Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สกุลเงินดิจิทัล4

สกุลเงินดิจิทัล4

Published by SIRIMA SINGCHAI, 2022-01-19 02:23:02

Description: สกุลเงินดิจิทัล4

Search

Read the Text Version

สกลุ เงินดิจิทัล CRYPTOCURRENCY

ความหมายของสกลุ เงนิ ดิจิทลั สกุลเงนิ ดจิ ทิ ลั (digital currency) คอื สกลุ เงนิ เงนิ หรือสินทรัพย์ทม่ี ลี กั ษณะคล้ายเงนิ ทบ่ี ริหารจดั การ จัดเกบ็ หรือแลกเปลย่ี นบนระบบคอมพวิ เตอร์แบบดจิ ิทลั โดยเฉพาะการจดั การผ่านอนิ เทอร์เน็ต ตัวอย่างของสกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั ได้แก่ คริปโทเคอร์เรนซี(cryptocurrency) หรือ สกลุ เงนิ เสมอื น (virtual currency) โดยกจิ กรรมการแลกเปลยี่ นเงนิ ที่ เกดิ ขนึ้ จัดเกบ็ ในรูปแบบของฐานข้อมูลจัดการโดยธนาคารหรือหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง หรือจดั การแบบการเงนิ แบบไม่รวม ศูนย์ (DeFi) สกลุ เงนิ ดจิ ิทลั มลี กั ษณะคล้ายสกุลเงนิ ทว่ั ไป แตกต่างกนั ตรงทไ่ี ม่มรี ูปแบบทางกายภาพชัดเจน ไม่มกี ารพมิ พ์ ธนบตั รหรือผลติ เหรียญกษาปณ์

ตวั อย่างสกลุ เงนิ ดิจทิ ลั

1. Bitcoin • คอื สกลุ เงนิ ในรูปแบบของดจิ ิทลั ถูกสร้างขนึ้ มาด้วยภาษาคอมพวิ เตอร์ ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของ Bitcoin ไม่มรี ูปร่างและไม่ สามารถจับต้องได้เหมอื นธนบตั รหรือเหรียญเงนิ บาท Bitcoin ถูกสร้างขนึ้ มาด้วยกลุ่มนักพฒั นาเลก็ ๆกลุ่มหน่ึงตลอดจน บริษทั ใหญ่ๆทวั่ โลก โดยระบบของ Bitcoin ถูกรันโดยคอมพวิ เตอร์ของผู้ใช้งานทว่ั โลก โดยใช้ระบบซอฟต์แวร์ในการถอด สมการคณติ ศาสตร์ • Bitcoin ถอื เป็ นสกุลเงนิ แรกของโลกทถี่ ูกเรียกว่าคริปโตเคอเรนซี (cryptocurrency) Bitcoin สามารถใช้แทนเงนิ สดซื้อสินค้าออนไลน์ อาจคล้ายกบั ระบบซื้อขายผ่านอนิ เทอร์เนตทว่ั ๆไปทใ่ี ช้บัตรเดบติ หรือ บัตรเครดติ • อย่างไรกต็ าม ความพเิ ศษของ Bitcoin ทเี่ ป็ นตวั ช่วยให้มนั เป็ นทน่ี ิยมคอื มนั ถูกควบคุมแบบกระจาย (decentralize) กล่าวคอื ไม่มสี ถาบนั การเงนิ ไหนสามารถควบคุมบิมคอยได้ ซ่ึงน่ันทาให้ผู้คนทเ่ี ลอื กใช้ Bitcoin ส่วนใหญ่สบายใจ เนื่องจากแม้แต่ธนาคารกไ็ ม่สามารถควบคุม Bitcoin ได้

2. Ethereum (ETH) • คอื สกุลเงนิ กลางของเครือข่าย Ethereum ใช้ในการแลกเปลยี่ นสินค้าหรือบริการ และยงั ทาหน้าทเ่ี หมือนกบั “นา้ มนั ” ทท่ี า ให้เหล่า Dapps บนเครือข่ายสามารถทางานร่วมกนั ได้ ด้วยการจ่ายเป็ นค่าธรรมเนียมทเี่ รียกว่า Gas Fee • ขณะที่ ERC-20 คอื มาตรฐานสกุลเงนิ ของ Dapps บน Ethereum โดยเป็ นเหมอื นกบั กฏเกณฑ์ท่ี Dapps เหล่านีต้ ้องทา ตาม เพอ่ื ให้สามารถทางานบน Ethereum ได้อย่างเหมาะสม • สาเหตุทตี่ ้องมมี าตรฐาน ERC-20 เป็ นเพราะว่า Dapps บางตัวกม็ รี ะบบเศรษฐกจิ ในตัวของมนั เอง จงึ ต้องมีสกุลเงนิ กลาง ของตัวเอง ยกตัวอย่าง เช่น Uniswap (UNI), Maker (MKR), หรือ Basic Attention Token (BAT) เป็ นต้น

3.Ripple(xrp) • Ripple คอื เครือข่าย Private/Consortium Blockchain สาหรับการชาระเงนิ ของสถาบนั การเงนิ ทใ่ี ช้ XRP เป็ นสกลุ เงนิ ตวั กลางหรือสะพาน (Bridge Currency) ในการทาธุรกรรมข้ามสกลุ เงนิ (รวมถึง Bitcoin ด้วย) โดยสรุปคอื Ripple และ XRP ใช้เทคโนโลยเี ดยี วกนั แต่ XRP ทเ่ี ทรดกนั ในตลาดน้ันไม่ได้ใช้ระบบเครือข่ายร่วมกบั สถาบนั การเงินทใ่ี ช้หรือมี Ripple เป็ นเจ้าของแต่อย่างใด อย่างไรกต็ ามแม้จะมคี วามพยายามเพมิ่ จานวน Validator เพอ่ื ให้ XRP มคี วามเป็ น Decentralized มากขนึ้ แต่ธุรกรรมกส็ ามารถถูก Freeze ได้ทป่ี ลายทางเมอ่ื เงนิ ทโี่ อนน้ันถูกแลกเปลยี่ นเป็ นสกลุ อนื่ ทไ่ี ม่ใช่ XRP หากพบว่าธุรกรรมน้ันน่าสงสัย

4.Zcash(ZEC) • Zcash อกั ษรย่อ ZEC เป็ นสกุลเงนิ ดจิ ทิ ลั ทม่ี คี ุณสมบตั ทิ เี่ รียกว่า Shielded ทที่ าให้การส่งและรับเงนิ เป็ นความลบั กล่าวคอื ธุรกรรมยงั คงปรากฏในบลอ็ กเชน แต่แอดเดรสและจานวนเงนิ จะไม่ถูกเปิ ดเผย; Zcash ใช้อลั กอริธึมฉันทามติ Proof-of- work และมี Max supply จานวน 21,000,000 เหรียญ; Zcash เปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการเดอื น ตุลาคม 2016 โดย Zooko Wilcox-O’Hearn ผู้มปี ระสบการในสายงานโปรแกรมและระบบความปลอดภยั คอมพวิ เตอร์กว่า 25 ปี

5.Monero(XMR) • Monero เป็ นเงนิ ดจิ ติ อลสกุลนึงทเี่ ปิ ดตวั ในเดือนเมษายนปี 2014 โดยมุ่งเป้ าจะเป็ นอนั ดบั 1 ของวงการเงนิ ดจิ ิตอล โดยเงนิ สกลุ นีถ้ ูกพฒั นาโดยมุ่งเป้ าทค่ี วามน่าเช่ือถือในการใช้งาน และเงนิ สกุลนีก้ ส็ ามารถทาประโยชน์จากจากจุดน้ันได้ดเี ลย ทเี ดยี ว สิ่งทน่ี ่ารู้เกย่ี วกบั Monero คอื มนั เป็ นเงนิ สกลุ ทใ่ี ช้ประโยชน์จากการทแ่ี อดเดรสของมนั ตรวจสอบได้ยากและใช้ Ring signatue ในการซ่อนตัวตนของผู้รับและผู้ส่ง เนื่องจากมผี ู้คนมากมายต้องการความเป็ นส่วนตัวในการทาธุรกรรม Monero จึงกลายเป็ นตัวเลอื กทด่ี สี าหรับพวกเขา

ข่าวเกย่ี วกบั สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั

1. สกลุ เงนิ ดจิ ิทลั ของ CBDC กบั ความสาคญั ในการโอนเงินข้ามพรมแดน

สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ัลของ CBDC กบั ความสาคญั ในการโอนเงนิ ข้ามพรมแดน(ต่อ) • ในขณะทโ่ี ลกเปลยี่ นไปใช้การชาระเงนิ แบบดจิ ิทลั และสกลุ เงนิ มากขนึ้ ธนาคารกลางทวั่ โลกกาลงั สารวจว่าเทคโนโลยี ใหม่ๆ ดงั กล่าวสามารถนามาใช้เพอ่ื แก้ไขจุดบอดในระบบการเงนิ ได้อย่างไร ในขณะเดยี วกนั กต็ ้องสร้างความเชื่อมนั่ และการ ปกป้ องระบบของธนาคารกลางได้โดยปริยาย วธิ ีหนึ่งทธี่ นาคารกลางต้องการทาให้โครงสร้างพนื้ ฐานทาง การเงนิ เป็ น ดจิ ทิ ัลคอื การใช้สกลุ เงนิ ดจิ ิทัลของธนาคารกลาง (Central Bank Digital Currencies - CBDC) ซึ่งเป็ น สกลุ เงนิ ดจิ ิทลั ทอ่ี อกโดยธนาคารกลางซ่ึงแสดงถงึ ภาระผูกพนั ของธนาคารกลาง โดย CBDC แบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบ ได้แก่ Retail CBDC (เงนิ สดเทยี บเท่าดจิ ทิ ลั สาหรับธุรกรรมรายย่อยของภาคประชาชนและและธุรกจิ ) และ Wholesale CBDC(สาหรับการ ทาธุรกรรมระหว่างสถาบนั การเงนิ และเข้าถงึ ได้โดยสถาบนั การเงนิ เท่าน้ัน ซ่ึงคล้ายกบั บญั ชีการชาระเงนิ ของ ธนาคารกลางทมี่ อี ยู่)

สกลุ เงินดิจิทลั ของ CBDC กบั ความสาคญั ในการโอนเงินขา้ มพรมแดน(ต่อ) • ราฮูล แอดวานี (Rahul Advani) ผู้อานวยการนโยบายภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟิ ก (APAC) ของริปเปิ ล (Ripple) เปิ ดเผยว่า ณ เดอื นตุลาคม พ.ศ. 2564 ธนาคารเพอื่ การชาระหนีร้ ะหว่างประเทศ (Bank of International Settlements - BIS) รายงาน ว่ามี Retail CBDC ทเี่ ร่ิมใช้งานแล้ว 2 รายและโครงการนาร่อง CBDC ใน 26 เขตอานาจรัฐ ในขณะทธี่ นาคารกลาง 65 แห่งได้แจ้งต่อสาธารณะเกย่ี วกบั โครงการ ทางด้าน CBDC ทพ่ี วกเขากาลงั เตรียมความพร้อมสาหรับภูมทิ ศั น์ทางการเงนิ ในอนาคต หน่ึงในธนาคารกลางทก่ี ล่าวถึงคอื ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งเพง่ิ หารือเรื่อง Retail CBDC เมอื่ ไม่นานมานี้ ภายใต้การสนับสนุนจากเทคโนโลยบี ลอ็ คเชน มหี ลายเหตุผลว่า ทาไม CBDC จึงเป็ นคาตอบแห่งอนาคตสาหรับ ธนาคาร กลาง ด้วยเป้ าหมายนโยบายร่วมกนั สาหรับ CBDC ในเอเชียแปซิฟิ กคอื ความต้องการส่วนเสริมดจิ ิทลั ไปด้วยกนั กบั เงนิ ของธนาคารกลาง (fiat) เพอ่ื ทจี่ ะสนับสนุนระบบการชาระเงนิ ทยี่ ดื หยุ่นและหลากหลายมากขนึ้ แต่อย่างไรกต็ าม เนื่องจากธนาคารกลางได้ตระหนักถึงประโยชน์ทพ่ี งึ ได้รับจาก CBDC เป้ าหมายของนโยบายจงึ ได้รับ การพฒั นาต่อยอด เพอ่ื จดั การกบั ความท้าทายทางเศรษฐกจิ และสังคมทย่ี งิ่ ใหญ่ทส่ี ุดในภูมภิ าค เช่น การผลกั ดนั ให้มกี าร เข้าถงึ บริการทาง การเงนิ ทมี่ ากขนึ้ ในหมู่ผู้ทไี่ ม่มบี ญั ชีธนาคาร (unbanked)

2.สหราชอาณาจกั รเตรียมทาให้ DEFI ถูกกฎหมาย

สหราชอาณาจักรเตรียมทาให้ DEFI ถูก กฎหมาย(ต่อ) • สหราชอาณาจกั รต้งั เป้ าหมายทจ่ี ะควบคุมสกุลเงนิ ดจิ ิทลั และอุตสาหกรรม DeFi โดยในขณะนีห้ น่วยกากบั ดูแลได้เสนอให้ ลบคาอ้างองิ ถงึ blockchain ออกจากคาจากดั ความใน cryptocurrency แต่พวกเขายงั ไม่ได้ชี้แจงเพม่ิ เตมิ ว่าจะทาอย่างไร ต่อไป นอกเหนือจากนี้ Cryptocurrency และ DeFi ยงั อยู่ในขอบเขตของกฎระเบยี บ แต่ดูเหมอื นว่า DeFi จะพจิ ารณา แตกต่างออกไปโดยพจิ ารณาเป็ น “รายกรณ”ี แทนทจ่ี ะกาหนดกรอบการดูแลท้งั หมดให้เป็ นสากล เหตุผลหลกั ของการ ออกกฎระเบยี บเพมิ่ เตมิ คอื การขาดข้อมูลทน่ี ่าเช่ือถอื และการโฆษณาทชี่ วนให้เข้าใจผดิ

สหราชอาณาจกั รเตรียมทาให้ DEFI ถูก กฎหมาย(ต่อ) • ซึ่งสร้างความเสี่ยงให้กบั ลูกค้าทใ่ี ช้บริการสินทรัพย์ดจิ ทิ ัล รวมถงึ DApps และบลอ็ กเชน ยงั ไม่ชัดเจนว่าหน่วยงานกากบั ดูแลหมายถงึ อะไรในการลบคาอ้างองิ ถงึ blockchain ออกจากคาจากดั ความของสินทรัพย์สกลุ เงนิ ดจิ ทิ ลั อย่างไรกต็ าม เรื่องราวระหว่างสหราชอาณาจักกบั cryptocurrency และ blockchain ถือเป็ นความลบั แม้ว่าธุรกจิ ต่าง ๆ ยอมรับการ ชาระเงนิ ด้วยสินทรัพย์ดจิ ิทัลในร้านกาแฟในลอนดอนแล้วกต็ าม

3. Cardano เปิ ดตัวโครงการใหม่ที่จะทา ให้ผ้คู นแห่มาพฒั นา Smart Contract

Cardano เปิ ดตวั โครงการใหม่ท่ีจะทาให้ ผคู้ นแห่มาพฒั นา Smart Contract (ต่อ) • มูลนิธิ Cardanoได้ประกาศเปิ ดตัวโครงการใหม่เพอ่ื เพม่ิ การพฒั นา smart contract ให้กบั บุคคลทส่ี ามโดยร่วมมอื กบั EMURGO ซ่ึงเป็ นหน่วยงานเชิงพาณชิ ย์ของ Cardano blockchain การทางานร่วมกนั ระหว่างสององค์กรจะเห็นถงึ ความพยายามในการสร้างชุดเคร่ืองมอื เพอื่ สนับสนุนระบบนิเวศของ Cardano และเร่งการพฒั นา DApps อย่างเป็ น ทางการ โครงการจะแบ่งออกเป็ นสองข้นั ตอนซึ่งแยกเป็ น MVP1 และ MVP2 โดย Five Binaries ซึ่งเป็ นบริษทั พฒั นา โครงสร้างพนื้ ฐาน จะสร้างชุดเครื่องมอื แบบแยกส่วนสาหรับ MVP1 และมูลนิธิ Cardano

Cardano เปิ ดตัวโครงการใหม่ทีจ่ ะทาให้ ผู้คนแห่มาพฒั นา Smart Contract (ต่อ) • วางแผนทจ่ี ะเข้าถงึ โครงการและผู้ทางานร่วมกนั จากทว่ั ท้งั ระบบนิเวศในระยะทส่ี อง MVP2 ท้งั นีพ้ วกเขาพร้อมทางาน อย่างเปิ ดเผยและตรวจสอบได้ตลอดเวลา Cardano เห็นว่าการพฒั นา backend ของแอปพลเิ คชันน้ันค่อนข้างสาคัญอย่าง มากเน่ืองจากอาจช่วยเพม่ิ ตัวเลอื กทหี่ ลากหลายสาหรับนักพฒั นาในการสร้างโซลูชันบน Cardano อกี ท้งั ยงั ช่วยให้บุคคล ทส่ี ามสามารถสร้างแอปได้หลากหลายมากยง่ิ ขนึ้ เพอื่ ตอบสนองมาตราฐานอุตสาหกรรมคริปโตทใี่ ช้ smart contract Frederik Gregaard CEO ของ Cardano Foundation ซึ่งเป็ นองค์กรไม่แสดงผลกาไรได้เข้าดูแลการพฒั นาเครือข่าย Cardano ท้งั หมดโดยกล่าวว่า “การพฒั นาชุดเครื่องมอื นีร้ ่วมกบั EMURGO จะช่วยให้ระบบนิเวศโดยรวมน้ันดขี นึ้ ” ความก้าวหน้าของ Cardano ตามความก้าวหน้าล่าสุดของวงการ DeFi, NFT และ Metaverse ดูเหมอื นว่าจะมสี ่วน สนับสนุนเป็ นอย่างมากบนบลอ็ กเชนของ Cardano โดยเมอื่ เร็ว ๆ นี้ Cardano กไ็ ด้เปิ ดตวั โปรเจกต์ Metaverse แรกคอื Pavia SundaeSwap และ ISO กจ็ ะเป็ น Decentralized Exchange (DEX) เจ้าแรกทที่ างานได้อย่างสมบูรณ์แบบ

อ้างอิง • แหล่งทมี่ าของสกลุ เงนิ : https://www.ktc.co.th/article/knowledge/legal-digital-currency-that-can-be-traded • แหล่งทม่ี าของข่าว : https://th.investing.com/news/cryptocurrency-news

จัดทาโดย นางสาวสิริมา สิงห์ชัย ปวส.1/6 เลขท4ี่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook