Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความฉลาดทางดิจิทัล

ความฉลาดทางดิจิทัล

Description: ความฉลาดทางดิจิทัล อยู่ในรายวิชา PC62506

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) จัดทำโดย นางสาวช่อรตั นา เมอื งกุดเรือ รหสั นกั ศึกษา 634143015 รายงานนี้เปน็ ส่วนหน่งึ ของการศึกษาวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การ ส่ือสารการศกึ ษา PC62506 มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565

ก คำนำ รายงานฉบบั น้เี ปน็ สว่ นหนึ่งรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร การศึกษา PC62506 จดั ทำขึ้นมามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรเู้ รอ่ื งความฉลาดทางดิจทิ ัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) ซง่ึ รายงานฉบับน้ีมเี น้อื หาประกอบไปดว้ ยความหมายของความฉลาดทางดจิ ิทัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) รอยเท้าดิจทิ ัล ทักษะความฉลาดทางดิจิทลั ซ่ึงแบ่งออกได้ 8 ดา้ นดังน้ี ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณท์ ี่ดขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) ทักษะการคดิ วิเคราะห์มี วิจารณญาณทดี่ ี (Critical Thinking ) ทักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) ทกั ษะในการรกั ษาข้อมลู สว่ นตวั (Privacy Management) ทกั ษะ ในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทักษะในการบรหิ ารจัดการข้อมูลที่ ผูใ้ ช้งานมีการท้งิ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ทักษะในการรับมอื กบั การกลั่นแกล้งบนโลก ไซเบอร์ (Cyberbullying Management) ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) การจดั ทำรายงานเลม่ นจี้ ะสำเร็จไดน้ ้ัน ดฉิ นั ตอ้ งขอขอบคุณทา่ นอาจารยส์ ธุ ดิ า ปรีชานนท์ อาจารย์ประจำวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การส่อื สารการศกึ ษา ที่คอยใหค้ ำแนะนำ สำหรบั การจัดทำรายงานเล่มนีเ้ ปน็ อยา่ งดี ลงช่อื ช่อรัตนา เมอื งกุดเรือ (นางสาวช่อรัตนา เมืองกดุ เรือ) 2 มกราคม 2565

ข สารบญั เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบญั ข ความหมายของความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) 1 ความเป็นพลเมอื งดิจิทัล (Digital Citizenship) 1 ทักษะความเปน็ พลเมืองยคุ ดจิ ิทัล 8 ดา้ น 2 2 1. ทักษะในการรักษาอตั ลักษณ์ทด่ี ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) 2. ทักษะการคดิ วิเคราะหม์ ีวจิ ารณญาณทด่ี ี (Critical Thinking) 2 3. ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity 3 Management) 4 4. ทักษะในการรักษาข้อมลู สว่ นตวั (Privacy Management) 5. ทักษะในการจัดสรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) 4 6. ทักษะในการบรหิ ารจัดการข้อมลู ที่ผูใ้ ช้งานมีการท้ิงไว้บนโลกออนไลน์ (Digital 5 Footprints) 7. ทกั ษะในการรับมือกบั การกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) 5 8. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยอี ย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) 6 รอยเท้าดิจทิ ลั 6 บรรณานุกรม 7

1 ความหมายของความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) ความฉลาดทางดจิ ิทลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กลุ่ม ความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรับรู้ ที่จะทำให้คนคนหน่ึงสามารถเผชิญกบั ความ ทา้ ทายของชีวิตดจิ ทิ ัลและสามารถปรบั ตัวใหเ้ ข้ากบั ชีวติ ดิจิทลั ได้ ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล ครอบคลมุ ทง้ั ความรู้ ทักษะ ทัศนคตแิ ละค่านิยม ท่ีจำเป็นตอ่ การใชช้ วี ิตในฐานะสมาชิกของ โลกออนไลน์ กล่าวอีกนยั หน่งึ คือ ทกั ษะการใชส้ ื่อและการเข้าสงั คมในโลกออนไลน์ ความเป็นพลเมืองดิจทิ ัล (Digital Citizenship) ความเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ัล คือ พลเมอื งผูใ้ ชง้ านส่อื ดจิ ิทัลและสื่อสังคมออนไลนท์ ี่เขา้ ใจ บรรทดั ฐานของการปฏิบตั ิตัวใหเ้ หมาะสมและมีความรบั ผิดชอบในการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การส่ือสารในยุคดิจทิ ัลเป็นการส่อื สารท่ไี รพ้ รมแดน สมาชิกของโลก ออนไลนค์ ือ ทกุ คนทใ่ี ชเ้ ครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ บนโลกใบน้ี ผู้ใชส้ อ่ื สังคมออนไลน์มคี วาม หลากหลายทางเชือ้ ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมอื ง ดิจิทลั จงึ ตอ้ งเป็นพลเมอื งทม่ี ี ความรับผิดชอบ มจี รยิ ธรรม เห็นอกเหน็ ใจและเคารพผูอ้ นื่ มีส่วนร่วมและมุ่งเน้นความเปน็ ธรรมในสงั คม

2 ทักษะความเปน็ พลเมืองยุคดิจิทัล 8 ด้าน 1. ทกั ษะในการรกั ษาอัตลักษณ์ทดี่ ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสรา้ ง และบริหารจัดการอัตลกั ษณท์ ่ีดขี องตนเองไวไ้ ด้อย่างดที ง้ั ในโลกออนไลน์และโลกความจริง อัตลกั ษณ์ ทีด่ ีคอื การทผ่ี ใู้ ช้สอ่ื ดิจทิ ัลสรา้ งภาพลักษณ์ในโลกออนไลน์ของตนเองในแง่บวก ท้งั ความคิด ความรสู้ กึ และการกระทำโดยมีวิจารณญาณในการรบั ส่งขา่ วสารและแสดงความคดิ เห็น คิดเหน็ มคี วามเหน็ อก เห็นใจผู้รว่ มใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรู้จกั รบั ผิดชอบต่อการกระทำ ไม่กระทำการทีผ่ ิดกฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ การกลั่นแกล้งหรือการใชว้ าจาทส่ี ร้างความ เกลียดชงั ผู้อ่ืนทางสอ่ื ออนไลน์ 2. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์มวี ิจารณญาณทีด่ ี (Critical Thinking) สามารถวิเคราะห์ แยกแยะระหวา่ งขอ้ มูลท่ถี กู ตอ้ งและข้อมูลทผี่ ดิ ข้อมูลท่ีมเี น้ือหาเป็นประโยชน์และข้อมลู ท่เี ขา้ ข่าย อันตราย ขอ้ มูลตดิ ตอ่ ทางออนไลนท์ ี่น่าต้งั ข้อสงสยั และนา่ เชอื่ ถือได้ เมอ่ื ใช้อินเทอรเ์ น็ตจะรวู้ า่ เน้ือหา อะไรเป็นสาระมปี ระโยชน์ รู้เท่าทนั สอ่ื และสารสนเทศ สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ข้อมลู จาก แหลง่ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลายได้ เขา้ ใจรปู แบบการหลอกลวงตา่ งๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอมเวบ็ ปลอม ภาพตัดตอ่ เป็นต้น การคดิ วเิ คราะหม์ วี ิจารณญาณทด่ี ีมอี งค์ประกอบดังนี้ 1. ความรู้ สามารถอธบิ ายและจดจำขอ้ มลู ได้ 2. ความเขา้ ใจ สามารถจัดระเบยี บและเลอื กข้อเทจ็ จรงิ และความคิดออกมาใชไ้ ด้ 3. การประยุกต์ สามารถนำข้อเทจ็ จรงิ และกฎข้อบังคับนำมาสรา้ งความคิดใหม่ๆได้ 4. การวิเคราะห์ สามารถแยกความคดิ และเร่ืองต่างๆออกมาเป็นขอ้ ยอ่ ยได้ 5. การสงั เคราะห์ สามารถนำความคดิ ย่อยมารวมเปน็ แนวคิดใหญ่ๆได้ 6. การประเมิน สามารถพฒั นาความคิดเหน็ และจัดลำดับความสำคัญได้

3 3. ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้องกนั ขอ้ มูลด้วยการสรา้ งระบบความปลอดภยั ทเ่ี ข้มแขง็ และปอ้ งกนั การ โจรกรรมข้อมูลหรือการโจมตีออนไลน์ได้ มีทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลก ออนไลน์ การรกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์คือ การปกป้องอุปกรณด์ จิ ทิ ัลขอ้ มูลท่ี จัดเก็บและข้อมูลสว่ นตัวไม่ให้เสยี หาย สูญหาย หรือถกู โจรกรรมจากผู้ไมห่ วงั ดใี นโลกไซเบอร์ การ รักษาความปลอดภัยทางดจิ ิทลั มีความสำคญั ดังน้ี 1. เพอื่ รกั ษาความเปน็ ส่วนตัวและความลบั หากไม่ไดร้ ักษาความปลอดภัยใหก้ บั อุปกรณด์ ิจิทัล ขอ้ มูล ส่วนตวั และข้อมูลทเี่ ป็นความลบั อาจจะร่วั ไหลหรอื ถกู โจรกรรมได้ 2. เพื่อปอ้ งกันการขโมยอัตลกั ษณ์ การขโมยอัตลกั ษณเ์ ริม่ มจี ำนวนทม่ี ากขนึ้ ในยุคข้อมูลขา่ วสาร เนื่องจากมีการทำธุรกรรมทางออนไลน์มากยงิ่ ข้ึน ผูค้ นเริม่ ทำการชำระค่าสินคา้ ผา่ นสอ่ื อินเทอรเ์ น็ต และทำธรุ กรรมกับธนาคารทางออนไลน์ หากไมม่ กี ารรกั ษาความปลอดภยั ทเี่ พียงพอ มิจฉาชพี อาจจะ ล้วงขอ้ มลู เกย่ี วกับบัตรเครดติ และขอ้ มูลสว่ นตัวของผ้ใู ช้งานไปสวมรอยทำธุรกรรมได้ เช่น ไปซือ้ สนิ คา้ กูย้ มื เงิน หรอื สวมรอยรบั ผลประโยชนแ์ ละสวัสดิการ 3. เพอื่ ปอ้ งกนั การโจรกรรมข้อมลู เน่อื งจากขอ้ มูลตา่ งๆ มักเกบ็ รักษาในรปู ของดิจทิ ัล ไมว่ ่าจะเปน็ เอกสาร ภาพถ่ายหรือคลิปวดี โิ อ ข้อมลู เหลา่ น้ีอาจจะถกู โจรกรรมเพื่อนำไปขายต่อ แบล็คเมล์ หรือ เรียกคา่ ไถ่ 4. เพือ่ ป้องกันความเสียหายของข้อมลู และอปุ กรณ์ ภัยคกุ คามทางไซเบอรอ์ าจส่งผลเสียต่อข้อมลู และ อปุ กรณด์ ิจิทลั ได้ ผู้ไมห่ วังดบี างรายอาจมุง่ หวงั ให้เกดิ อันตรายต่อข้อมลู และอปุ กรณท์ เี่ ก็บรักษา มากกว่าที่จะโจรกรรมขอ้ มูลนั้น ภยั คุกคามอยา่ งไวรสั คอมพวิ เตอร์ สร้างความเสยี หายรา้ ยแรงให้กับ คอมพิวเตอรห์ รอื ระบบปฏิบตั กิ ารได้

4 4. ทักษะในการรักษาขอ้ มูลส่วนตวั (Privacy Management) มีดุลพินจิ ในการบรหิ าร จัดการข้อมลู สว่ นตัว รูจ้ กั ปกปอ้ งข้อมลู ความสว่ นตวั ในโลกออนไลน์โดยเฉพาะการแชร์ขอ้ มูลออนไลน์ เพ่ือปอ้ งกนั ความเป็นส่วนตัวทง้ั ของตนเองและผู้อนื่ รเู้ ทา่ ทันภยั คกุ คามทางอินเทอรเ์ นต็ เชน่ ไวรัส คอมพิวเตอร์และกลลวงทางไซเบอร์ ตัวอย่างทักษะในการรักขอ้ มลู สว่ นตัว 1. ไม่ควรต้ังรหัสผ่านของบัญชใี ช้งานทง่ี ่ายเกนิ ไป 2. ต้งั รหัสผา่ นหนา้ จอสมารท์ โฟนอย่เู สมอ 3. แชร์ขอ้ มูลสว่ นตวั ในส่อื โซเชยี ลมเี ดยี อย่างระมัดระวงั 4. ใสใ่ จกบั การตัง้ คา่ ความเป็นส่วนตวั ระมัดระวังในการเปิดเผยชื่อและท่ตี ง้ั ของเรา และปฏเิ สธแอปที่ พยายามจะเข้าถึงขอ้ มูลสว่ นตวั ของเรา 5. อย่าใชไ้ วไฟสาธารณะเม่ือตอ้ งกรอกข้อมูลสว่ นตัว 5. ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) สามารถบริหารเวลา ทใ่ี ช้อปุ กรณย์ คุ ดิจทิ ัล รวมไปถึงการควบคมุ เพอื่ ใหเ้ กิดสมดุลระหวา่ งโลกออนไลนแ์ ละโลกภายนอก ตระหนกั ถึงอนั ตรายจากการใช้เวลาหนา้ จอนานเกนิ ไป การทำงานหลายอยา่ งในเวลาเดียวกนั และ ผลเสยี ของการเสพติดสื่อดจิ ิทัล สำนักวจิ ยั สยามเทคโนโลยอี นิ เทอรเ์ นต็ โพลล์ระบวุ า่ วยั รนุ่ ไทยเกอื บ 40 % อยากใช้เวลาหน้าจอ มากกวา่ ออกกำลงั กาย และผลการสำรวจจาก We are social พบว่า ในแตล่ ะวัน คนไทยใชเ้ วลา หน้าจอ ดงั น้ี

5 6. ทกั ษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ทผ่ี ใู้ ชง้ านมีการท้งิ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชวี ิตในโลกดจิ ิทลั ว่าจะหลงเหลือร่อยรอยข้อมลู ทิง้ ไว้ เสมอ รวมไปถึงเข้าใจผลลัพธ์ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ เพอื่ การดแู ลส่ิงเหล่านอี้ ย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบ 7. ทกั ษะในการรบั มอื กับการกล่ันแกล้งบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลัน่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์คอื การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตเปน็ เครื่องมือหรอื ช่องทางเพ่อื กอ่ ใหเ้ กดิ การ คุกคามลอ่ ลวงและการกลัน่ แกล้งบนโลกอนิ เทอร์เนต็ และสอ่ื สงั คมออนไลน์ โดยกล่มุ เป้าหมายมักจะ เป็นกลมุ่ เดก็ จนถงึ เดก็ วัยรุ่น การกลน่ั แกล้งบนโลกไซเบอรค์ ล้ายกนั กับการกล่ันแกลง้ ในรูปแบบอนื่ หากแตก่ ารกลน่ั แกล้งประเภทน้จี ะกระทำผ่านสื่อออนไลน์หรอื สือ่ ดิจิทัล

6 8. ทกั ษะการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรม (Digital Empathy) มคี วามเหน็ อกเห็นใจและ สรา้ งความสมั พนั ธ์ทด่ี ีกบั ผูอ้ นื่ บนโลกออนไลน์ แม้จะเป็นการสอ่ื สารที่ไมไ่ ด้เหน็ หน้ากนั มปี ฏสิ มั พนั ธ์ อันดตี อ่ คนรอบข้าง ไมว่ า่ พอ่ แม่ ครู เพือ่ นทงั้ ในโลกออนไลนแ์ ละในชีวิตจริง ไมด่ ่วนตดั สินผ้อู ืน่ จาก ขอ้ มลู ออนไลนแ์ ต่เพยี งอย่างเดยี วและจะเป็นกระบอกเสียงใหผ้ ทู้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือ รอยเท้าดจิ ทิ ลั รอยเท้าดิจิทลั คอื คำท่ใี ชเ้ รียกรอ่ งรอยการกระทำต่างๆ ท่ผี ู้ใช้งานทิ้งรอยเอาไว้ในโลกออนไลน์ โซเชยี ลมเี ดยี เวบ็ ไซต์หรือโปรแกรมสนทนา เชน่ เดยี วกบั รอยเท้าของคนเดนิ ทาง ขอ้ มลู ดิจทิ ลั เช่น การลงทะเบียนอเี มล การโพสตข์ ้อความหรือรูปภาพ เม่ือถกู สง่ เขา้ โลกไซเบอร์แล้วจะทิ้งรอ่ ยรอย ข้อมลู สว่ นตัวของ ผใู้ ช้งานไวใ้ ห้ผู้อ่ืนติดตามได้เสมอ แมผ้ ู้ใช้งานจะลบไปแล้ว ดงั น้นั หากเป็นการ กระทำทผ่ี ดิ กฎหมายหรอื ศีลธรรม ก็อาจมีผลกระทบต่อช่อื เสียงและภาพลกั ษณข์ องผูก้ ระทำ กลา่ ว ง่ายๆ รอยเทา้ ดิจทิ ลั คือ ทกุ สิง่ ทกุ อย่างในโลกอนิ เทอรเ์ นต็ ทบ่ี อกเรอ่ื งของเรา

7 บรรณานกุ รม วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ.์ พลเมอื งดิจทิ ัล [Online]. แหล่งทม่ี า http://www.infocommmju.com/ icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/digital/Digital_Citizenship.pdf สืบคน้ เม่ือ 2 มกราคม 2565 วิวรรณ ธาราหริ ัญโชต.ิ ทกั ษะทางดจิ ติ อลทจี่ ำเปน็ สำหรับเดก็ ในอนาคต [Online]. แหลง่ ทม่ี า http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 สืบค้น เมือ่ 2 มกราคม 2565 สถาบนั สอ่ื เด็กและเยาวชน. (2561). ความฉลาดทางดจิ ติ อล (Digital Intelligence: DQ) และ การศึกษาการรังแกกนั บนโลกไซเบอร์ของวยั รุน่ . สืบคน้ เมือ่ 2 มกราคม 2565 จาก http://cclickthailand.com/contents/research/A2.-final.pdf. Digital Intelligence (DQ) A Conceptual Framework & Methodology for Teaching and Measuring Digital Citizenship [Online]. แหลง่ ทมี่ า https://www.dqinstitute. org/wp-content/uploads/2017/08/DQ-Framework-White-Paper-Ver1- 31Aug17.pdf สบื คน้ เมือ่ 2 มกราคม 2565 สำนกั งานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กิจการโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาต.ิ ค่มู อื Cyber Security สำหรบั ประชาชน [Online]. แหลง่ ที่มา https://www.nbtc.go.th/getattachment/News/รวมบทความ-(1)/คู่มือ-Cyber- Security-สำหรับประชาชน/คู่มือ-CyberSecurity-สำหรบั ประชาชน.pdf.aspx สบื คน้ เมอ่ื 2 มกราคม 2565


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook