Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยในชั้นเรียนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้น ม.5

การวิจัยในชั้นเรียนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้น ม.5

Published by ebook4, 2020-06-29 04:36:12

Description: การวิจัยในชั้นเรียนการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้น ม.5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ในรายวิชาการสร้างเว็บไซต์ โดยการปรับเปลี่ยนวิธีสอนแบบสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ในการเรียน

Search

Read the Text Version

การวจิ ยั ในช้ันเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ของนกั เรียนระดบั ชนั้ ม.๕ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ในรายวิชาการสรา้ งเวบ็ ไซต์ โดยการปรับเปลยี่ นวธิ สี อนแบบสรา้ ง แรงจูงใจ เพ่ือให้เกดิ ปฏิสมั พนั ธใ์ นการเรียน วิจยั โดย นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ ตำแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ อำเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ สงั กัดสำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ การวิจัยในช้นั เรียน การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ของนักเรยี นระดับช้นั ม.๕

คำนำ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อแสดงรายละเอียดการดำเนินงาน ของกระบวนการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างนักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถในการสร้างเว็บไซต์ และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนรู้ ด้วยเหตุ ที่ว่า นักเรียนในความรับผิดชอบยังมีผลการเรียนรู้และความทักษะการทำโปรแกรม กราฟิกยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด รวมทั้งมีผลกระทบต่อการ เรียนรูใ้ นรายวชิ าน้ี รายละเอียดของเอกสารเล่มนี้ ประกอบด้วยที่มาของปัญหา คำถามการวิจัย จุดประสงค์ ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือในการฝึก วิธีดำเนินการ วิเคราะห์ ข้อมูล การสะท้อนผลและข้อเสนอแนะ รวมทั้งเอกสาร หลักฐานที่เป็นผลจากการ ดำเนินงานการเรยี นการสอน นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ ผูจ้ ดั ทำวิจัย

สารบัญ หนา้ บทที่ 1 บทนำ 1 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 2 สมมุตฐิ าน 2 ขอบเขตการดำเนินงาน 2 ระยะเวลาในการทำวจิ ัย 2 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับ 3 นิยามศพั ท์ 3 บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 4 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การวจิ ยั 7 เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั 7 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 7 การวิเคราะห์ข้อมลู 8 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 9 บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 10 ภาคผนวก ภาค ก แบบประเมินการปฏิสัมพันธ์ในการเรยี นในรายวชิ าโปรแกรมกราฟิก ภาค ข ภาพการดำเนนิ การ

1 ชือ่ งานวจิ ยั การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ของนักเรยี นระดบั ชั้น ม.๕ โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ในวชิ าการสร้างเวบ็ ไซต์ โดยการปรบั เปล่ียนวธิ สี อนแบบสรา้ ง แรงจงู ใจ เพอื่ ให้เกดิ ปฏสิ ัมพนั ธใ์ นการเรยี น ชื่อผวู้ จิ ัย นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร)์ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา การเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ ผู้เรียนต้องมีทั้งความรู้ ความเข้าใจ และการ นำไปใช้เพื่อนำไปพัฒนาให้เกิดเป็นทักษะในการเรียนรู้ขึ้น ดังนั้นในกระบวนการเรียน การสอน ผู้สอนจึงต้องสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดปฏิสัมพันธ์ภายในช้ัน เรียน และจะทำให้เกิดการพัฒนาพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย อันจะส่งผลต่อเนื่องไปถึง ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ดีขึ้น แต่ปัญหาที่พบในการเรียนการสอนในปัจจุบัน ผู้เรียนขาด ความเอาใจใส่ในการเรียน ไม่ค่อยมีปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน จึงทำให้ผู้เรียนไม่ได้เกิดการ พัฒนาในด้านต่าง ๆ อย่างที่ควรจะเป็น และทำให้ผู้สอนไม่สามารถทีจ่ ะประเมนิ ผลดา้ น การเรียนของผเู้ รยี นได้อย่างชัดเจน จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นทำให้ผู้วิจัยหาเครื่องมือในการสร้างแรงจูงใจเพื่อที่จะ กระตุ้นให้ผูเ้ รยี นได้มีปฏิสัมพันธ์ให้มากข้ึนภายในชั้นเรยี นเพื่อทีจ่ ะช่วยให้ผู้เรียนได้มกี าร พัฒนาตนเองและก้าวไปสู่การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนได้มี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นที่ดขี ึน้ ตามทฤษฎีจูงใจของมาสโลว์ Maslow’s (อ้างใน สุวมิล แม้นจริง, 2546 : 148-149) ได้ อธิบายว่า บุคคลต่าง ๆ จะถูกกระตุ้นหรือถูกผลักดันเนื่องจากความ ต้องการบางสงิ่ บางอยา่ ง ณ เวลา ใดเวลาหนง่ึ ซึง่ มาสโลว์ได้แบ่งความตอ้ งการของมนษุ ย์ ออกเป็นลำดับข้นั ทงั้ หมด 5 ขน้ั ตอน คอื

2 ความ 5 ความ ต้องการ ประสบความ สาเรจ็ สาเรจ็ ในชีวิต ความตอ้ งการ การยกยอ่ ง 4 ชือ่ เสียงเกยี รตยิ ศ การยกย่อง ความต้องการด้านสังคม 3 ความรัก การยอมรบั ความตอ้ งการความปลอดภยั มีสว่ นร่วม ความต้องการขนั้ พืน้ ฐาน 2 ความปลอดภัย ความม่นั คง ความค้มุ ครอง 1 อาหาร ท่ีอยอู่ าศัย เครื่องนงุ่ ห่ม ยารกั ษาโรค ภาพท่ี 5 แสดงลำดับข้ันความตอ้ งการของมาสโลว์ ทม่ี า : สวุ ิมล แมน้ จรงิ , (2546 : 148) 1.2 วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 1. เพอ่ื สรา้ งแรงจูงใจให้ผูเ้ รียนเกิดปฏิสัมพนั ธภ์ ายในชน้ั เรียน 2. เพอ่ื พฒั นาเครอื่ งมอื ในการสรา้ งแรงจงู ใจ 3. เพือ่ ชว่ ยให้ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นทีด่ ีขน้ึ 1.3 สมมตุ ิฐาน ประชากรในการวจิ ัยคร้งั นี้ไดแ้ ก่นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นราชประชา นเุ คราะห์ ๓๑ มผี ลสัมฤทธใ์ิ นระดบั ดขี ้ึนไป 1.4 ขอบเขตการดำเนนิ งาน นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ในรายวชิ า โปรแกรมกราฟกิ จำนวน 20 คน 1.5 ระยะเวลาในการทำวจิ ัย 1 ตุลาคม 2560 – 30 มกราคมคม 2561 ปีการศึกษา 2560 1.6 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั

3 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 รายวิชาการสร้างเว็บไซต์ จำนวน 20 คน มผี ลสัมฤทธิ์ในทางทีพ่ ฒั นาดีย่ิงขน้ึ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 รายวิชาการสร้างเว็บไซต์ จำนวน 20 คน มีความสัมพันธ์ท่ีดตี อ่ กนั มผี ลการเรยี นท่ดี ขี ้ึน 1.7 นยิ ามศัพท์ นักเรียน หมายถงึ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาชนั้ ปีที่ 5 รายวิชาการสร้างเว็บไซต์ จำนวน 20 คน

4 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ในการจดั ทำวิจัย การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรยี นระดบั ช้นั ม.๕ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ในรายวิชาการสรา้ งเว็บไซต์ โดยการปรบั เปล่ยี นวธิ ีสอน แบบสรา้ งแรงจงู ใจ เพอ่ื ให้เกิดปฏสิ มั พนั ธ์ในการเรยี นไดศ้ กึ ษาคน้ คว้าเกยี่ วกับเรื่องต่าง ๆ ดงั น้ี 1. ทกั ษะกระบวนการคิด 2. แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ 3. หลักสตู ร 4. การวดั ผลและประเมนิ ผล ทกั ษะกระบวนการคิด เปน็ เรื่องทส่ี ำคัญอยา่ งยิง่ ในการศกึ ษาวยั เด็กเปน็ วัยท่ี สมองกำลังเจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเร็วจงึ ควรไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งถูกต้องและจริงจัง เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการอย่างเตม็ ศักยภาพเดก็ ควรได้รับการพฒั นาสมองเรื่อง ความคิด โดยอาศยั ปจั จัยหลายดา้ นมากระตุน้ เชน่ สภาพแวดลอ้ ม กิจกรรมการ จัดการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายส่อื การสอนการวัดผลและประเมนิ ผล หากเดก็ ได้รบั การ พฒั นาทไี่ มถ่ กู ตอ้ งเหมาะสมจะทำให้สมองไม่สามารถพฒั นาไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพดว้ ยเหตุ นีค้ รผู สู้ อนควรได้ทราบถึงทฤษฎีหลกั การและแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วกบั การคดิ และการสอนเพอื่ พฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ซ่งึ มรี ปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ่เี น้นผ้เู รียนเป็น สำคญั เพอื่ ฝึกเสรมิ ทักษะใหน้ ักเรียนไดพ้ ฒั นาและเกิดกระบวนการคดิ ซ่งึ เผยแพรโ่ ดย สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2550) ไดแ้ ก่ 1. การจดั การเรยี นรูแ้ บบส่งเสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์ 2. การจดั การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการสพู่ หปุ ญั ญา 3. การจดั การเรียนรูแ้ บบโครงงาน 4. การจดั การเรยี นรู้จากแหล่งเรยี นรู้

5 5. การจดั การเรียนรแู้ บบใช้ปัญหาเปน็ ฐาน 6. การจดั การเรยี นรแู้ บบประสบการณแ์ ละเนน้ การปฏิบัติ 7. การจัดการเรียนรแู้ บบกระบวนการแกป้ ญั หา 8. การจัดการเรียนรแู้ บบสร้างองค์ความรู้ 9. การจดั การเรียนรแู้ บบพัฒนากระบวนการคิดดว้ ยการใช้คำถามหมวก 6 ใบ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2547) ได้จัดประมวลความรู้ เกี่ยวกับ การสอนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และสื่อประเภทพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด ว่าควรให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้แก่การสังเกต การ เปรียบเทียบ การตั้งคำถาม การคาดคะเนการสรุปการนำไปประยุกต์ซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิดของกานเิ ย( Gagne,1974) ทเ่ี ป็นลกั ษณะกระบวนการโดยเริ่มต้นจากสัญลกั ษณ์ ทางภาษาจนกระทั่งสามารถโยงเป็นความคิดรวบยอดเป็นกฎเกณฑ์และการที่จะนำ กฎเกณฑ์ไปใช้การพัฒนาทักษะกระบวนการคิดในขั้นพื้นฐานนี้ ขึ้นอยู่กับกิจกรรมการ จัดการเรียนการสอนโดยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ผ่านขั้นตอนย่อยทุกขั้นตอนเช่นเดียวกับทศิ นา แขมมณี และคณะ (2544) ได้อธิบายเกี่ยวกับการคิดว่าเกิดจากการสังเกต การ อธบิ าย การรบั ฟงั การเชอื่ มโยงความสมั พันธ์ การวิจารณ์ และการสรุป การจัดการเรียนรู้แบบพัฒนาทั กษะกระบวนการคิดด้วยการใช้คำถาม ซ่ึง เผยแพรโ่ ดยสำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2550) ไดใ้ ห้เทคนคิ “ Six thinking hats ” เพอ่ื ใหช้ ว่ ยจดั ระเบียบการคิด ทำให้การคิดมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน และใน ปจั จบุ นั วิธกี ารดงั กล่าวน้ไี ด้มกี ารนำไปใช้ และเผยแพร่อยา่ งกวา้ งขวางโดยหมวกแต่ละใบ ได้นำเสนอทางเลือกที่เป็นไปได้ตามมุมมองต่าง ๆ ของปัญหาโดยวิธีการสวมหมวกทีละ ใบในแต่ละครั้ง เพื่อพลังของการคิดจะได้มุ่งเน้นไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งเป็นการ เฉพาะ ซึ่งจะทำให้ความเห็นและความคิดสามารถแสดงออกได้อย่างอิสระทำให้ผู้ใช้ สามารถหลีกเล่ยี งความขดั แยง้ ทไี่ มจ่ ำเป็นได้และยงั เปน็ การดงึ เอาศกั ยภาพของแต่ละคน โดยไมร่ ตู้ ัว

6 อษุ ณยี ์ โพธสิ์ ขุ (2540) ไดก้ ล่าวถึงการสง่ เสริมแนวความคิดของผเู้ รียน สามารถ ทำได้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในทางตรงส่งเสริมโดยการฝึกสอนฝึกฝนและอบรมและ ทางออ้ มส่งเสรมิ โดยการสรา้ งบรรยากาศและการจดั ส่งิ แวดลอ้ มส่งเสรมิ การเป็นอิสระใน การเรียนรู้ การพัฒนาความคิดมีองค์ประกอบที่สำคัญที่ควรดำเนินการในการจัด กระบวนการเรยี นรู้ ดงั น้ี 1. กระบวนการคิด เป็นการเพิ่มทักษะความคิดด้านต่าง ๆ เช่นความคิด จินตนาการ ความคิดเอกนัย อเนกนัย ความคิดวิจารณญาณ ความคิด ว ิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ค ิ ด ส ั ง เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ค ิ ด แ ป ล ก ใ ห ม่ ค ว า ม คิ ด หลากหลาย ความคิดยืดหยุ่น ความคิดเห็นที่แตกต่างกัน และ การ ประเมินผล

7 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจยั ในการจัดทำวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้น ม.๕ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ในรายวิชาการสร้างเว็บไซต์ โดยการปรับเปลี่ยนวิธี สอนแบบสรา้ งแรงจงู ใจ เพ่ือให้เกดิ ปฏสิ ัมพันธ์ในการเรียน โดยมีหลกั การดำเนินงานดังน้ี เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 1. แบบฟอร์มการเก็บคะแนนพิเศษ เป็นแบบฟอร์มที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นเอง โดยออกแบบมาเพ่อื ใช้เก็บคะแนนพิเศษรายบุคคล เม่อื ผเู้ รยี นได้มปี ฏสิ ัมพันธ์ภายในชั้น เรียน ผู้เรยี นสามารถเก็บคะแนนได้ 50คะแนน จากแบบประเมินก่อนและหลังเรียน ซึ่ง เครื่องมือนี้จะได้มีการแปลผลออกมาว่าผู้เรียนนั้นมีปฏิสัมพันธ์ภายในชั้นเรียนมากน้อง เพยี งใดกบั การใชแ้ รงจงู ใจโดยการเพิ่มคะแนนพิเศษ ซึง่ มีเกณฑ์การวัดผลดงั นี้ คะแนน ระดับผู้เรียน 41 – 50 ผเู้ รยี นมปี ฏิสมั พันธ์มากทีส่ ุด 31 – 40 ผู้เรยี นมีปฏิสมั พันธ์มาก 21 - 30 ผู้เรยี นมีปฏิสัมพันธป์ านกลาง 11 - 20 ผูเ้ รยี นมปี ฏิสมั พันธ์นอ้ ย 0 – 10 ผู้เรียนไมม่ ีปฏสิ ัมพันธ์ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. ผู้วิจัยชี้แจงถึงเครื่องมือที่ได้สร้างขึ้น วัตถุประสงค์ของการนำเครื่องมือมา ใช้งาน คือเพื่อ ต้องการให้ผู้เรียนเกิดปฏิสัมพันธ์ให้ได้มากทีส่ ุด เพื่อที่ผูเ้ รียนจะได้ฝึกคิด กล้าแสดงออก และเพ่ือเป็นการทำให้ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นดีขึน้ 2. แจกเครอื่ งมอื (ใบเกบ็ คะแนนพเิ ศษ) ใหก้ บั ผู้เรยี นรายบคุ คล 3. ดำเนินการเก็บข้อมูล เมื่อผูเ้ รียนมปี ฏสิ ัมพันธ์ในชั้นเรียน เช่น ตอบคำถาม ไดถ้ ูกตอ้ ง, แสดงความคิดเหน็ ท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อการเรยี น, รว่ มกิจกรรมหนา้ ชัน้ เรียน มี ความมงุ่ มั่นต้ังใจ เป็นต้น 4. สัปดาห์ที่ 16 ของการเรียนการสอนผู้เรียนรวบรวมคะแนนพิเศษที่ได้ส่ง ผสู้ อนเพ่อื ท่ีจะ ได้นำไปประเมินการมีปฏสิ มั พันธ์ของผู้เรยี น

8 5. หาค่าอัตราสว่ นรอ้ ยละ (Percentage) และค่าเฉลีย่ เลขคณติ (Arithmetic Mean) การวเิ คราะห์ขอ้ มลู สถติ ิท่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู หลงั จากท่ีได้มีการใชเ้ ครอื่ งมือแบง่ เปน็ 2 ส่วน คอื 1. หาค่าอัตราส่วนร้อยละ (Percentage) เป็นการบรรยายด้วยการนับ จำนวนค่าทเ่ี ปน็ ไปได้ของขอ้ มลู ใช้ในการอธิบายขอ้ มูลท่ัวไป ค่ารอ้ ยละ = จำนวนขอ้ มลู ท่ีเกบ็ ได้ ������ 100 จำนวนขอ้ มลู ทง้ั หมด 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) เป็นค่าที่คำนวณได้จากการหา ผลรวมของค่าข้อมูลทกุ จำนวนที่เกบ็ รวบรวมมาไดแ้ ละหารด้วยจำนวนขอ้ มลู ทั้งหมด ค่าเฉลยี่ (Mean) = ∑ ������ ������ เมอ่ื x = คา่ ของขอ้ มลู ทกุ ตัว n = ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง

9 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เครื่องมือที่ใช่ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ แบบประเมินการปฏิสัมพันธ์ในการเรียนใน รายวิชาการสร้างเว็บไซต์ โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากร จำนวน 20 คน แลว้ นำมาวิเคราะห์ข้อมูลซ่งึ ปรากฏผลดงั น้ี ตารางที่ 1 แสดงผลระดับการมปี ฏิสมั พันธ์ภายในชน้ั เรยี น (20 คน) กอ่ นเรียน รายวชิ าการสร้างเวบ็ ไซต์ คะแนน ระดบั ผ้เู รยี น จำนวน ร้อยละ ค่าเฉล่ยี (คน) (%) (̅̅���̅���̅) 41 - 50 ผู้เรยี นมปี ฏิสัมพันธ์มากท่สี ดุ 364 31 - 40 ผู้เรยี นมีปฏสิ ัมพันธม์ าก 8 40.00 213 21 - 30 ผ้เู รยี นมีปฏิสมั พนั ธป์ านกลาง 6 30.00 102 11 - 20 ผู้เรียนมปี ฏิสัมพันธ์นอ้ ย 4 20.00 31 0 - 10 ผู้เรียนไม่มีปฏสิ มั พันธ์ 2 10.00 - - - N = 20 =711 = = 711 20 = 35.55 ดงั นนั้ คา่ เฉลย่ี = 35.55

10 ตารางที่ 2 แสดงผลระดับการมีปฏสิ มั พนั ธ์ภายในชั้นเรยี น (20 คน) หลังเรยี น รายวิชาการสร้างเวบ็ ไซต์ คะแนน ระดบั ผู้เรยี น จำนวน รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี (คน) (%) ̅(̅���̅���̅) 41 – 50 ผเู้ รียนมีปฏสิ มั พนั ธม์ ากท่สี ุด 11 55.00 505.5 31 - 40 ผเู้ รียนมีปฏิสัมพนั ธ์มาก 8 40.00 284 21 - 30 ผู้เรยี นมปี ฏิสมั พนั ธป์ านกลาง 1 5.00 25.5 11 - 20 ผ้เู รยี นมปี ฏสิ ัมพนั ธน์ อ้ ย - - - 0 – 10 ผเู้ รยี นไม่มปี ฏสิ มั พนั ธ์ -- - N = 20 =815 = = 815 20 = 40.75 ดังน้ันคา่ เฉลยี่ = 40.75

11 บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการปฏิสัมพันธ์ในการเรียนในรายวิชา การสรา้ งเวบ็ ไซต์ ของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาศกึ ษาปที ่ี 5 ซง่ึ ผู้วจิ ยั ขอนำเสนอ วัตถุประสงค์ สมมติฐาน สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ตามลำดบั ดงั นี้ 1. วัตถปุ ระสงค์ 2. สมมตฐิ าน 3. สรปุ ผลการวิจยั 4. อภิปรายผล 5. ขอ้ เสนอแนะ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย 1. เพ่อื สร้างแรงจงู ใจใหผ้ เู้ รยี นเกิดปฏิสัมพันธภ์ ายในช้ันเรยี น 2. เพอื่ พัฒนาเครอ่ื งมือในการสร้างแรงจงู ใจ 3. เพอื่ ช่วยให้ผูเ้ รียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนทดี่ ีข้นึ สรปุ ผลการวจิ ยั ผลประเมินการปฏิสัมพันธ์ในการเรียนในรายวิชาการสร้างเว็บไซต์ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 5 จากผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมี ปฏิสัมพันธ์ในการเรียนในรายวิชาการสร้างเว็บไซต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) สูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ ระดับ 5.20 แสดงว่า ผลประเมินการปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนหลังเรียนของ นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบ เป็นไปตามสมมุติฐานท่ีตั้งไว้ และ มีนักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของนักเรียนทั้งหมด และจากแบบประเมิน ความพึงพอใจยังพบอีกว่า เด็กมีเจตคติทางบวกต่อวิชาการสร้างเว็บไซต์เพิ่มมาก ขึ้น โดยมีเจตคติเฉลี่ยอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด แสดงให้เห็นว่าการ เรียนการสอนโดยใช้วิธีและเทคนิคต่างๆ มะประยุกต์กับการเรียนการสอน

12 สามารถกระต้นุ ให้เด็กสนุกสนาน มีความกระตือรือรน้ ที่จะเรียนรู้ ช่วยลดความตงึ เครียดของผูเ้ รยี น ช่วยเสรมิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนให้สงู ขึน้ ข้อเสนอแนะ 1) จากผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินการมีปฏิสัมพันธ์ในการเรียนทางการ เรียนหลังเรียนรายวิชาการสร้างเว็บไซต์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้แบบประเมินการมีปฏิสัมพันธ์ สูงกว่าก่อนเรียน ดังนั้น ครูผู้สอนควรนำเอาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อและเทคนิคต่างๆ ที่น่าสนใจ ไป ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะส่งผล ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ดีย่ิงขน้ึ

13 ภาคผนวก

14 แบบประเมินการปฏสิ มั พันธ์ในการเรยี นในรายวิชาการสร้างเวบ็ ไซต์ ชั้น ม.5 ของ .............................................................................................. วนั ท่.ี .................เดอื น.........................พ.ศ. ................. เวลา.......... ระดบั ความมีปฏสิ ัมพนั ธ์ในการเรยี น 5 = ผู้เรียนมปี ฏสิ มั พนั ธม์ ากทส่ี ดุ 4 = ผูเ้ รยี นมีปฏสิ มั พนั ธม์ าก 3 = ผู้เรียนมปี ฏสิ มั พันธ์ปานกลาง 2 = ผ้เู รยี นมีปฏสิ ัมพนั ธน์ อ้ ย 1 = ผู้เรียนไมม่ ปี ฏสิ มั พนั ธ์ ขอ้ ท่ี รายการประเมิน ระดับการมีปฏิสมั พนั ธใ์ นการเรยี น 5 43 2 1 1 นักเรยี นเขา้ เรียนตรงเวลา 2 นกั เรียนมคี วามมุ่งมัน่ ในการเรยี น 3 นักเรยี นส่งงานตามทคี่ รกู ำหนดครบทกุ ช้ิน 4 นกั เรียนมีความกระตอื รอื ร้นในการเรยี น 5 นักเรียนมคี วามรับผดิ ชอบ 6 นักเรียนมีปฏสิ มั พันธท์ ดี่ ตี อ่ ครผู สู้ อน 7 นกั เรียนมคี วามอยากเรยี นอยใู่ นรายวิชา 8 นักเรยี นมกี ารฝึกฝนนอกเวลาเรยี น 9 นกั เรยี นมีการนำไปประยุกต์ชิ้นงาน 10 นักเรียนมีความคดิ สรา้ งสรรค์กล้านำเสนอ ผลงาน ขอ้ เสนอแนะ 1. ...................................................................................................................... 2. ...................................................................................................................... 3. …………………………………………………………………………………………………………