Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore FIRC 9 Annual Report

FIRC 9 Annual Report

Published by Poramate Yebnud, 2022-03-03 03:38:23

Description: FIRC 9 Annual Report

Search

Read the Text Version

รายงานประจำปี 2564 | 0

คำนำ ตามที่กรมประมงได้มีคำสั่งกรมประมงที่ 825/2563 ลงวันที่ 24 กันยายน 2563 เรื่อง การกำหนดโครงสร้างการแบ่งงานภายในและหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงาน ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2563 และคำสั่งกรมประมงที่ 829/2563 ลงวันที่ 24 กันยายน 2563 เรื่องแต่งตั้งข้าราการให้ดำรงตำแหน่งที่กำหนดใหม่ตาม กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2563 นั้น ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) เป็นหน่วยงานราชการที่เกิดขึ้นตามคำส่ัง ดังกล่าว มีหนว่ ยงานในสงั กัด ประกอบด้วยดา่ นตรวจประมง ดา่ นทำหนา้ ที่เปน็ ศนู ย์ควบคุมการแจ้งเรือ เข้า จำนวน 3 หน่วยงาน ตั้งอยู่มีพื้นที่จังหวัดกระบี่ ตรัง และสตูล ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ใน การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และป้องกันปราบปราม ให้บริการการออกใบอนุญาต หนังสืออนุญาต ใบรับรองหรือหนังสือรับรอง การควบคุมตรวจสอบเรือประมง สินค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิต ให้ เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งปฏิบัติงานในฐานะศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก ตาม กฎหมายวา่ ด้วยการประมง ทำหนา้ ที่เปน็ จดุ ให้บริการวชิ าการ ตลอดจนสนบั สนุนข้อมลู และสารสนเทศ ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ ในการตรวจสอบเรือประมงสินค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิต และให้คำปรึกษา แนะนำการใชร้ ะบบอิเลก็ ทรอนิกส์ของกรมประมง ตรวจสอบทา่ เทียบเรือ และเรือประมง ให้เปน็ ไปตาม มาตรฐานสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมงและเรือประมงในการจับ การดูแลรักษาสัตว์น้ำ การขนส่ง หรือการขนถ่ายสัตวน์ ้ำ และควบคุมตรวจสอบ การดำเนินการของเรือประมง ท่าเทียบเรือประมง และ แพปลาที่จดทะเบียนกับกรมประมงให้เป็นไปตามกฎหมาย ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมายสำหรับแผนและผลการดำเนินงานใน ปีงบประมาณ 2564 เจ้าหน้าที่ทุกท่านได้ทำงานด้วยความมุ่งมั่นทุ่มเทกำลังกายกำลังใจกำลัง ความสามารถ ร่วมมอื กันผลักดนั ผลการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด ในส่วนของรายงานประจำปี 2564 ของศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์เป็นการกำกับควบคุมติดตามและรวบรวมผลการปฏิบัติงานใน กิจกรรมหลักที่เป็นเนื้อหาสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาการทำการประมงผิดกฎหมาย และข้อมูลที่ได้จะ สามารถใช้ในการวางแผนทบทวนปรับเปลี่ยนเป้าหมายในปีงบประมาณต่อไป เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในการทำงาน จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชนต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้ที่ สนใจนำไปใช้ได้ตามสมควร คณะผู้จัดทำ 3 มีนาคม 2565 รายงานประจำปี 2564 | 1

สารบัญ หนา้ 1 บทนำ 3 1. ข้อมลู เบือ้ งต้น 3 4 1.1 ประวตั ิความเปน็ มา 1.2 ทีต่ ง้ั สำนักงาน / จุดปฎิบตั ิงาน และช่องทางการ 5 ติดตอ่ สอ่ื สาร 9 1.3 หน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ 10 1.4 โครงสร้างของหน่วยงาน 12 1.5 หน่วยงานในสังกดั 14 2. ข้อมูลบคุ ลากร 14 3. แผนผลการปฏิบตั ิงานประจำปี 18 3.1 แผนงาน : แผนงานยทุ ธศาสตร์การเกษตรสร้างมลู ค่า 3.2 แผนงาน : ยทุ ธศาสตรป์ ้องกนั และแก้ไขปญั หาทีม่ ผี ลกระทบ 21 ตอ่ ความม่ันคง 22 3.3 งบประมาณประจำปีงบประมาณ 2564 25 3.4 สถิตกิ ารแจง้ เรอื เข้าออก และปริมาณสัตว์น้ำขึ้นท่า 29 3.5 สถิตกิ ารนำเข้า-ส่งออก สินค้าสตั วน์ ้ำ 36 4. กิจกรรมทีส่ ำคัญ 36 5. ภาพกิจกรรมจากการปฏิบตั ิงานในแตล่ ะกิจกรรม 43 5.1 ภาพกิจกรรมแผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสร้างมลู ค่า 5.2 ภาพกิจกรรมยทุ ธศาสตรป์ ้องกันและแก้ไขปญั หาที่มี 48 ผลกระทบต่อความมั่นคง 6. ข้อมลู ในการตดิ ต่อ ที่อยู่ เบอรโ์ ทร อเี มลล์ รายงานประจำปี 2564 | 2

ข้อมลู เบ้อื งต้น ประวัติความเป็นมา ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) เดิมใช้ชื่อ ด่านตรวจสัตว์น้ำจังหวัด สตูล สังกัดกองควบคุมการค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิต จัดตั้งขึ้นตามคำสั่งกรมประมงที่ 364/2547 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2547 โดยใช้สถานีวิทยุประมงชายฝั่งจังหวัดสตูล (เดิม) เป็น สถานที่ทำการ ซึ่งสำนกั งานต้ังอยู่เลขที่ 495 หมูท่ ี่ 3 ตำบลตำมะลงั อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ต่อมาเมื่อ 23 กันยายน 2559 กรมประมงได้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการ บริหารงานภายในตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2559 ได้กำหนดให้ด่านตรวจสัตว์น้ำจังหวัดสตูล สังกัดศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจสัตว์น้ำ เขต 3 (สงขลา) กองควบคุมการค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิต และต่อเมื่อกรมประมงได้มีการปรับเปลี่ยน โครงสร้างการบริหารงานภายในอีกครั้ง ในคราวนี้ได้เปลี่ยนชื่อจาก “ด่านตรวจสัตว์น้ำจังหวัดสตูล” ยกระดับโดยการควบรวมกับหน่วยงานศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกสตูล และศูนย์ควบคุมการแจ้ง เรือเข้าออกปากบารา กองบริหารจัดการเรือประมงและการทำการประมง รวมเป็นหน่วยงานเดียวกนั และเปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) สังกัดกองตรวจสอบเรือประมง สินค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิต” ตามคำสั่งกรมประมงที่ 825/2563 ลงวันที่ 24 กันยายน 2563 เรื่อง การกำหนดโครงสร้างการแบ่งงานภายในและหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานตาม กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2563 และกำหนดให้ ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) รับผิดชอบครอบคลุมในเขตพื้นที่จังหวัดสตูล ซึ่ง ประกอบด้วยช่องทางด่านศุลกากรสตูล ช่องทางด่านศุลกากรวังประจัน และท่าเทียบเรือประมงสตูล และมีด่านตรวจประมงในสังกัดจำนวน 2 ด่าน ดังนี้ 1.) ด่านตรวจประมงกระบี่ และ 2.) ด่านตรวจ ประมงตรงั ศนู ย์บริหารจัดการดา่ นตรวจประมงเขต 9 (สตูล) ได้รบั มอบหมายจากกรมประมงให้มี หน้าที่ ศึกษาวิเคราะห์ ตรวจสอบการนำเข้า ส่งออก และนำผ่านสัตว์น้ำ ซากสัตว์น้ำ และผลิตภัณฑ์ รวมถึงปัจจัยการผลิต ที่ใช้ในการผลิตสัตว์น้ำ ให้เป็นไปตามพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 รวมทั้งกฎหมายอื่นที่เกีย่ วข้อง รายงานประจำปี 2564 | 3

ทต่ี ้งั สำนักงาน / จดุ ปฎิบัติงาน และชอ่ งทางการติดตอ่ สือ่ สาร ในพื้นที่รับผิดชอบของศูนยบ์ ริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) มีอาคารสำนักงานอยู่ 2 จดุ คือ พนื้ ที่ อำเภอละงู ทีต่ ง้ั 776 หมู่ 4 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จงั หวดั สตลู 91110 และพื้นที่ อำเภอเมืองสตูล ที่ตั้ง 495 หมู่ที่ 3 ตำบลตำมะลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000 โดยมีการแบ่ง โครงสร้างภายในออกเป็น 3 กลุ่มงาน คือ งานตรวจประมงสตูล งานควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกสตูล และงานควบคมุ การแจ้งเรือเข้าออกปากบารา ท้ังนีส้ ามารถติดตอ่ ดังน้ี 1. ศนู ยบ์ ริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) สถานทีต่ ั้ง 776 หมู่ 4 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จงั หวดั สตลู 91110 หมายเลขโทรศัพท์ 0 7474 0695 หมายเลขโทรสาร 0 7474 0695 ทีอ่ ย่จู ดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : [email protected] 2. สำนกั งานตรวจประมงสตูล สถานทีต่ ้ัง 495 หม่ทู ี่ 3 ตำบลตำมะลัง อำเภอเมอื ง จังหวัดสตลู 91000 หมายเลขโทรศัพท์ 0 7471 0620 ทีอ่ ยูจ่ ดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ : [email protected] 3. สำนักงานศูนย์ควบคุมการแจ้งเรอื เข้าออกสตูล สถานทีต่ ้ัง 495 หมทู่ ี่ 3 ตำบลตำมะลัง อำเภอเมอื ง จังหวดั สตลู 91000 หมายเลขโทรศัพท์ 0 7474 0221 ทีอ่ ยู่จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ : [email protected] 4. สำนักงานศนู ยค์ วบคุมการแจ้งเรอื เข้าออกปากบารา สถานทีต่ ั้ง 776 หมู่ 4 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวดั สตลู 91110 หมายเลขโทรศัพท์ 0 7474 0695 หมายเลขโทรสาร 0 7474 0695 ทีอ่ ยู่จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : [email protected] หน้าทีค่ วามรบั ผิดช- อศนู บยบ์ ริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 - สำนกั งานตรวจประมงสตลู -ศนู ย์ควบคุมการแจ้งเรือเขา้ ออกสตลู -ศนู ย์ควบคุมการแจง้ เรอื เข้าออกปากบารา รายงานประจำปี 2564 | 4

หน้าท่คี วามรับผิดชอบ บทบาท ภารกิจของหน่วยงาน ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมง เขต 9 (สตูล) กอง ตรวจสอบเรอื ประมง สินค้าสัตวน์ ้ำ และปัจจัยการผลิต กรมประมง ดังน้ี 1.) ควบคุม กำกับ ดูแล วางแผน ติดตามผล และจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน ของด่านตรวจประมงในสังกดั 2.) ปฏิบัติงานในฐานะ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกตามกฎหมายประมง และ คมู่ ือการปฏิบัติงานศูนย์ควบคมุ การแจ้งเรือเข้าออก PIPO Manual 3.) ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจัย และป้องกันปราบปราม ควบคมุ ตรวจสอบเรอื ประมง สินค้า สัตว์น้ำและปจั จัยการผลิตให้เปน็ ไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 4.) วิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมตรวจสอบเรือประมง สินค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิต กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเสี่ยงในพื้นที่ และบริหารจัดการความ เสี่ยงในพืน้ ที่ 5.) ทำหนา้ ทีเ่ ปน็ จดุ ใหบ้ ริการ วิชาการ ตลอดจนสนับสนุนข้อมลู และสารสนเทศต่าง ๆ ที่เป็นประโยชนใ์ นการตรวจสอบเรอื ประมง สินค้าสัตวน์ ้ำ และปจั จัยการผลิต และให้คำปรึกษา แนะนำการใชร้ ะบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมประมง 6.) ให้บริการ การออกใบอนุญาต หนังสืออนุญาต ใบรับรอง หรือหนังสือรับรอง เกี่ยวกับการควบคุมตรวจสอบเรือประมง สินค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิต ที่ใช้ทางการ ประมงตามกฎหมายวา่ ด้วยการประมงและกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง 7.) ตรวจสอบท่าเทียบเรือ และเรือประมง ให้เป็นไปตามมาตรฐานสุขอนามัยของท่า เทียบเรือประมง และเรือประมงในการจับ การดูแลสัตว์น้ำ การขนส่งหรือการขนถ่ายสัตว์ น้ำตามกฏหมายว่าด้วยการประมง 8.) ควบคมุ ตรวจสอบการดำเนินการของ เรอื ประมง ทา่ เทียบเรือประมง และแพปลา ที่จดทะเบียนกบั กรมประมงใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย 9.) ปฏิบัติการรว่ มหรอื สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ ได้รับมอบหมาย รบั ผิดชอบครอบคลุมในเขตพืน้ ที่ จงั หวดั สตลู ตรัง และกระบี่ ประกอบด้วยด่านตรวจประมง ดังน้ี 1. ดา่ นตรวจประมงตรัง 2. ด่านตรวจประมงกระบี่ รายงานประจำปี 2564 | 5

เรือประมงในความรับผิดชอบ เรือทีไ่ ด้รับใบอนญุ าตทำการประมงพาณิชยท์ ี่จงั หวดั สตูล รอบปีการประมง 2563 -2564 มี ท้ังสิน้ 342 ลำ แบ่งเปน็ ดงั นี้ 1. เรอื ที่มขี นาดต้ังแต่ 30 ตันกรอสขึ้นไป จำนวน 131 ลำ ดังน้ี 1.1 เรืออวนล้อมจบั จำนวน 38 ลำ 1.2 เรือประกอบเครือ่ งกำเนิดไฟฟ้า (ปน่ั ไฟ) จำนวน 35 ลำ 1.3 เรืออวนครอบปลากะตัก จำนวน 27 ลำ 1.4 เรอื อวนลากคู่ จำนวน 18 ลำ 1.5 เรอื อวนลากแผน่ ตะเฆ่ จำนวน 5 ลำ 1.6 เรืออวนครอบหมกึ จำนวน 5 ลำ 1.7 เรืออวนล้อมจับปลากะตัก จำนวน 3 ลำ 2. เรือที่มขี นาดต่ำว่า 30 ตนั กรอสที่ได้รับใบอนุญาตทำการประมง จำนวน 211 ลำ ดงั น้ี 2.1 เรือประกอบเครือ่ งกำเนิดไฟฟ้า (ปั่นไฟ) จำนวน 79 ลำ 2.2 เรือลอบหมึก จำนวน 63 ลำ 2.3 เรืออวนครอบปลากะตัก จำนวน 36 ลำ 2.4 เรืออวนลากแผ่นตะเฆ่ จำนวน 26 ลำ 2.5 เรอื อวนครอบหมึก จำนวน 6 ลำ 2.6 เรือคราดหอย จำนวน 1 ลำ 3. เรือขนถา่ ยสัตว์น้ำ (ขนถ่ายในนา่ นน้ำ) จำนวน 5 ลำ 4. เรอื ขนถ่ายสัตวน์ ้ำ (ขนถ่ายนอกน่านน้ำ หรอื ขนถา่ ยชายแดน) จำนวน 17 ลำ รายงานประจำปี 2564 | 6

ท่าเทียบเรือในจังหวดั สตลู ข้อมูลทา่ เทียบเรือที่จดทะเบียนเปน็ ท่าเทียบเรือประมงตอ่ กรมประมง ในเขตพืน้ ที่ รบั ผิดชอบของศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมง เขต 9 (สตูล) มีรายละเอียดปรากฏ ประเภทการจดทะเบียน จำนวนท่าเทียบเรือในพืน้ ทีร่ บั ผดิ ชอบ สตูล ปากบารา รวม 1.ท่าเทยี บเรอื ประมงพาณิชย์ 9 12 21 2.ท่าเทยี บเรอื ประมงสำหรับการนำเข้าสัตว์น้ำ - - - 3.ท่าเทยี บเรอื ประมงทบ่ี รกิ ารนำ้ หรอื น้ำแข็ง 1 - 1 4.ท่าเทยี บเรอื ประมงของโรงงานแปรรปู สตั วน์ ้ำ - - - 5.ท่าเทยี บเรอื ประมงพน้ื บา้ น 2 27 29 6.ท่าเทยี บเรอื ประมงทใ่ี ช้สำหรับจอดพัก 6 13 19 เรอื ประมง 7.ทา่ เทยี บเรอื ประมงท่มี ีการขนถ่ายสัตว์น้ำ -- - สำหรับการผลิตอาหารสัตว์ รวม 18 52 70 จากการรวบรวมข้อมูลหากจำแนกตามประเภทการจดทะเบียนท่าเทียบเรือพบว่า ท่าเทียบ เรือประมงพื้นบ้าน มีจำนวนมากที่สุด 29 ท่า คิดเป็นร้อยละ 41.43 รองลงมา ท่าเทียบเรือประมง พาณิชย์ มีจำนวน 21 ท่า คิดเป็นร้อยละ 30 ท่าเทียบเรือประมงที่ใช้สำหรับจอดพักเรือประมง มี จำนวน 19 ท่า คิดเป็นร้อยละ 27.14 และท่าเทียบเรือที่บริการน้ำหรือน้ำแข็ง มีจำนวนน้อยที่สุด อยา่ งละ 1 ทา่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.43 ทั้งนีส้ ามารถดาวน์โหลดฐานข้อมูลท่าเทียบเรือได้จาก QR code รายงานประจำปี 2564 | 7

จำนวนแรงงานประมงในจังหวดั สตลู แรงงานประมงในจังหวัดสตูล มีจำนวนทั้งหมด 2,381 คน แบ่งเป็นสัญชาติไทย 1,534 คน คิดเป็นร้อยละ 64.43 รองลงมาเป็นสัญชาติเมียร์มา 811 คน คิดเป็น 34.06 สัญชาติกัมพูชา 35 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.47 และสญั ชาติลาว เปน็ ลำดบั สดุ ท้าย จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.05 ตารางที่ 1 แสดงจำนวนแรงงานประมง ประเภทของแรงงานและ สญั ชาติของแรงงานประมง ประเภทแรงงาน ไทย พมา่ ลาว กมั พชู า รวม 1. แรงงานประเภท MOU -6 - 14 20 2. แรงงานประมงมติ ครม. (20 ส.ค. 62) - 413 1 16 430 3. แรงงานประมงมติ ครม. (4 ส.ค. 63) - 9 - - 9 4.แรงงานประมงมติ ครม. (10 พ.ย. 63) - 2 - - 2 5. แรงงานประมงมติ ครม. (29 ธ.ค. 63) - 6 - - 6 5. แรงงานประมงมติ ครม. (13 ก.ค. 64) - 341 - 5 346 7. แรงงานประมงมติ ครม. (28 ธ.ค. 64) - 34 - - 34 8. หนังสือคนประจำเรอื 1,534 - - - 1,537 รวม 1,534 811 1 35 2,381 ทีม่ า จากสำนักงานจดั หางานสตลู ช่องทางเข้า-ออก สนิ คา้ สัตวน์ ำ้ ผลติ ภณั ฑส์ ัตว์น้ำ และปจั จัยการผลติ ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) มีช่องทางการนำเข้า-ส่งออก จำนวน 2 ชอ่ งทาง ได้แก่ 1.1 ด่านศุลกากรสตูล ตำบลตำมะลัง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล มีเรือที่เข้าทางช่องทางนี้ 3 ประเภท ได้แก่ 1.) เรือขนถ่ายสัตว์น้ำธงไทย ที่นำเข้า-ส่งออกขนถ่ายสินค้าสัตว์น้ำ ณ ท่าเทียบเรือที่ รัฐเปอลิส ประเทศมาเลเซีย 2.) เรือธงต่างประเทศสัญชาติอินโดนีเซีย : PSM (นำเข้าแมงดาจาน หอย จุ๊บแจง เปลือกหอยตาวัว และส่งออกอาหารปลาสวยงาม) และ 3.) เรือธงต่างประเทศสัญชาติ มาเลเซีย : PSM (เข้ามาซอ่ มแซม) โดยมีการนำเข้า-ส่งออกสินค้า ในบริเวณพืน้ ที่หรอื ท่าเทียบ 1.2 ด่านศลุ กากรวงั ประจนั ตำบลวงั ประจนั อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ติดกบั ด่านชายแดน วังเกลียน (Wang Kelian) รัฐเปอรล์ ิส (Perlis) ประเทศมาเลเซีย ซึง่ เปน็ การผา่ นแดนทางรถยนต์ รายงานประจำปี 2564 | 8

โครงสรา้ งหนว่ ยงาน รายงานประจำปี 2564 | 9

หน่วยงานในสังกัด ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) รับผิดชอบครอบคลุมในเขตพื้นที่ จังหวัดสตูล ตรัง และกระบี่ ประกอบด้วยดา่ นตรวจประมง ดงั น้ี 1. ด่านตรวจประมงตรัง สถานทีต่ ้ัง 268/2 ถนนตรังคภูมิ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง 92110 หมายเลขโทรศัพท์ 0 7525 2004 หมายเลขโทรสาร 0 7525 2004 ที่อยจู่ ดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ : [email protected] รายงานประจำปี 2564 | 10

2. ด่านตรวจประมงกระบี่ สถานทีต่ ั้ง 188 หมทู่ ี่ 7 ตำบลไสไทย อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 หมายเลขโทรศัพท์ 0 7568 0495 หมายเลขโทรสาร 0 7568 0495 ทีอ่ ยจู่ ดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : [email protected] รายงานประจำปี 2564 | 11

ขอ้ มลู บุคลากร อัตรากำลัง เจ้าหนา้ ที่ในสังกัด ศูนยบ์ ริหารจดั การด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) รายละเอียด ดงั น้ี 1. ศูนย์บริหารจดั การด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) รวม 20 อตั รา ที่ ชือ่ - สกลุ ตำแหน่ง ประเภท หมายเหตุ 1 นายธีระพงษ์ อภยั ภักดี นกั วิชาการประมงชำนาญการ ข้าราชการ ผอู้ ำนวยการศนู ย์ฯ 2 นางสาวบัสรอ บเู ก็ม พิเศษ ข้าราชการ โทร. นักวิชาการประมงปฏิบตั ิการ 09 2626 9900 3 นายปรเมศร์ เหยบ็ หนดุ นกั วิชาการประมงปฏิบตั ิการ ข้าราชการ 4 นายพีรศกั ดิ์ พิทกั ษว์ าที นกั วิชาการประมงปฏิบตั ิการ ข้าราชการ 5 นายชาลี ยะมาเจรญิ นักวิชาการประมงปฏิบัติการ ข้าราชการ 6 นางสาวกฤติกา ศรสี ขุ นกั วิชาการประมงปฏิบัติการ ข้าราชการ 7 นายธนากร นาเคน เจ้าพนักงานประมงชำนาญงาน ข้าราชการ 8 นางนคณิชา สอาดแก้ว นักวิชาการประมง พนักงานราชการ 9 นายอาหลี แกสมาน นักวิชาการประมง พนักงานราชการ 10 นายอับดลุ รอเซะ เจะเลาะ นักวิชาการประมง พนักงานราชการ 11 นางสาวกมลชนก เสนสิงห์ นักวิชาการประมง พนกั งานราชการ 12 นางสาวศศมณฑ์ คชไกร นักวิชาการประมง พนักงานราชการ 13 นางสาวนจุ รี โอมณี นกั วิชาการประมง พนักงานราชการ 14 นายสมศักดิ์ จันทร์ชื่น เจ้าหน้าที่ประมง พนักงานราชการ มีพนกั งานจา้ งเหมาชวั่ คราวชว่ ยปฏิบตั ิงานตา่ งๆ อีกจำนวน 6 ตำแหนง่ รายงานประจำปี 2564 | 12

2. ดา่ นตรวจประมงตรัง รวม 9 อัตรา ที่ ชือ่ - สกลุ ตำแหน่ง ประเภท หมายเหตุ ข้าราชการ หวั หนา้ ด่าน โทร. 1 นายภาสกร นบนอบ นักวิชาการประมงชำนาญการ 08 6689 0932 ข้าราชการ 2 นายนุพงษ์ พัดลม นกั วิชาการประมงปฏิบัติการ 3 นายวุฒิชัย พิสทุ ธิเ์ ธียร นักวิชาการประมง พนักงานราชการ 4 นางฉตั รวิรฬุ ห์ ติณโสภารัตน์ นกั วิชาการประมง พนักงานราชการ 5 นางสาวอาภาวดี ชูปนั เจ้าพนักงานการเงนิ และบัญชี พนกั งานราชการ 6 นายศราวุธ จ่วิ ตัน่ เจ้าหน้าที่ส่อื สาร พนักงานราชการ มีพนักงานจ้างเหมาชัว่ คราวชว่ ยปฏิบตั ิงานตา่ งๆ อีกจำนวน 3 ตำแหน่ง 3. ด่านตรวจประมงกระบี่ รวม 8 อตั รา ที่ ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง ประเภท หมายเหตุ ข้าราชการ หวั หนา้ ด่าน โทร. 1 นางศิริพร ชยั จักร นักวิชาการประมงชำนาญการ ข้าราชการ 08 8790 2 นางณฐั ธยาน์ คงขึม นักวิชาการประมงปฏิบัติการ 7405 ข้าราชการ 3 นางสาวดวงฤดี คุ้นเคย นักวิชาการประมงปฏิบตั ิการ 4 นางสาวอจั ฉรา คงสุข นกั วิชาการประมง พนักงานราชการ 5 นายธีระวฒุ ิ พรหมทอง นักวิชาการประมง พนกั งานราชการ มีพนักงานจ้างเหมาชว่ั คราวช่วยปฏิบัติงานตา่ งๆ อีกจำนวน 3 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ในสังกัดของ ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) ทุกประเภทรวมกัน ทั้งสิ้น 37 อัตรา แยกเป็นพนักงานราชการซึ่งมีจำนวนมากที่สุด 13 อัตรา รองลงมาเป็นข้าราชการ 12 อัตรา และพนักงานจ้างเหมาบริการ 12 อัตรา โดย ศบป.เขต 9 มีจำนวนเจ้าหน้าที่มากที่สุด จำนวน 20 อัตรา รองลงมาด่านตรวจประมงตรัง มีจำนวน 9 อัตรา และด่านตรวจประมงกระบี่ มี จำนวนเจ้าหนา้ ที่นอ้ ยที่สุด คือ 8 อัตรา รายงานประจำปี 2564 | 13

แผน-ผลการปฏบิ ตั ิงานประจำปี แผนงาน : แผนงานยุทธศาสตรก์ ารเกษตรสร้างมลู คา่ โครงการ : โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรม : กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพสินค้าประมงสูม่ าตรฐาน วตั ถปุ ระสงค์ : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดั การสินคา้ ประมงตลอดสายการผลิตให้มีคุณภาพ มาตรฐานตามความตอ้ งการของตลาด และพัฒนาศักยภาพกระบวนการแปรรปู สินค้าประมงเพื่อเพิ่ม มลู คา่ รวมทั้งเฝ้าระวัง ป้องกนั ควบคมุ โรคและเชือ้ ดือ้ ยา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม แผนการ ผลการ หนว่ ยนับ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน รอ้ ยละ รวมทุกกิจกรรม ครั้ง 10,346 11,403 110.21 แผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสร้างมูลค่า โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมพัฒนาคุณภาพสินค้าประมงสมู่ าตรฐาน คร้ัง 9,536 9,775 102.51 1. ตรวจวิเคราะห์ปจั จยั การผลิตจากแหล่งเพาะเลี้ยง ตัวอยา่ ง - -- 1.1 สุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะหว์ ัตถุอันตรายและ ตวั อย่าง - -- ปัจจัยการผลิต ณ โรงงาน / สถานประกอบการ 1.2 สมุ่ ตัวอย่างเพื่อตรวจวเิ คราะห์วัตถอุ ันตรายและ ตวั อยา่ ง - -- ปจั จยั การผลิต ณ ร้านค้าปัจจัยการผลิต 2. ตรวจวิเคราะห์คุณภาพวัตถุดิบ ผลิตภณั ฑ์ และแหลง่ ตวั อย่าง 735 1189 161.77 ประมง 2.1 สุ่มตัวอยา่ งสตั วน์ ำ้ นำเข้า ตวั อย่าง 735 1189 161.77 - ตรวจสอบกายภาพสตั วน์ ้ำเบื้องตน้ ตวั อย่าง 660 1142 173.03 - ตรวจวิเคราะห์ เฝ้าระวงั สารตกค้าง ตวั อยา่ ง 75 47 62.67 3. เฝา้ ระวังการปอ้ งกันการลักลอบการนำเข้าและ ครั้ง 1,330 1,884 141.65 ส่งออก 3.1 การตรวจในพื้นท่ีปฏิบัติงาน คร้ัง 1,200 1,537 128.08 3.2 การตรวจนอกพื้นท่ปี ฏิบตั ิงาน ครั้ง 130 347 266.92 4. ควบคุมและตรวจสอบผู้ผลิตและผ้นู ำเขา้ คร้ัง/แห่ง 1,566 1,320 84.29 รายงานประจำปี 2564 | 14

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม หน่วยนบั แผนการ ผลการ รอ้ ยละ ครั้ง/แห่ง ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน 162.50 4.1 ตรวจสอบปัจจยั การผลิต 4.1.1 การตรวจสอบวตั ถุอนั ตรายและปจั จัย แหง่ 16 26 - -- การผลิต ภายในประเทศ แหง่ - - การตรวจสอบ ณ โรงงาน / สถาน -- แหง่ - ประกอบการ -- - การตรวจสอบ ณ ร้านค้าปจั จัยการ คร้ัง - -- ผลิต คร้ัง - 4.1.2 การตรวจสอบวัตถอุ ันตรายและปจั จัย คร้ัง -- - ครั้ง -- - การผลิต นำเข้า -- - การตรวจสอบวตั ถุอนั ตราย คร้ัง - - การตรวจสอบอาหารสัตว์ คร้ัง -- - แหง่ -- 162.50 4.1.3 การตรวจสอบวัตถอุ ันตรายและปัจจัย การผลิต ส่งออก ครั้ง 16 26 77.28 - การตรวจสอบวัตถอุ ันตราย คร้ัง 1,250 966 109.33 - การตรวจสอบอาหารสัตว์ 4.1.4 การสร้างการรบั รู้ และประชาสมั พันธ์ ฉบับ 300 328 77.86 รา้ นค้าปัจจัยการผลิต 4.2 ตรวจสอบสัตว์นำ้ ซากสตั วน์ ำ้ และผลิตภณั ฑ์ ฉบบั 5,600 4,360 77.80 นำเข้า ฉบบั 76.54 4.3 ตรวจสอบสัตวน์ ้ำ ซากสตั ว์น้ำและผลิตภัณฑ์ 5,600 4,357 สง่ ออก ฉบับ 5,600 4,286 82.00 5. ออกหนงั สือรบั รอง/ ใบรับรอง/ หนังสืออนญุ าต/ ใบอนุญาต 1,550 1,271 5.1 การออกใบอนญุ าต/ ใบรับรอง สตั ว์น้ำ 5.1.1 การออกใบอนญุ าตและใบรับรองสัตวน์ ำ้ ผา่ นระบบ Fisheries Single Window - การออกใบอนญุ าตตาม พ.ร.ก. การ ประมง พ.ศ. 2558 รายงานประจำปี 2564 | 15

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม หนว่ ยนบั แผนการ ผลการ ร้อยละ ฉบับ ปฏิบตั ิงาน ปฏิบัติงาน 75.84 - ใบอนุญาตใหน้ ำเข้าสัตว์น้ำหรอื ผลิตภณั ฑส์ ตั ว์นำ้ (DOF2) ฉบบั 1,250 948 107.67 - ใบแจ้งดำเนินการส่งออกสัตว์น้ำ ฉบบั 300 323 - หรอื ผลิตภณั ฑ์สตั ว์น้ำ (DOF4) ฉบับ -- - - ใบแจง้ ดำเนินการนำผ่านสตั วน์ ้ำ หรอื ผลิตภัณฑส์ ัตวน์ ้ำ (DOF6) ฉบบั -- 73.64 - ใบอนุมตั ินำสตั ว์น้ำหรอื ผลิตภณั ฑ์ ฉบบั 2,800 2,062 69.68 สัตว์น้ำผา่ นราชอาณาจกั ร (DOF7) ฉบับ - ฉบับ 1250 871 - การออกใบอนญุ าตตาม พ.ร.บ. โรค ฉบบั - - 69.44 ระบาดสตั ว์ พ.ศ. 2558 ฉบบั - ฉบบั 1250 868 - ร. 6 (นำเขา้ ) - - 107.67 - ร. 6 (นำผา่ น) ฉบบั 76.24 - ร. 7 300 323 - ร. 8 ฉบับ 1250 953 100 - ร. 9 - การออกหนังสือกำกบั การจำหน่าย ฉบับ 0 71 100 สัตวน์ ำ้ นำเข้า (IMD) 5.1.2 การออกใบอนุญาตและใบรับรองสัตวน์ ำ้ ฉบบั 0 28 100 ด้วยระบบเอกสาร (Manual) - การออกใบอนุญาตตาม พ.ร.ก. การ ฉบับ 0 19 100 ประมง พ.ศ. 2558 - ใบอนุญาตใหน้ ำเข้าสัตว์นำ้ หรอื 09 - ผลิตภัณฑส์ ตั ว์น้ำ (DOF2) - ใบแจง้ ดำเนินการส่งออกสตั ว์น้ำ -- หรอื ผลิตภณั ฑ์สตั วน์ ้ำ (DOF4) - ใบแจง้ ดำเนินการนำผ่านสัตวน์ ้ำ หรอื ผลิตภณั ฑส์ ัตวน์ ้ำ (DOF6) รายงานประจำปี 2564 | 16

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม แผนการ ผลการ หน่วยนบั ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน รอ้ ยละ - ใบอนมุ ตั ินำสัตว์น้ำหรอื ผลิตภณั ฑ์ ฉบบั - -- สตั วน์ ำ้ ผา่ นราชอาณาจกั ร (DOF7) - การออกใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. โรค ฉบบั 0 43 100 ระบาดสตั ว์ พ.ศ. 2558 - ร. 6 (นำเข้า) ฉบบั 0 17 100 - ร. 6 (นำผ่าน) ฉบับ - - - - ร. 7 ฉบับ 0 17 100 - ร. 8 ฉบับ - - - - ร. 9 ฉบบั 0 9 100 - การออกหนังสือกำกับการจำหน่าย ฉบับ - -- สตั ว์น้ำนำเข้า (IMD) 5.2 การออกใบอนุญาต/ ใบรับรอง ปจั จยั การผลิต ฉบบั 0 3 100 5.2.1 การออกใบสำคัญการขึน้ ทะเบียนวัตถุ ฉบบั - -- อันตราย 5.2.2 การออกใบอนญุ าตนำเขา้ ผลิต ส่งออก ฉบับ - -- วัตถอุ นั ตราย 5.2.3 การออกใบแจ้งดำเนินการเกี่ยวกบั วตั ถุ ฉบบั - -- อันตรายชนิดท่ี 2 5.2.4 การออกใบขอ้ เท็จจริงการนำเข้า ส่งออก ฉบบั - -- วัตถอุ ันตราย 5.2.5 หนังสือรับรองการตรวจสอบอาหารสัตว์ ฉบับ 0 3 100 สง่ ออกไปนอกราชอาณาจักร (สอ. 2) 6. การตรวจสอบสินค้าสัตว์น้ำหรอื ผลิตภณั ฑ์สัตว์น้ำ คร้ัง - -- สง่ คนื (สินคา้ ตีกลบั ) 7. การประชาสัมพันธ์ คร้ัง 120 410 341.67 7.1 การแจกเอกสาร สิง่ พิมพ์ คร้ัง 60 184 306.67 7.2 การให้คำแนะนำ คร้ัง 60 226 376.67 รายงานประจำปี 2564 | 17

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม หนว่ ยนับ แผนการ ผลการ รอ้ ยละ ฉบับ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน - 8. การตรวจรบั รองก้งุ มีชีวิตสง่ ออกสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ฉบบั -- - - การออกใบรบั รองสขุ อนามัยสตั วน์ ้ำมีชวี ิตเพื่อการ ครั้ง/ -- 330.81 บริโภคส่งออกสาธารณรัฐประชาชนจีน ตวั อย่าง 9. ควบคุมและเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัย 185 612 - สินค้าสัตว์น้ำนำเขา้ คร้ัง - ครั้ง -- 9.1 ตรวจสอบสตั ว์นำ้ นำเข้าทต่ี อ้ งอายดั กกั กนั -- 80.00 9.2 ตรวจติดตามเฝา้ ระวังป้องกันโรคสัตว์น้ำ ณ ตวั อย่าง 700.00 สถานกกั กนั คร้ัง 35 28 9.3 สุ่มตวั อยา่ งสัตวน์ ้ำนำเข้าเพื่อตรวจวเิ คราะหโ์ รค 50 350 234.00 9.4 เฝ้าระวงั ปอ้ งกันการลักลอบนำเข้าสัตว์น้ำท่ีมี ครั้ง ความเสีย่ งต่อการเกิดโรคระบาด 100 234 9.5 ประชาสัมพันธ์ การป้องกนั โรคจากสตั ว์นำ้ นำเข้า แผนงาน : ยุทธศาสตรป์ ้องกันและแก้ไขปัญหาท่มี ีผลกระทบตอ่ ความม่นั คง โครงการ : โครงการป้องกันและแก้ไขปญั หาการทำประมงผดิ กฎหมาย กิจกรรม : ป้องกนั และแก้ไขปญั หาการทำประมงผิดกฎหมาย วัตถุประสงค์ : เพื่อให้สินค้าประมงของประเทศไทยที่มาจากการทำการประมงในน่านน้ำ และนอก น่านน้ำ ตลอดจนสินค้าประมงที่นำเข้ามาเพื่อผลิต แปรรูป และส่งออกไปต่างประเทศ ปลอดจากการ ทำการประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม รวมทั้งสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศ ในการป้องกนั ยับยั้ง และขจัดการทำการประมงผดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคมุ (IUU) รายงานประจำปี 2564 | 18

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม หน่วย แผนการ ผลการ รอ้ ยละ นบั ปฏิบตั ิงาน ปฏิบัติงาน แผนงานยุทธศาสตร์ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาท่มี ี ผลกระทบต่อความมั่นคง โครงการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการทำประมงผิด กฎหมาย กิจกรรมปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาการทำประมงผิด คร้ัง 12,119 15,411 127.16 กฎหมาย 1. ตรวจติดตามและเฝา้ ระวังการทำประมงให้ คร้ัง เปน็ ไปตามกฎหมาย 11,309 13,783 121.88 1.1 ตรวจสอบเรอื ประมงไทยทีแ่ จ้งเข้าออก ณ คร้ัง 4,296 4,624 107.64 ท่าเทยี บเรอื ประมง 1.2 ตรวจสอบการจัดทำสมดุ บนั ทกึ การทำ การประมง และทวนสอบพิกดั การทำการประมง คร้ัง 2,136 3,665 171.58 ในสมุดบันทกึ การประมงเทยี บกับข้อมลู ระบบ ติดตามเรอื (VMS) 1.3 ควบคุมและตรวจสอบกระบวนการข้ึน สัตว์นำ้ ของเรอื ประมงท่แี จง้ เข้า ณ ท่าเทยี บ คร้ัง 662 726 109.67 เรอื ประมงและความถูกต้องของสัตวน์ ำ้ ขึ้นท่า 1.4 ตรวจสอบรับรองความถกู ต้องของ ปริมาณ และชนิดสัตว์น้ำท่ขี นถ่ายผ่านท่าเทยี บ ครั้ง 3,935 4,365 110.93 เรอื ประมง 1.5 ตรวจประเมินการจดั ทำรายงานของท่า เทยี บเรอื ประมง/แพปลา ทข่ี ึน้ ทะเบียนกบั กรม คร้ัง 240 258 107.5 ประมง 1.6 ควบคุม กำกบั ตรวจสอบเรอื ประมงท่ี ไดร้ บั ใบอนุญาตทำการประมงพาณชิ ย์ทีไ่ มอ่ อก ครั้ง 40 145 362.5 ทำการประมงหรอื แจ้งของดใชเ้ รอื กับกรมเจา้ ท่า 2. การตรวจสอบ ติดตาม และเฝ้าระวงั การทำ ครง้ั ประมงของเรือประมง และเรอื ขนถา่ ยสตั ว์น้ำไทย -- รายงานประจำปี 2564 | 19

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม หนว่ ย แผนการ ผลการ รอ้ ยละ นบั ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน นอกนา่ นน้ำ รวมท้ังเรอื สนบั สนุนเพือ่ การประมง ใหเ้ ปน็ ไปตาม กฎหมาย 2.1 การตรวจสอบเรือประมงนอกนา่ นน้ำและ คร้ัง - - เรอื ขนถ่ายสัตวน์ ำ้ นอกนา่ นน้ำท่แี จ้งเข้าออกท่า 2.2 การตรวจสอบสัตวน์ ำ้ หน้าท่าเทยี บเรอื ประมงจากเรอื ประมงนอกน่านน้ำและเรอื ขนถา่ ย ครั้ง - - สัตว์นำ้ นอกน่านน้ำท่ีแจ้งเขา้ และมีการขนถา่ ย สตั ว์นำ้ 3. ตรวจสอบการนำเข้าสินค้าสัตวน์ ้ำจาก ครั้ง 810 1,628 200.98 เรอื ประมงต่างประเทศ 3.1 การตรวจสอบเอกสารกอ่ นเรอื เข้าเทยี บ คร้ัง 20 22 110 ทา่ (เรอื ประมงต่างประเทศ) 3.2 การตรวจสอบเอกสาร ณ ท่าเทยี บเรอื คร้ัง 20 14 70 - เรอื ขนถา่ ยสตั ว์น้ำ / เรอื ประมง ครั้ง 20 14 70 - เรอื บรรทุกสินค้าตคู้ อนเทนเนอร์ คร้ัง -- ครั้ง 20 14 70 3.3 การตรวจสอบเรือจบั สตั วน์ ำ้ / เรอื ขนถา่ ย ครั้ง 20 14 70 สัตวน์ ้ำ ตา่ งประเทศ ครั้ง 730 1,564 214.24 3.4 การตรวจสอบสัตวน์ ้ำที่มาจากเรอื ประมง ต่างประเทศ 3.5 การตรวจป้องกันการลกั ลอบการนำเข้า สง่ ออก สินคา้ ประมง ณ ทา่ เทยี บเรอื รายงานประจำปี 2564 | 20

งบประมาณประจำปงี บประมาณ 2564 1. งบดำเนนิ งาน โดยงบประมาณที่ได้รับการจดั สรร 4,037,275.00 บาท งบประมาณทใี่ ชจ้ า่ ย 4,026,260.10 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 99.72 มีรายละเอียดตามกจิ กรรม ดงั น้ี งบประมาณท่ี งบประมาณทใ่ี ช้ ที่ รายการ ไดร้ ับ (บาท) ทง้ั สิ้น(บาท) รอ้ ยละ 1 พัฒนาคุณภาพสินค้าประมงสู่มาตรฐาน 353,000.00 353,000.00 100.00 2 ป้องกนั และแก้ไขปญั หาการทำการ 1,743,800.00 1,743,800.00 100.00 ประมงผดิ กฎหมาย 1,914,475.00 1,914,473.74 99.99 3 บุคลากรภาครัฐด้านประมง 4 พัฒนาระบบการให้บริการเชือ่ มโยงทาง 15,000.00 14,986.36 99.91 อิเลก็ ทรอนิกส์ 4,037,275.00 4,026,260.10 99.72 รวม 2 งบสาธารณูปโภค โดยงบประมาณที่ได้รบั การจัดสรร 271,000.00 งบประมาณทีใ่ ชจ้ า่ ย 270,169.16 บาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.69 มีรายละเอียดตามกิจกรรม ดังนี้ ที่ รายการ งบประมาณท่ี งบประมาณทใ่ี ช้ รอ้ ยละ 1 เพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำ ไดร้ ับ (บาท) ทั้งสิน้ (บาท) 99.69 รวม 271,000.00 270,169.16 271,000.00 270,169.16 99.69 รายงานประจำปี 2564 | 21

สถิติการแจ้งเรือเขา้ ออก ปี พ.ศ. 2564 ปริมาณการแจ้งเข้าออกเรือประมงไทยกบั ศูนยบ์ ริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) มี จำนวนเรือแจง้ เข้าออก จำนวน 21,488 เที่ยว แบ่งเป็นเรือแจ้งออก จำนวน 10,989 เทีย่ ว และเรือ แจ้งเข้าจำนวน 10,499 เที่ยว ซึ่งการปฏิบัติงานมีการตรวจเรือประมงหน้าท่าเทียบเรือจำนวน 4,473 เที่ยวคิดเป็นร้อยละ 20.82 โดยตรวจเรือแจ้งเข้า จำนวน 2,612 เที่ยว คิดเป็นร้อยละ 24.88 และ ตรวจเรอื แจง้ ออก จำนวน 1,861 เที่ยว คิดเป็นรอ้ ยละ 16.94 แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงปริมาณเรอื ไทยทีแ่ จ้งเขา้ ออกกบั ศนู ยบ์ ริหารจดั การดา่ นตรวจประมง (เที่ยว) ปริมาณเรือไทยที่แจ้งเข้าออก ปี พ.ศ.2564 1,600 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 - มกราคม กุมภาพนั ธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม สงิ หาคม กนั ยายน ตุลาคม พฤษจิกายน ธนั วาคม ปากบารา แจ้งออก ปากบารา แจ้งเขา้ สตลู แจ้งออก สตูล แจ้งเขา้ ศบป.เขต 9 แจ้งออก ศบป.เขต 9 แจ้งเขา้ แผนภูมทิ ี่ 2 แสดงปริมาณการตรวจเรือประมงหนา้ ท่าเทียบเรือ (เทีย่ ว) ปริมาณการตรวจเรอื ประมงไทย 350 300 250 200 150 100 50 - มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน ตลุ าคม พฤษจิกายน ธันวาคม ปากบารา แจ้งออก ปากบารา แจ้งเขา้ สตูล แจ้งออก สตลู แจ้งเขา้ ศบป.เขต 9 แจ้งออก ศบป.เขต 9 แจ้งเขา้ รายงานประจำปี 2564 | 22

ตารางที่ 1 แสดงปริมาณการแจ้งเข้าออกเรือประมงไทย (เที่ยว) เดือน ศจร.ปากบารา ศจร.สตลู ศบป.เขต 9 มกราคม แจ้งออก แจ้งเขา้ แจง้ ออก แจง้ เขา้ แจง้ ออก แจง้ เขา้ 791 747 149 134 940 881 กุมภาพนั ธ์ 931 969 102 114 1,033 1,083 มนี าคม 1,323 1,295 127 124 1,450 1,419 เมษายน 937 909 155 127 1,092 1,036 พฤษภาคม 830 862 125 127 955 989 มถิ นุ ายน 708 711 106 111 814 822 กรกฎาคม 588 618 110 106 698 724 สิงหาคม 653 519 117 124 770 643 กนั ยายน 554 479 114 113 668 592 ตุลาคม 511 454 107 108 618 562 พฤศจิกายน 743 618 100 97 843 715 ธันวาคม 1,006 928 102 105 1,108 1,033 รวมท้งั ปี 9,575 9,109 1,414 1,390 10,989 10,499 ตารางที่ 2 แสดงปริมาณการตรวจเรือประมงหนา้ ทา่ เทียบเรือ (เทีย่ ว) เดือน ปากบารา สตูล ศบป.เขต 9 มกราคม แจ้งออก แจง้ เขา้ แจ้งออก แจง้ เข้า แจ้งออก แจง้ เข้า 109 178 36 62 145 240 128 243 กมุ ภาพันธ์ 108 174 20 69 174 280 183 306 มนี าคม 149 210 25 70 167 307 154 214 เมษายน 152 234 31 72 119 188 199 246 พฤษภาคม 140 241 27 66 120 141 128 108 มถิ นุ ายน 126 151 28 63 กรกฎาคม 89 144 30 44 สิงหาคม 152 207 47 39 กนั ยายน 94 94 26 47 ตลุ าคม 88 75 40 33 รายงานประจำปี 2564 | 23

เดือน ปากบารา สตูล ศบป.เขต 9 แจ้งออก แจ้งเข้า แจง้ ออก แจ้งเขา้ แจ้งออก แจง้ เขา้ พฤศจิกายน ธนั วาคม 132 109 35 31 167 140 รวมทงั้ ปี 146 155 31 44 177 199 1,485 1,972 376 640 1,861 2,612 สถิติปริมาณสัตว์นำ้ ขึ้นทา่ ปี พ.ศ. 2564 ปริมาณสัตวน้ำที่ขึ้นท่าเทียบเรือในพื้นที่จังหวัดสตูล มีปริมาณ 41,935 ตัน แบ่งเป็นพื้นที่ ศจร.ปากบารา ขึน้ ท่าเทียบเรือประมงในพืน้ ที่ อำเภอละงู จำนวน 29,366 ตนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 70.03 และพื้นที่ ศจร.สตูล ขึ้นท่าเทียบเรือประมงในพื้นที่ อำเภอเมือง จำนวน 12,596 ตัน คิดเป็นร้อยละ 30.07 ซึ่งจากข้อมูลการนำสัตว์น้ำขึ้นท่าในพื้นที่จังหวัดสตูล พบประมาณสัตว์น้ำขึ้นท่ามากที่สุดใน เดือน มีนาคม 2564 จำนวน 6,157 ตนั คิดเป็นรอ้ ยละ 14.68 และปริมาณสัตว์น้ำขึ้นท่าน้อยที่สุด ในเดือน ตลุ าคม 2564 จำนวน 2,095 ตัน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.96 แผนภูมทิ ี่ 3 แสดงปริมาณสัตว์นำ้ ทีข่ ึน้ ทา่ เทียบเรือในจงั หวดั สตลู (หนว่ ย ตนั ) ปริมาณสัตวน์ า้ ท่ขี นึ้ ท่าเทียบเรือในจังหวดั สตลู 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 - มกราคม กมุ ภาพนั ธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม สงิ หาคม กนั ยายน ตลุ าคม พฤศจกิ ายน ธนั วาคม ศจ.ปากบารา ศจร.สตูล ปริมาณรวมท้ังจงั หวัด ตารางที่ 3 แสดงปริมาณสัตวน์ ำ้ ข้นึ ทา่ เทียบเรือ (หนว่ ย : ตนั ) เดือน ศจร.ปากบารา ศจร.สตลู ปริมาณรวมท้งั จงั หวดั มกราคม 2,339 1,367 3,706 3,822 กมุ ภาพันธ์ 2,747 1,075 6,147 มนี าคม 5,097 1,050 รายงานประจำปี 2564 | 24

เดือน ศจร.ปากบารา ศจร.สตูล ปริมาณรวมทัง้ จงั หวดั เมษายน 2,407 1,190 3,597 พฤษภาคม 3,552 1,164 4,716 มถิ ุนายน 2,917 985 3,902 กรกฎาคม 2,044 891 2,935 สิงหาคม 1,416 1,102 2,518 กนั ยายน 1,372 1,392 2,764 ตลุ าคม 1,213 882 2,095 พฤศจิกายน 1,838 791 2,629 ธนั วาคม 2,424 680 3,104 41,935 รวม 29,366 12,569 สถิติชนิด ปริมาณ และมูลค่าการนำเข้าสัตว์น้ำ ปี พ.ศ. 2564 สินค้าสัตวน์ ้ำและผลติ ภณั ฑ์สตั ว์น้ำนำเข้า ในปี พ.ศ. 2564 1 จำนวนสัตวน์ ้ำ 32 ชนิด จำนวนที่เข้า 839 เทีย่ ว 2 ใบอนุญาตใหน้ ำเข้าสัตว์น้ำหรอื ผลติ ภณั ฑ์สตั ว์น้ำ (DOF 2) จำนวน 839 ใบ และใบ แจ้งอนุมตั นิ ำสัตวห์ รอื ซากสตั วเ์ ข้าและผา่ นราชอาณาจกั ร (ร.6) จำนวน 746 ใบ 3 ปริมาณ 6,464.98 ตัน มลู คา่ สินค้า 263.72 ล้านบาท แผนภูมทิ ี่ 4 แสดงปริมาณชนดิ สตั วน์ ้ำ ปรมิ าณ และมูลคา่ การนำเขา้ ปริมาณ(ตนั ) ปริมาณ(ตนั ) มูลค่า (ล้านบาท) มลู คา่ (ล้านบาท) 3,500 3,287.45 250 3,000 203.94 200 2,500 2,000 1,532.50 150 1,500 100 1,000 50 0 500 21.50 323.33 270.15 206.50 0 12.19 2.10 0.91 ปลากะพงขาว ปลาทสู ั้น แมงดาจาน ปลาหางแขง็ เคย รายงานประจำปี 2564 | 25

ตารางที่ 4 แสดงปริมาณชนดิ สัตวน์ ้ำ ปรมิ าณ และมลู คา่ การนำเข้า ลำดบั ที่ ชนิดสัตวน์ ำ้ ปริมาณ (กโิ ลกรมั ) มูลคา่ (บาท) 1 ปลากะพงขาว 3,287,450.00 203,940,840.96 2 ปลาทูสั้น 1,572,500.00 21,501,113.68 3 แมงดาจาน 323,333.00 12,199,181.06 4 ปลาหางแขง็ 270,150.00 5 เคย 206,500.00 2,101,812.01 6 หอยลาย 166,130.00 912,023.76 7 ปลาจะละเมด็ 8 หอยพมิ 108,600.00 2,619,878.12 9 ปลารวิ กิว 103,660.00 7,586,221.99 10 ปลากะพงแดง 93,350.00 787,188.55 11 ปลากะตัก 82,050.00 1,511,047.09 12 ปมู า้ 68,600.00 5,123,328.46 13 ปลาหลังเขียว 30,770.00 14 ปลาหมึกกระดอง 24,700.00 252,580.39 15 ปลาสีเสียด 19,100.00 1,192,463.24 16 ปลากะมงพร้าว 16,150.00 17 หอยแครง 12,800.00 99,712.21 18 เปลอื กหอยตาวัว 12,535.00 1,155,237.56 19 ปลาปากคม 11,426.00 20 ปลาทแู ขก 8,720.00 218,374.60 21 ปลาดาบเงิน 8,200.00 760,196.49 22 ปลากระเบน 6,960.00 471,764.02 23 ปลากระโทงร่ม 5,050.00 358,515.49 24 ปลาหมึกกล้วย 4,000.00 25 ปลาเม็ดขนนุ 4,000.00 53,093.16 26 ปูทะเล 3,440.00 63,275.27 27 หอยสังข์จุกพราหมณ์ 3,125.00 21,449.04 28 ปลาจวด 2,990.00 95,291.35 29 ปลากดทะเล 2,500.00 31,110.88 30 ปลาโอลาย 2,450.00 325,472.00 31 ปลากระเบน (Gymnura poecilura) 1,500.00 18,574.86 32 ปลาอโี ตม้ อญ 1,250.00 117,656.23 700.00 85,846.86 20,497.35 39,021.69 22,839.00 28,221.00 11,391.52 รายงานประจำปี 2564 | 26

ลำดับที่ ชนิดสัตวน์ ำ้ ปริมาณ (กโิ ลกรัม) มูลค่า (บาท) 33 หอยจ๊บุ แจง 300.00 2,441.04 ผลรวมท้ังหมด 6,464,989.00 263,727,660.93 สถิติชนิด ปริมาณ และมูลคา่ การสง่ ออกสตั วน์ ำ้ ปี พ.ศ. 2564 สนิ ค้าสตั ว์นำ้ และผลิตภณั ฑส์ ัตวน์ ้ำสง่ ออก ในปี พ.ศ. 2564 1 จำนวนสตั ว์น้ำ 22 ชนิด จำนวนที่ออก 335 เที่ยว 2 ใบอนุญาตนำสตั ว์หรอื ซากสตั ว์ออกนอกราชอาณาจักร (ร.9) จำนวน 328 ใบ และใบแจง้ ดำเนินการสง่ ออกสตั วน์ ้ำหรอื ผลิตภณั ฑส์ ตั ว์น้ำ (DOF 4) จำนวน 328 ใบ 3 ปริมาณ 1,535.00 ตัน มูลค่าสินค้า 26.99 ล้านบาท แผนภมู ทิ ี่ 5 แสดงปริมาณชนดิ สัตวน์ ำ้ ปรมิ าณ และมลู คา่ การส่งออก ปริมาณ(ตัน) ปริมาณ(ตนั ) มูลค่า (ล้านบาท) มูลคา่ (ล้านบาท) 10.00 800.00 730.980.63 8.00 700.00 600.00 500.00 2.75 2.25 1.61 1.55 6.00 400.00 153.50 116.50 81.00 79.75 4.00 300.00 2.00 200.00 100.00 -- ปลาทแู ขก ปลาทูลัง ปลาสกี ุน ปลาหางแข็ง ปลาโอลาย รายงานประจำปี 2564 | 27

ตารางที่ 5 แสดงปริมาณชนดิ สตั วน์ ำ้ ปรมิ าณ และมลู คา่ การส่งออก ลำดบั ที่ ชนิดสัตว์นำ้ ปริมาณ (กโิ ลกรมั ) มูลคา่ (บาท) 1 ปลาทแู ขก 730,900.00 8,631,000.00 2 ปลาทูลัง 153,000.00 2,755,750.00 3 ปลาสีกุน 116,500.00 2,254,000.00 4 ปลาหางแขง็ 81,000.00 1,610,000.00 5 ปลาโอลาย 79,750.00 1,554,750.00 6 กุ้งขาว 72,200.00 3,183,000.00 7 ปลิงทะเล 58,750.00 164,500.00 8 ปลาหมึกกล้วย 54,500.00 2,200,000.00 9 ปลาโอดำ 54,000.00 987,750.00 10 กุ้งโอคกั เล็ก 31,800.00 964,000.00 11 หอยตลับ 28,400.00 395,650.00 12 ปลาตาโต 27,500.00 550,000.00 13 กุ้งเคย 14,100.00 511,500.00 14 ปลาอนิ ทรี 10,000.00 350,000.00 15 ปทู ะเล 5,600.00 672,000.00 16 ปลาโอหลอด 5,500.00 55,000.00 17 ปลาสาก 4,500.00 45,000.00 18 เคย 3,000.00 15,763.60 19 ปลาทสู ั้น 2,000.00 30,000.00 20 ปลากะมงพร้าว 1,000.00 40,000.00 21 ปลาจะละเมด็ 500.00 20,000.00 22 ปลาสีกุนขา้ งเหลอื ง 500.00 10,000.00 ผลรวมท้ังหมด 26,999,663.60 1,535,000.00 รายงานประจำปี 2564 | 28

กจิ กรรมที่สำคญั 1. กิจกรรมไตเ๋ ยี่ยมศนู ย์ โครงการ \"ไต๋เยี่ยมศูนย์\" เพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ทบทวนแนวปฏิบัติ รับฟังปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะจากผู้ประกอบการ ตอบคำถามหรือข้อสงสัย เพอ่ื สร้างสมั พนั ธภาพที่ดรี ะหว่างหน่วยงานภาครัฐและ ประชาชน เพ่อื ให้ผู้ประกอบการมคี วามรู้ ความเข้าใจโดยยึดหลัก ประชาสมั พันธน์ ำการจับกุม ตามนโยบายของกรม ประมง รายงานประจำปี 2564 | 29

2. กิจกรรมอนุรกั ษท์ รัพยากร โครงการขยะคนื ฝั่งทะเลสวยดว้ ยมอื เรา และโครงการปลอ่ ยปู่ไข่ คนื ชีวติ สู่ทะเล ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) เป็นหน่วยงานที่ขับเคลื่อนสนับสนุนโครงการ \"ขยะคืนฝั่ง ทะเลสวยด้วยมือเรา\"และโครงการ “ปล่อยปูไข่นอกกระดอง คืนชีวิตสู่ทะเล โดยเริ่มโครงการตั้งแต่ ช่วงเดือน พฤศจิกายน 2562 - ปัจจบุ นั จากเรือประมง จงั หวัดสตลู ที่รว่ มกันแสดงเจตนารมย์ ทีจ่ ะทำให้ทะเลของไทยสะอาด และทำให้ทรพั ยากรธรรมชาติทางทะเลได้กลับมาย่ังยืน รายงานประจำปี 2564 | 30

3. สร้างการรบั รู้ความปลอดภัยในงานประมงทะเล กิจกรรม “การเสริมสร้างการรบั รู้การใชง้ าน การตรวจสอบ และการเฝ้าระวังด้านความปลอดภัยสำหรบั การทำงานบนเรือประมง” พร้อมท้ังแนวทางในการป้องกนั เหตจุ ากการเกิดเหตุ กรณลี กู เรือพลดั ตกน้ำหรือเกิดเหตอุ ืน่ บนเรือประมง แกผ่ ู้ควบคุมเรือประมง ช่างเครือ่ ง และลกู เรือประมง เพ่ือการป้องกันอุบตั ิเหตจุ าการทำงาน การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบเหตจุ ากการเกิดอุบตั เิ หตุ และลดความสูญเสียจากการทำงานบนเรือประมง เสริมสร้างให้ผคู้ วบคมุ เรือเข้าใจ และพร้อมรับมอื กับสถานการณข์ องการเกิดเหตุได้เป็นอยา่ งดี รายงานประจำปี 2564 | 31

4. รบั การตรวจประเมินการปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าท่ปี ระจำศูนย์ โดยชดุ FIT ศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกสตูล และศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออกปากบารา สังกัด ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) “ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่สหวิชาชีพตรวจสอบ เรือประมง” ทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเข้มแข็ง สามารถยกระดับและรักษา มาตรฐานผลการปฏิบัติงานของศูนย์ จากการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ ควบคุมการแจ้งเรือเข้าออก (PIPO) ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยชุด Flying Inspection Team ; FIT ผลการประเมิน ศจร.สตูล และ ศจร.ปากบารา เป็นศูนย์เกรด A ได้คะแนน 98.750 คะแนน เป็น อนั ดบั 1 ระดบั ประเทศ รายงานประจำปี 2564 | 32

5.ปลอ่ ยพนั ธสุ์ ัตว์น้ำในวันสำคัญ นายธีระพงษ์ อภัยภักดี ผู้อำนวยการศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) พร้อมข้าราชการใน สังกัด รว่ มพธิ ีปลอ่ ยพันธสุ์ ัตว์นำ้ เฉลมิ พระเกยี รติ เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมฯ รว่ มทั้งวนั สำคญั ตลอดปี 2564 เพ่ือเป็น การถวายความจงรักภักดีและถวายเป็นพระราชกศุ ล อีกทั้งเป็นการอนุรักษพ์ ันธุ์สัตวน์ ้ำ และเพิ่มผลผลิตพนั ธุ์สัตวน์ ้ำ ในแหล่งนำ้ ธรรมชาติให้มคี วามอุดมสมบรู ณม์ ากขึน้ รายงานประจำปี 2564 | 33

6.กิจกรรมพัฒนาสำนักงาน บ้านน่าอยู่ ร่วมใจกันสะสาง ทำงานอย่างสดใจ สะอาดและปลอดภยั สามคั คีรวมน้ำใจ ฝึกนสิ ยั ด้วย 5 ส. : ศูนย์บริหาร จัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) ได้จัดกิจกรรม \"ทำบ้านของเราให้น่าอยู่\" ด้วยการพัฒนา เก็บกวาด ทำความ สะอาด และปลูก ตกแต่งต้นไม้ ทั่วบริเวณที่ทำการสำนักงาน โดยใช้หลักการ 5 ส. มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติทุก รอบ 3 เดอื น รายงานประจำปี 2564 | 34

7. กิจกรรมสานสัมพันธ์ สรา้ งสามคั คี ศูนย์บริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) ร่วมกับเจ้าหน้าที่ชุดสหวิชาชีพตรวจสอบเรือประมงใน สังกัด จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ สร้างสามัคคี ซึ่งกิจกรรมประกอบไปด้วย 1.ร่วมประชุมซักซ้อมความเข้าใจในการ ปฏิบัติงานเพื่อเตรียมรับการตรวจประเมินและยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน 2.แข่งขันกีฬาฟุตบอลชาย หญิง เพอ่ื เช่อี มสมั พนั ธ์ สง่ เสริมการออกกำลงั กายเปน็ แนวทางหนง่ึ ทีจ่ ะช่วยให้ระบบภมู ิคุ้มกนั ของร่างกายได้ทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพ ภายใต้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด 19 อยา่ งเคร่งครัด รายงานประจำปี 2564 | 35

ภาพกิจกรรม จากผลการปฏิบัติงานแตล่ ะกิจกรรมตามแผนงาน กิจกรรม : กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพสินค้าประมงสมู่ าตรฐาน 1. ตรวจวิเคราะหค์ ณุ ภาพวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ และแหล่งประมง สมุ่ ตวั อย่างสัตว์น้ำนำเข้า เพือ่ - ตรวจสอบกายภาพสตั ว์น้ำเบือ้ งต้น - ตรวจวิเคราะห์ เฝา้ ระวังสารตกค้าง รายงานประจำปี 2564 | 36

2. เฝ้าระวังการป้องกันการลักลอบการนำเข้าและสง่ ออก 2.1 การตรวจในพืน้ ที่ปฏิบัติงาน 2.2 การตรวจนอกพนื้ ที่ปฏิบตั ิงาน รายงานประจำปี 2564 | 37

3. ควบคมุ และตรวจสอบผู้ผลติ และผนู้ ำเข้า 3.1 ตรวจสอบปัจจัยการผลิต การสร้างการรบั รู้ และประชาสมั พันธ์ ร้านค้าปัจจยั การผลติ รายงานประจำปี 2564 | 38

3.2 ตรวจสอบสัตวน์ ้ำ ซากสตั วน์ ้ำและผลติ ภณั ฑ์ นำเข้า 3.3 ตรวจสอบสัตว์น้ำ ซากสตั ว์น้ำและผลติ ภณั ฑ์ ส่งออก รายงานประจำปี 2564 | 39

4. ออกหนังสอื รับรอง/ ใบรับรอง/ หนังสอื อนญุ าต/ ใบอนุญาต 5. การประชาสัมพันธ์ รายงานประจำปี 2564 | 40

5.1 การแจกเอกสาร ส่ิงพิมพ์ 6. ควบคมุ และเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยสินค้าสัตว์น้ำนำเข้า 6.1 สุ่มตวั อย่างสตั ว์น้ำนำเข้าเพื่อตรวจวิเคราะหโ์ รค 6.2 เฝา้ ระวังป้องกนั การลกั ลอบนำเข้าสัตว์น้ำที่มคี วามเสีย่ งตอ่ การเกิดโรคระบาด รายงานประจำปี 2564 | 41

6.3 ประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรคจากสัตว์น้ำนำเข้า รายงานประจำปี 2564 | 42

กิจกรรม : ป้องกันและแก้ไขปญั หาการทำประมงผิดกฎหมาย 1. ตรวจสอบเรือประมงไทยทีแ่ จง้ เข้าออก ณ ทา่ เทียบเรือประมง รายงานประจำปี 2564 | 43

2. ควบคมุ และตรวจสอบกระบวนการขึ้นสตั วน์ ้ำของเรือประมงที่แจง้ เข้า ณ ท่าเทียบ เรือประมงและความถูกต้องของสัตวน์ ้ำขึน้ ท่า รายงานประจำปี 2564 | 44

3. ตรวจประเมินการจัดทำรายงานของท่าเทียบเรือประมง/แพปลา ที่ขนึ้ ทะเบียนกับกรม ประมง รายงานประจำปี 2564 | 45

4. ควบคุม กำกบั ตรวจสอบเรือประมงทีไ่ ด้รบั ใบอนญุ าตทำการประมงพาณิชย์ทีไ่ ม่ออกทำ การประมงหรอื แจ้งของดใช้เรือกับกรมเจ้าท่า รายงานประจำปี 2564 | 46

5. ตรวจสอบการนำเข้าสนิ คา้ สัตวน์ ำ้ จากเรอื ประมงตา่ งประเทศ รายงานประจำปี 2564 | 47

ข้อมลู ในการตดิ ตอ่ ทีอ่ ยู่ เบอรโ์ ทร อเี มลล์ ศูนยบ์ ริหารจัดการด่านตรวจประมงเขต 9 (สตูล) สถานทต่ี งั้ 776 หมู่ 4 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวดั สตูล 91110 หมายเลขโทรศพั ท์ 0 7474 0695 หมายเลขโทรสาร 0 7474 0695 ทอ่ี ยจู่ ดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ : [email protected] เว็ปไซต์ : ttps://www4.fisheries.go.th/local/index.php/main/site2/fishquarantine-Satun Facebook : http://www.facebook/FIRC.NINE/ โหลด รายงานประจำปี 2564 โหลด รายงานประจำปี 2564 ด่านตรวจประมงตรงั ดา่ นตรวจประมงกระบี่ รายงานประจำปี 2564 | 48

รายงานประจำปี 2564 | 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook