Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book 6/7

E-book 6/7

Published by Guset User, 2022-01-16 15:52:35

Description: E-book 6/7

Search

Read the Text Version

E-Book แนะนาํ หนงั สอื อ้างอิงทน่ี า่ สนใจ

คาํ นํา หนังสือ E-Book เล่มน-ีเป็ นส่วนหน2ึงของรายวิชา ง 33201 หนังสืออา้ งอิงเพื2อการคน้ ควา้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพ2ือ ส่งเสริมความรู้ข-นั พ-ืนฐานในสาขาน-นั ๆ จากหนงั สือสารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนฯ ในแต่ละเล่มที2ทางผจู้ ดั ทาํ เลือก และสรุปข-ึน การจดั ทาํ หนงั สือ E-Book ไดท้ าํ การคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูลจากหนงั สือ และสรุปผจู้ ดั ทาํ หวงั เป็นอยา่ งยง2ิ วา่ จะเป็น ประโยชนแ์ ก่ผทู้ ี2สนใจ คณะผจู้ ดั ทาํ

สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ที ๒ การจำแนกและจัดหมวดหมขู่ องสตั ว์ ในประเทศไทยเราก็เชน่ เดยี วกนั ประชาชนในทอ้ ง ถน่ิ ตา่ งๆ ไดจ้ ำแนกสตั วอ์ อกเป็ นชนดิ ๆ มานานแลว้ เชน่ คนไทยในภาคกลางไดแ้ ยกนกกางเขนบา้ น และนกกางเขนดงออกจากกนั นกทงั้ สองชนดิ นม้ี รี ปู รา่ ง และสสี นั แตกตา่ งกนั จนเห็นไดช้ ดั เจน ภายหลงั เมอ่ื นักวทิ ยาศาสตรไ์ ดศ้ กึ ษาชอ่ื วทิ ยาศาสตรข์ องนก ทงั้ สองนี้ ก็ปรากฏวา่ แตกตา่ งกนั จรงิ ดงั นัน้ กางเขน บา้ นจงึ มชี อ่ื วทิ ยาศาสตรว์ า่ คอปไซคสั โซลารสิ (ลิ นเนยี ส) [Copsychus saularis (Linnaeus)] และกางเขนดงเป็ น คอปไซคสั มาลาบารคิ สั (สโค พอล)ิ [Copsychus malabaricus (Scopoli)] นักวทิ ยาศาสตรท์ มี่ ชี อื่ เสยี งในการจำแนกสตั วใ์ นสมยั แรกทคี่ วรกลา่ วถงึ ในท่ี นคี้ อื ชาวสวเี ดน ชอ่ื คาโรลสั ลนิ เนยี ส (Carolus Linnaeus, ค.ศ. ๑๗๐๗ - ๑๗๗๘, นักธรรมชาตวิ ทิ ยาชาว สวเี ดน) ทา่ นผนู ้ ไี้ ดช้ อ่ื วา่ เป็ น \"บดิ าของวชิ าอนุกรมวธิ านสมยั ใหม่\" แหลง่ ทม่ี า นายทวศี กั ด์ิ ปิยะกาญจน์ พมิ พข์ นึ้ ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php? file=encyclopedia/book2.html ชอื่ หนังสอื สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เลม่ ๒

เพอ่ื ใหค้ วามรแู ้ ละวธิ กี ารจำแนกและจัดลำดบั หมวดหมขู่ องสตั วจ์ ะเขยี นชอ่ื วิ ทยาศาตรข์ องสตั วอ์ ยา่ งไร

สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ที ๔ การหายใจ คณุ สมบตั ิ สำคญั อยา่ งหนงึ่ ของสง่ิ มี ชวี ติ ทกุ ชนดิ คอื การหายใจ คำนต้ี รงกบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษวา่ \"respiration\" เป็ น คำทม่ี รี ากศพั ทม์ าจากภาษาลาตนิ \"respiratio\" ซง่ึ แปลวา่ breathing out โดยท่วั ไปมักเขา้ ใจกนั วา่ การหายใจ คอื การนำเอากา๊ ซออกซเิ จนเขา้ สรู่ า่ งกาย และ ขบั กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจาก รา่ งกาย แตข่ บวนการจรงิ ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในการ หายใจของสง่ิ มชี วี ติ นัน้ สลบั ซบั ซอ้ นมาก ออกซเิ จนทหี่ ายใจเขา้ ไปนัน้ จะถกู นำไปสู่ เซลลท์ กุ ๆ เซลลใ์ นรา่ งกาย เพอื่ ไปใชใ้ น ขบวนการยอ่ ยอาหาร (คำวา่ \"อาหาร\" ในทนี่ ้ี คอื สารทสี่ ามารถใหพ้ ลงั งาน แกร่ า่ งกายได ้ ซง่ึ ไดแ้ กพ่ วกโปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั ทอ่ี ยภู่ ายใน เซลล)์ ทำใหไ้ ดพ้ ลงั งานมาใชใ้ นการดำรงชพี แหลง่ ทม่ี า ม.ร.ว.พฒุ พิ งศ์ วรวฒุ ิ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=4&chap=2&page=t4-2-infodetail01.html ชอ่ื หนังสอื สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เลม่ ๔ เพอื่ ใหค้ วามรแู ้ ละวธิ กี ารหายใจของสงิ่ มชี วี ติ ไดอ้ ยา่ งไร



สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ท่ี ๓๓ โรคอว้ น (obesity) ปัจจบุ นั โรคอว้ นนับวา่ เป็ นโรคทแี่ พรร่ ะบาดไปท่วั โลก องคก์ าร อนามยั โลกถอื เป็ นปัญหาสขุ ภาพสำคญั ปัญหาหนงึ่ ทจี่ ะตอ้ งไดร้ ับการแกไ้ ขอยา่ งเรง่ ดว่ น ทงั้ ในประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ และประเทศทกี่ ำลงั พัฒนา เกณฑก์ ารวนิ จิ ฉัยโรค อว้ น วธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ ทใ่ี ชไ้ ดท้ งั้ เด็กและผใู ้ หญ่ คอื การชง่ั น้ำหนัก และวดั สว่ นสงู ใน ผใู ้ หญ่ ซง่ึ ตอ้ งการทราบความเสยี่ งตอ่ เมแทบอลกิ ซนิ โดรม จะวดั ขนาดรอบเอวดว้ ย ตามมาตรฐานกรมอนามัย พ.ศ. ๒๕๔๒ เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นเด็กอายนุ อ้ ยกวา่ ๑๘ ปี ลงมา ใชเ้ กณฑน์ ้ำหนักเทยี บกบั สว่ นสงู ถา้ หากมนี ้ำหนักตอ่ สว่ นสงู มากกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ บวก กบั ๒ เทา่ ของคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน จะถอื วา่ น้ำหนักเกนิ และหากมากกวา่ ๕๐ บวก กบั ๓ เทา่ ของคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน ถอื วา่ อว้ น เกณฑใ์ ชว้ ดั ในผใู ้ หญ่ (อายตุ งั้ แต่ ๑๘ ปีขนึ้ ไป) ใชเ้ กณฑด์ ชั นมี วลกาย (body mass index หรอื BMI) ซงึ่ มวี ธิ ี คำนวณดงั นี้ BMI = น้ำหนัก (กโิ ลกรัม)/สว่ นสงู (เมตร)๒ ดชั นมี วลกายมคี า่ ๑๘.๕ - ๒๔.๙ กโิ ลกรัม/เมตร๒ ถอื วา่ น้ำหนักปกติ ดชั นมี วลกายมคี า่ ๒๕.๐ - ๒๙.๙ กโิ ลกรัม/เมตร๒ ถอื วา่ น้ำหนักเกนิ (overweight) ดชั นมี วลกายมคี า่ ๓๐ กโิ ลกรัม/เมตร๒ ขน้ึ ไป ถอื วา่ เป็ น โรคอว้ น (obesity). แหลง่ ทมี่ า ม.ร.ว.พฒุ พิ งศ์ วรวฒุ ิ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=4&chap=2&page=t4-2-infodetail01.html ชอ่ื หนังสอื สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เลม่ ๓๓ ชอื่ หนังสอื



สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ท่ี ๓ ประวตั ขิ องขา้ วโพดในประเทศไทย ปัจจบุ นั นไี้ มอ่ าจทราบแน่ชดั วา่ บรรพบรุ ษุ ของ ไทยเรา รจู ้ ักปลกู ขา้ วโพดกนั มาตงั้ แตเ่ มอื่ ใด ถงึ แมจ้ ะมนี ักคน้ ควา้ บางทา่ นกลา่ ววา่ ชนชาตไิ ทย อาจรจู ้ ักปลกู ขา้ วโพดกนั มากอ่ นทจี่ ะอพยพมาตงั้ ถนิ่ ฐานอยใู่ นแหลมทองเสยี อกี บางทา่ น สนั นษิ ฐานวา่ ไดร้ ับขา้ วโพดมาจากอนิ เดยี แต่ ทงั้ นไี้ มม่ หี ลกั ฐานยนื ยนั ไดแ้ น่ชดั เอกสารเกา่ แก่ ทพี่ บเป็ นจดหมายเหตขุ องลแู บร์ (Monsieur De La Loubere) ชาวฝรั่งเศสทเี่ ขา้ มาเมอื ง ไทยในสมยั แผน่ ดนิ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๒๓๐-๒๒๓๑ โดยไดเ้ ขยี นไว ้ วา่  \"คนไทยปลกู ขา้ วโพดแตใ่ นสวนเทา่ นน้ั และตม้ กนิ หรอื เผากนิ ทง้ั ฝกั โดยมไิ ดป้ อก เปลอื ก หรอื กะเทาะเมล็ดเสยี กอ่ น\" เขายังได ้ อธบิ ายถงึ ขา้ วโพดสาลี (kaou-possali) วา่ เป็ นอาหารเฉพาะพระเจา้ แผน่ ดนิ จดหมายเหตุ ฉบบั นท้ี ำใหพ้ อทราบวา่ ขา้ วโพดมปี ลกู ใน ประเทศไทยมาตงั้ แตส่ มัยนัน้ แลว้ หากแตป่ ลกู กนั ไมม่ ากนักคงจะปลกู กนั อยา่ งพชื หายาก หรอื พชื แปลกทน่ี ำมาจากทอ่ี น่ื แหลง่ ทมี่ า นายชเู กยี รติ อถิ รัชด์ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=3&chap=2&page=t3-2-infodetail04.html ชอื่ หนังสอื สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เลม่ ๓

เพอ่ื ใหค้ วามรเู ้ กย่ี วกบั ขา้ วโพดในไทย

สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เล่มทีC ๓๗ หอศิลป์ หอศิลป์ (Art Gallery) คือ สถานท0ีเกบ็ รวบรวมสะสมผลงานศิลปกรรม ของศิลปิ นในแต่ละยคุ สมยั และมีหนา้ ที0ดูแลรักษาผลงาน จดั แสดง นิทรรศการผลงานดา้ นศิลปวฒั นธรรม เพื0อการศึกษา คน้ ควา้ เผยแพร่ ให้ ความรู้และความเพลิดเพลินแก่สาธารณชน หอศิลป์ เป็นส่วนหน0ึงของ การแบ่งประเภทพิพิธภณั ฑ์ ซ0ึงพิพิธภณั ฑโ์ ดยทวั0 ไป แบ่งออกเป็น ประเภทสาขาวชิ าต่างๆ ไดแ้ ก่ ศิลปะ ประวตั ิศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ ธรรมชาติวทิ ยา ในระยะแรก พิพิธภณั ฑไ์ ม่ไดแ้ บ่งประเภทสาขาวชิ า แต่ จะรวบรวมผลงานที0เกบ็ สะสมและผลงานวชิ าการไวท้ ุกสาขา ต่อมาเม0ือ โลกมีความเจริญกา้ วหนา้ มากขUึน มีส0ิงของท0ีไดเ้ กบ็ รวบรวมไวม้ ากขUึน จึง เริ0มมีการแบ่งประเภทสิ0งของและผลงานต่างๆ ออกเป็นผลงานดา้ น ศิลปวฒั นธรรมและผลงานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ แหล่งท0ีมา : พล.อ.ต.กาํ ธน สินธวานนท.์ หอศิลป์ ,สืบคน้ เม0ือ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๕. จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=37&chap=2& page=t37-2-infodetail01.html ช0ือหนงั สือ : สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เล่มท0ี ๓๗ จดั ทาํ ขUึนเพื0อตามพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เพื0อใหค้ นไทยทุก เพศทุกวยั ไดม้ ีความรู้ เสริมทกั ษะในดา้ นต่างๆตามประเภทนUนั

สารานกุ รมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เล่มท๑ี ๙ ววิ ฒั นาการของมา้ มีหลกั ฐานจากฟอสซิลพบว่า ในสมยั โบราณมีสัตวห์ ลายชนิดทเี่ จริญเตบิ โต และพฒั นาการมาจากบรรพบรุ ุษของ มา้ ปัจจุบนั คงเหลือแตส่ ตั วต์ ระกูลมา้ บรรพบุรุษเกา่ แก่ของ มา้ ไดถ้ ือกาํ เนิดข้ึนมาเป็นคร้ังแรกมขี นาดตวั เทา่ สุนขั จิ้งจอก หนา้ ตาคลา้ ยมา้ ในปัจจุบนั ขาหนีบมนี ้ิวเทา้ ๔ นิ้ว ขาหลงั มี ๓ นิ้ว ลกั ษณะฟันบ่งช้ีวา่ เป็นสตั วท์ ีก่ ินใบไมเ้ ป็นอาหาร ๑มีจาํ นวนน้ิวของแต่ละเทา้ เป็นเลขค่ี น้าํ หนกั ตวั ส่วนใหญ่จะตกลงบนนิ้วกลาง ซ่ึงเป็นนิ้วที่ยาวที่สุด และจะ เดินโดยใชก้ ีบหรือน้ิวเทา้ เท่าน้นั สน้ เทา้ จะไม่แตะพ้นื ๒. ริมฝีปากและฟันมีการพฒั นาให้มีรูปลกั ษณะท่ี เหมาะสมในการกินและบดเค้ียวพืชเป็ นอาหาร แหลง่ ทม่ี า : พล.อ.ต.กาํ ธน สนิ ธวานนท.์ หอศลิ ป์ ,สบื คน้ เม0ื อ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๕. จาก : สารานกุ รมไทยสาํ หรบั เยาวชน (saranukromthai.or.th) ชอ่ื หนังสอื : สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน โดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เลม่ ท๑ี ๙ จดั ทําขน้ึ เพ่อื ตามพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระ เจา้ อย่หู วั เพ่อื ใหค้ นไทยทกุ เพศทุกเพศทุกวยั ไดม้ คี วามรู้ เสรมิ ทกั ษะในดา้ นต่างๆตาม ประเภทนนั้

สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว เล่มทCี ๔๐ พิพิธภณั ฑสถาน \"พิพิธภณั ฑสถาน\" หมายถึง สถานที3ท3ีแสวงหา เกบ็ รวบรวม ส3ิงของท3ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม วทิ ยาศาสตร์ และธรรมชาติ เพื3อนาํ มาอนุรักษใ์ หส้ 3ิงของต่าง ๆ นVนั อยใู่ นสภาพท3ีมน3ั คง แขง็ แรงก่อนจะนาํ มาจดั แสดง เป็นส3ือเล่าเรื3องราวท3ีเกี3ยวขอ้ ง กบั มนุษย์ และส3ิงแวดลอ้ มตามท3ีไดม้ ีการศึกษาคน้ ควา้ มา เพ3ือใหผ้ เู้ ขา้ ชมไดร้ ับความรู้แบบเพลิดเพลินใจ ปัจจุบนั นิยม เรียกสVนั ๆ วา่ \"พิพิธภณั ฑ\"์ อยา่ งไรกด็ ี ทVงั ๒ คาํ สามารถใชใ้ น ความหมายเดียวกนั ได้ ทVงั นVี เริ3มใชค้ าํ นVีในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และทรงใชค้ าํ นVีเป็น ส่วนหน3ึงของนามพระที3นง3ั ท3ีโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างขVึน สาํ หรับ ใชใ้ นการจดั แสดงวตั ถุสะสมส่วนพระองค์ พระราชทานนาม พระที3นงั3 องคน์ Vนั วา่ พระที3นง3ั ประพาสพิพิธภณั ฑ์ แหล่งท3ีมา : พล.อ.ต.กาํ ธน สินธวานนท.์ พิพิธภณั ฑสถาน,สืบคน้ เม3ือ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕. จาก https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=40&chap=1&page=chap1.htm ชื3อหนงั สือ : สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เล่มที3 ๔๐ จดั ทาํ ขVึนเพื3อตามพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เพ3ือให้ คนไทยทุกเพศทุกวยั ไดม้ ีความรู้ เสริมทกั ษะในดา้ นต่าง ๆ ตามประเภทนVนั

สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว เล่มท่ี ๒๓ ประวตั กิ ารผลิตเบียร์ ในเร่ืองประวตั ิความเป็นมาของเบียร์น้นั พบว่ามกี ารผลติ เบยี ร์เป็น เครื่องดื่มมาเป็นเวลานานเกือบ ๕,๐๐๐ ปี โดยมกี ารคน้ พบบนั ทกึ เร่ืองราวทพี่ ูดถึงการแบง่ ปันเบียร์และขนมปังใหก้ บั ผใู้ ชแ้ รงงานการ ทาเบียร์และบริโภคในสมยั น้นั พบวา่ ใกลเ้ คยี งกบั ขอ้ บญั ญตั ทิ ่ีบงั คบั ใชใ้ นสมยั ของกษตั ริยฮ์ มั มรู าบี พบหลกั ฐานที่เป็นภาพเขยี น เกีย่ วกบั เรื่องราวของการผลติ เบยี ร์บนแผ่นหินโดยเอาขนมปังที่ทาจากแป้งขา้ วบาร์เลย์ ต่อจากน้นั จึงเอาไปปิ้ งไม่ ตอ้ งใหส้ ุกดีแลว้ เอาไปแช่น้าหมกั ทง้ิ คา้ งคนื ไว้ ในศตวรรษที่ ๑๕ พบวา่ วตั ถดุ บิ สาคญั ทใ่ี ชใ้ นการผลิตเบยี ร์มีปริมาณนอ้ ยลง เนื่องจากผลกระทบจาก ธรรมชาติ จงึ มกี ารนาพชื ชนดิ อน่ื มาใชแ้ ทนฮอ็ พ ดงั น้นั ในปี ค.ศ. ๑๕๑๖ จึงมกี ารต้งั กฎแห่งความบริสุทธ์ิ เพ่อื กาหนดใหผ้ ูผ้ ลิตเบยี ร์ตอ้ งใชเ้ ฉพาะขา้ วมอลตฮ์ อ็ พและน้าเทา่ น้นั สาหรบั การผลิตเบียร์เพราะตอ้ งการใหผ้ บู้ ริโภค ไดร้ ับความยุตธิ รรมในเร่ืองของราคาและคุณภาพ แหลง่ ที่มา: พล.อ.ต กาธน สิทธวานนท์ ,สืบคน้ เม่ือ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๕ จาก: สารานกุ รมไทยสาหรับเยาวชน (saranukromthai.or.th) ช่ือหนงั สือ: สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนเพ่อื พระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว เล่มที่ ๒๓ จดั ทาข้ึนเพือ่ ตามพระราชประสงค์ ให้คนไทยทุกเพศทกุ วยั ใหม้ คี วามรู้เสริมทกั ษะดา้ นต่างๆ อย่างรอบดา้ น

สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว เล่มที่ ๒๔ วรรณคดีมรดก วรรณคดีมรดก เป็ นคาํ ท0ีกระทรวงศึกษาธิการกาํ หนดข:ึน เพื0อใหเ้ ป็นรายวชิ า ท ๐๓๓ ตามหลกั สูตร ภาษาไทย พ.ศ. ๒๕๒๔ หมายถึง \"วรรณคดีที0ไดร้ ับ การยกยอ่ งกนั มาหลายชวั0 อายคุ น ในดา้ นวรรณศิลป์ กบั ในดา้ นที0แสดงค่านิยม และความเช0ือ ในสมยั ขอ งบรรพบุรุษ ส่งเสริ มให้เปรี ยบเทียบชีวิตมนุษย์ ในสมยั ของบรรพบุรุษกบั ชีวติ ในปัจจุบนั \" ก่อนท0ีจะกล่าวถึงวรรณคดีมรดกเรื0องต่างๆ ตอ้ งกล่าว ถึงความหมายของ วรรณกรรม และ วรรณคดี เพ0ือใหผ้ ู้ อ่านสามารถเขา้ ใจไดอ้ ย่างชดั เจน ตามพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ วรรณคดีไทยท0ีไดร้ ับการยกยอ่ งอยา่ งต่อเน0ืองมา ต:งั แต่สมยั สุโขทยั จนถึงสมยั รัตนโกสินทร์ในปัจจุบนั ลว้ นมีคุณค่าทาง ดา้ นวรรณศิลป์ และดา้ นสงั คม ที0แสดงใหเ้ ห็นค่านิยม และความเชื0อของคนไทย ส่วนการแต่งวรรณกรรมกไ็ ดม้ ีววิ ฒั นากา รมาอยา่ งต่อเนื0องท:งั ดา้ นร้อยกรอง และร้อยแกว้ ผแู้ ต่งวรรณกรรมร้อยกรองเรียกวา่ กวี ส่วนผแู้ ต่งวรรณกรรมร้อยแกว้ มกั จะเรียกวา่ ผปู้ ระพนั ธ์ หรือจะเรียกตามประเภทของวรรณกรรมกไ็ ด้ เช่น ผแู้ ต่งวรรณกรรมประเภทบทละครจะเรียกวา่ ผู้ แต่งบทละคร ผแู้ ต่งนวนิยายหรือเร0ืองส:นั เรียกวา่ ผแู้ ต่งนวนิยาย แหล่งท0ีมา : พล.อ.ต.กาํ ธน สินธวานนท.์ พิพิธภณั ฑสถาน,สืบคน้ เมื0อ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕. จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=24&chap=1&page=t24-1-infodetail01.html ช0ือหนงั สือ : สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ นพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เล่มที0 ๒๔ จดั ทาํ ข:ึนเพื0อตามพระราชประสงคข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เพ0ือให้ คนไทย ทุกเพศทุกวยั ไดม้ ีความรู้ เสริมทกั ษะในดา้ นต่างๆตามประเภทน:นั ๆ

คณะผู้จดั ทาํ นายณภทั ร หอมหวน ม.6/7 เลขท1ี2 นายณฐั ชนน สินทรัพย์ ม.6/7 เลขที14 นายธีรภทั ร์ นิพทั ธกศุ ลศิล ม.6/7 เลขท1ี5 นายวงศพ์ นั ธ์ วอ่ งเมธากลุ ม.6/7 เลขที19 นางสาวกานตส์ ินี นพเกตุ ม.6/7 เลขที115 นางสาวณฐั พร ดีเสมอ ม.6/7 เลขที119 นางสาวธนั ญว์ ริน ธนเศรษฐวศิ าลม.6/7 เลขที121 นางสาวบุณยานุช สุขจร ม.6/7 เลขที123 นางสาวภวดิ า ปัณฑวนนั ทม์ .6/7 เลขท1ี29

บรรณานกุ รม สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 2 ( 2518 ) แหลง่ ทม่ี า นายทวศี กั ดิ์ ปิยะกาญจน์ พมิ พข์ นึ้ ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/other_sub.php?file=encyclop edia/book2.html (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 37 ( 2565 ) แหลง่ ทม่ี า : พล.อ.ต.กำธน สนิ ธวานนท.์ หอศลิ ป์ ,สบื คน้ เมอ่ื ๑๕ มกราคม ๒๕๖๕.จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=37&chap=2&page=t37-2-infodetail01.html ชอ่ื หนังสอื : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาท สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ที่ ๓๗. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 19 ( 2565 ) แหลง่ ทม่ี า : พล.อ.ต.กำธน สนิ ธวานนท.์ หอศลิ ป์ ,สบื คน้ เม0ื อ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๕. จาก : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน (saranukromthai.or.th) ชอ่ื หนังสอื : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาท สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 40 ( 2565 ) แหลง่ ทม่ี า : พล.อ.ต.กำธน สนิ ธวานนท์ พพิ ธิ ภณัฑสถาน,สบื คน้ เมอ่ื ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕. จาก https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=40&chap=1&page=chap1.htm ชอื่ หนังสอื : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ท่ี ๔๐ (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 23 (2565) แหลง่ ทม่ี า: พล.อ.ต กาธน สทิ ธวานนท์ ,สบื คน้ เมอ่ื ๑๕ มกราคม ๒๕๖๕ จาก: สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน (saranukromthai.or.th)

ชอื่ หนังสอื : สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนเพอื่ พระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ที่ ๒๓ (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 24 ( 2565 ) แหลง่ ท0ี มา : พล.อ.ต.กำธน สนิ ธวานนท.์ พพิ ธิ ภณั ฑสถาน,สบื คน้ เม0ื อ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๕.จาก https://saranukromthai.or.th/sub/boo k / b o o k . p h p ?book=24&chap=1&page=t24-1- infodetail01.html ชอ่ื หนังสอื : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคใ์ นพระบาท สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เลม่ ท่ี ๒๔ (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 33 ( 2565 ) แหลง่ ทม่ี า ม.ร.ว.พฒุ พิ งศ์ วรวฒุ ิ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=4&chap=2&page=t4-2-infodetail01.html ชอ่ื หนังสอื สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เลม่ ๓๓ (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 4 ( 2565 ) แหลง่ ทม่ี า ม.ร.ว.พฒุ พิ งศ์ วรวฒุ ิ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=4&chap=2&page=t4-2-infodetail01.html ชอ่ื หนังสอื สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เลม่ ๔ (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565). สารานุกรมไทยสำหรับเยาชน เลม่ 3 ( 2521 ) แหลง่ ทมี่ า นายชเู กยี รติ อถิ รัชด์ จาก https://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php? book=3&chap=2&page=t3-2-infodetail04.html ชอื่ หนังสอื สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เลม่ ๓ (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู : 3 มกราคม 2565).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook