักเรียนได้ยินในชีวิตประจาวนั มีความดงั เท่ากนั หรือไม่ ยกตวั อยา่ งเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงท่ีมีเสียงดงั มา 2 เสียง ยกตวั อยา่ งเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงท่ีมเี สียงค่อย มา 2 เสียง 166

1.2 ความดงั ของเสียง เสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงต่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั มีระดบั ความดงั แตกต่างกนั กระซิบ สนทนา เคร่ืองลา้ งจาน เคร่ืองเจาะถนน 20 40–60 80 110 ระดบั ความดงั ของเสียง (เดซิเบล) 25 ไม่เป็นอนั ตราย 70 100 เป็นอนั ตราย 135 ใบไมไ้ หว เครื่องดูดฝ่นุ เคร่ืองตดั หญา้ เครื่องบิน 167

ข้นั สารวจและค้นหา 1.2 ความดงั ของเสียง เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงสน่ั แรงข้ึน เสียงที่เกิดจะดงั ข้ึนจริงหรือไม่ นกั เรียนสามารถเรียนรู้ไดจ้ าก การปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปน้ี 168

1.2 ความดงั ของเสียง กจิ กรรมท่ี 10 ทดลอง ความดงั ของเสียง ปัญหา ความแรงในการสนั่ ของเส้นเอน็ ไนลอนมีผลต่อความดงั ของเสียงหรือไม่ กาหนดสมมุตฐิ าน เม่ือเส้นเอ็นไนลอนส่ันแรงข้ึน เสียงที่เกิด น่าจะดงั ข้ึน ทกั ษะ 169 1. สงั เกต 2. ทดลอง 3. ต้งั สมมุติฐาน 4. ตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป

1.2 ความดงั ของเสียง อุปกรณ์ แผน่ ไมส้ าหรับทดลองเรื่องเสียง 1 ชุด 170

1.2 ความดงั ของเสียง ข้นั ตอน ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามข้นั ตอนต่อไปน้ี 1. ขึงเส้นเอน็ ไนลอนให้ตึง แลว้ ใชน้ ิ้วดีดคร้ังท่ี 1 ตรงกลางของเส้นเอน็ ไนลอน เบา ๆ พร้อมกบั สงั เกตความดงั ของเสียง แลว้ บนั ทึกผล 171

1.2 ความดงั ของเสียง 2. ดาเนินการเช่นเดียวกบั ขอ้ 1 แต่ดีดเส้นเอน็ ไนลอนคร้ังท่ี 2 และ 3 ตามลาดบั ในตาแหน่งเดียวกนั ให้แรงข้ึนในแต่ละคร้ัง สังเกตความดงั ของเสียง แลว้ บนั ทึกผล 172

1.2 ความดงั ของเสียง บนั ทกึ ผล ลกั ษณะการดีด ความดงั ของเสียงทเ่ี กดิ ขึน้ ดีดเบา ๆ เสียงคอ่ ย การดีด ดีดแรงข้ึน เสียงดงั ข้ึน คร้ังที่ 1 ดีดแรงที่สุด เสียงดงั ที่สุด คร้ังท่ี 2 คร้ังท่ี 3 173

ข้ันอธิบายความรู้ 1.2 ความดงั ของเสียง แปลความหมายข้อมูล ความดงั ของเสียงท่ีเกิดข้ึนจากการดีดเส้นเอน็ ไนลอน มีความแตกต่างกัน คือ เมื่อดีดเบา ๆ เส้นเอ็นไนลอน จะสั่นนอ้ ย เสียงที่เกิดจึงค่อย แต่เมื่อดีดเส้นเอน็ ไนลอน แรงข้ึน เส้นเอ็นไนลอนจะส่ันแรงมากข้ึน เสียงที่เกิด จึงดงั มากข้ึน 174

1.2 ความดงั ของเสียง สรุปผล การสน่ั ของวตั ถุที่เป็นแหล่งกาเนิดเสียงมีผลต่อ ความดงั ของเสียง ถา้ วตั ถุท่ีเป็ นแหล่งกาเนิดเสียง สั่นแรงข้ึนหรือสั่นดว้ ยพลงั งานมากข้ึน เสียงท่ีเกิด จะดงั มากข้ึน 175

ข้นั ขยายความรู้ 1.2 ความดงั ของเสียง ค้นหาคาตอบ 1. ความแรงในการดีดเสน้ เอน็ ไนลอนมีผลต่อความดงั ของเสียงหรือไม่ เพราะเหตุใด มีผล เพราะความดงั ของเสียงข้ึนอยกู่ บั ความแรงในการสนั่ ของแหล่งกาเนิดเสียง 2. นกั เรียนควรปฏิบตั ิอยา่ งไร จึงจะทาใหก้ ิจกรรมคร้ังน้ีมีความคลาดเคลื่อน นอ้ ยท่ีสุด แนวคาตอบ ควรดีดเสน้ เอน็ ท่ีตาแหน่งเดิมทุกคร้ัง 176

บูรณาการอาเซียน เคยมีใครไปชมการแสดงดนตรีในหอประชุม หรือดูภาพยนตร์ในโรงภาพยนตร์บา้ ง ศูนยว์ ฒั นธรรม โรงละครเอสพลานาด 177 แห่งประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์

ข้นั สรุป นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง เรามาตรวจสอบความเข้าใจกนั 1. ถา้ เสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงมีความเขม้ เสียงสูง เสียงท่ีเกิดข้ึนจะมีลกั ษณะใด มีเสียงดงั 2. ถา้ เสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงมีความเขม้ เสียงต่า เสียงท่ีเกิดข้ึนจะมีลกั ษณะใด มีเสียงคอ่ ย 178

ความดงั ของเสียง แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วง 0–85 เดซิเบล ช่วงมากกว่า 85 เดซิเบล ทไ่ี ม่เป็ นอนั ตรายต่อหู ทีเ่ ป็ นอนั ตรายต่อหู เช่น เช่น เสียงกระซิบ เสียงเคร่ืองตดั หญา้ เสียงสนทนา เสียงเครื่องบิน 179


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook