Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore A Guide for Peace

A Guide for Peace

Published by pakpong.s, 2021-09-10 06:41:23

Description: A Guide for Peace

Search

Read the Text Version

7. ไมค่ วรขออาหารในงานเลยี้ งสงั สรรค์ กลบั บ้าน เนื่องจากคนมุสลมิ (นายู) ไมม่ ีธรรมเนียมหอ่ อาหารให้ แขกนำ� กลบั บา้ นเหมือนพื้นท่ีอืน่ ๆ ในภาคใต้ โดยปกตแิ ลว้ งานเลี้ยงสังสรรค์ในงานของประชาชนในพ้ืนที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เช่น งานแต่งงาน หรอื งานเลยี้ งฉลองต่าง ๆ เจ้าภาพมักจัดเลี้ยงแขกท่ีมาร่วมงานอย่างเต็มท่ี ทั้งอาหาร คาวหวานอยา่ งบรบิ รู ณ์ ดงั นน้ั การขอแบง่ อาหารบางสว่ นกลบั บา้ นจงึ เปน็ การกระทำ� ทีไ่ มเ่ หมาะสม 100 ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ุขชายแดนใต้

8. ไม่ใช่คนมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้ ทกุ คนจะพดู หรอื เขา้ ใจภาษาไทยสำ� เนยี ง ปกั ษ์ใตไ้ ด้ เนอื่ งจากประชาชนทีเ่ ป็นคนมุสลิม (นาย)ู ในพนื้ ที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้จ�ำนวนหน่ึง อาจมีทัศนคติในแง่ลบ ต่อคนไทยท่ีพูดส�ำเนียงปักษ์ใต้ มากกว่าคนไทยท่ีพูดภาษา กลางเสียอีก เน่ืองจากในประวัติศาสตร์ นครศรีธรรมราช และสงขลาซึ่งพูดส�ำเนียงปักษ์ใต้ ถูกมอบหมายให้จัดส่ง กองทัพไปปราบปรามการก่อความไม่สงบในพ้ืนที่ และใน ขณะเดียวกัน คนมุสลิม (นายู) ก็รับฟังข้อมูลข่าวสารและ ภาพการแสดงต่าง ๆ ผ่านสื่อสาธารณะ เช่น ขา่ ว หรือละคร เป็นต้น ท่ใี ชภ้ าษาไทยกลางหรอื ภาษาไทยมาตรฐาน ดงั นนั้ การพดู ภาษาไทยกลาง จงึ อาจเปน็ ทยี่ อมรบั และ ท�ำให้เข้าใจมากกว่า ชวนรู้เพอื่ สันติสุขชายแดนใต้ 101

9. หากคนมุสลิม (นาย)ู ไมพ่ ูดไทยดว้ ย ควรเปลย่ี นมาพูดนายแู ทน หากมีความจ�ำเป็นที่จะต้องเข้าไปในชุมชน แนะน�ำ ให้ชวนผู้ท่ีคุ้นเคยหรือคนในพื้นที่ท่ีไว้ใจได้ เพื่อช่วยเป็น ล่ามภาษานายูในการสื่อสารและสร้างความเข้าใจว่ามา ปฏิบัติงานตามหน้าท่ีและมาด้วยวัตถุประสงค์ท่ีดี แต่ท้ังนี้ ต้องพิสูจน์ให้ประชาชนไว้ใจว่ามาดีจริง ๆ เช่น ปฏิบัติต่อ ประชาชนทุกศาสนาอย่างสุภาพ ไม่เลือกปฏิบัติ และแสดง ถงึ การใหเ้ กยี รตอิ ยเู่ สมอ ซง่ึ ในอนาคตเมอ่ื เกดิ ความไวว้ างใจ หรือสนิทสนมข้ึนแล้ว พวกเขาอาจยอมสื่อสารด้วยภาษา ไทยกไ็ ด้ 102 ชวนรู้เพื่อสันตสิ ขุ ชายแดนใต้

10. ระมดั ระวังตอ่ การเลือกปฏิบตั ิ เพราะจะท�ำให้ประชาชนคนมุสลิม (นายู) เกิดอคติ กับเจ้าหน้าที่ จนอาจกลายเป็นปัญหาของความไม่ไว้ใจกัน ระหว่างเจ้าหน้าท่ีกับประชาชนในอนาคต เช่น คนมุสลิม (นาย)ู จะไมย่ อมใหค้ วามรว่ มมอื หรอื ใหค้ วามรว่ มมอื นอ้ ยลง ดังนั้น หากต้องการจะท�ำให้ประชาชนไว้ใจ ท่านจะต้อง ปฏิบัตใิ หเ้ สมอเหมอื นกนั ไมเ่ นน้ การตรวจคน้ ประชาชนทเ่ี ปน็ คนมุสลิม (นายู) เป็นพิเศษโดยไม่มีเหตุผลรองรับ ไม่ว่าจะ เปน็ การปฏบิ ตั กิ ารขณะตง้ั ดา่ นหรอื มกี ารตรวจคน้ ตามพน้ื ท่ี ตา่ ง ๆ ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ 103

11. การถ่ายภาพใด ๆ ควรขออนญุ าต เสียก่อน เนอ่ื งจากชาวบ้าน โดยเฉพาะคนมุสลิม (นาย)ู บางคน อาจเกิดความรู้สึกไม่สบายใจ หรือเข้าใจว่าเขาก�ำลังถูก จบั ตาโดยเจา้ หนา้ ทรี่ ฐั เปน็ พเิ ศษ อกี ทงั้ ตอ้ งระวงั การถา่ ยภาพ ท่ีติดสรรี ะทต่ี ้องสงวน หรอื เอาเราะห์ (อา่ นว่า เอา – เราะ) โดยระบวุ า่ ชายมสุ ลมิ มสี รรี ะทตี่ อ้ งสงวนตงั้ แตส่ ะดอื ลงมาถงึ หวั เขา่ และทกุ สว่ นของหญงิ มสุ ลมิ ถอื วา่ เปน็ สรรี ะทตี่ อ้ งสงวน ยกเวน้ ใบหนา้ และฝ่ามอื เทา่ นัน้ ทีส่ ามารถเห็นได้ ดงั นัน้ การจะเก็บภาพหรอื ทำ� การใด ๆ ท่ีเกี่ยวกับสรรี ะ รา่ งกายของคนมสุ ลมิ ควรระวังในเร่ืองนี้ให้มาก 104 ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ุขชายแดนใต้

12. การเข้าไปในพื้นที่ส่วนบุคคล เช่น สวนผลไม้ สวนยาง ควรขออนุญาต เจ้าของเสยี ก่อน เน่ืองจากการเข้าไปในพ้ืนท่ีส่วนบุคคลเหล่าน้ีย่อมถือ เป็นการบกุ รกุ อยา่ งไรกด็ ี ดว้ ยภมู ปิ ระเทศทเี่ ปน็ ปา่ เขาเหมาะแก่ การเพาะปลูกไม้ยืนต้น คนมุสลิม (นายู) จึงมักท�ำสวนยาง ควบคไู่ ปกบั สวนผลไม้ ทม่ี กั อยตู่ ดิ กบั ปา่ หรอื คา่ ย ซง่ึ เจา้ หนา้ ท่ี ต้องลาดตระเวนหรอื เดนิ ทางเขา้ – ออกเสมอโดยไมท่ ราบวา่ สวนเหล่าน้ันมีใครเป็นเจ้าของบ้าง บางคร้ังก็เกิดเหตุเข้าใจ ผดิ กนั ได้ เช่น เจ้าหน้าที่บางคนมกั ถือวิสาสะเด็ดผลไม้ อาทิ เงาะ ลางสาด หรือทุเรียนในสวนของประชาชนมา รบั ประทาน หรอื บางคนไดแ้ อบเขา้ มาลอบยงิ สตั วป์ า่ ในสวนของ ประชาชนซงึ่ มกั ชกุ ชมุ เพราะมผี ลไมอ้ ดุ มสมบรู ณ์ พฤตกิ รรม เหลา่ น้อี าจทำ� ใหป้ ระชาชนเกิดความไม่พอใจขึ้นได้ ชวนรู้เพื่อสันตสิ ุขชายแดนใต้ 105

13. เรอื่ งวินัยจราจร เน่ืองจากคนมุสลิมในชุมชนห่างไกล (กาปง) มักไม่ได้ เคร่งครดั เร่ืองกฎหรือวินัยจราจรมากนัก ดงั น้ัน การขบั ข่ีใน ชมุ ชน (กาปง) จงึ ควรระมัดระวังเป็นพเิ ศษ เพราะชาวบ้าน มกั ขบั รถสวนเลน หรือบางคร้ังกจ็ อดรถเพื่อชมการเล่นปาห่ี ข้างถนนโดยไม่ใหไ้ ฟสญั ญาณจราจรเลยกม็ ี อีกประการ คือ ชาวบ้านในชุมชนห่างไกล (กาปง) มักเล้ียงสัตว์แบบปล่อยอิสระ เช่น น�ำสัตว์เล้ียงเหล่าน้ีมา กนิ หญา้ ขา้ งถนน และเมือ่ เกดิ อุบตั เิ หตุ หรอื มีใครไปทำ� รา้ ย พวกมันจะท�ำให้เจ้าของไม่พอใจเป็นอย่างมาก อีกทั้งสัตว์ เลี้ยงเหล่านั้นมีค่าต่อชาวบ้านมาก ท้ังในเรื่องสถานะทาง สงั คมและเศรษฐกจิ กลา่ วคอื ใครมสี ตั วเ์ ลย้ี งมาก หมายถงึ มีฐานะมากตามไปด้วย นอกจากนี้ การเล้ียงไว้เพ่ือการซ้ือ ขาย การนำ� ไปเตรยี มประกอบอาหาร และใชใ้ นพธิ กี รรมทาง ศาสนา เชน่ การพลกี รรมตอ่ พระผเู้ ปน็ เจา้ ทเี่ รยี กวา่ กรุ บา่ น (อ่านว่า กุ – ระ – บ่าน ) หรอื ฆรอื แบ (อา่ นว่า กรอื – แบ) ดังน้ัน การขับรถจึงต้องระวังเป็นอย่างมากโดยเฉพาะบน ถนนในชุมชน 106 ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้

๑๔. หลีกเลี่ยงการเดินทางในยามวิกาล หากไม่จำ� เปน็ เน่ืองจากเวลากลางคืนน้ันค่อนข้างเป็นช่วงอันตราย ผู้ก่อเหตคุ วามรุนแรง หรือ ญูแว (อา่ นว่า ยู – แว) มักเลือก ช่วงกลางคืนในการลงมือก่อเหตุการณ์ความไม่สงบ ท�ำให้ ด่านตรวจความมนั่ คงในเวลากลางคนื ของหนว่ ยงานต่าง ๆ อาทิ ทหาร ต�ำรวจ และหน่วยงานทอ้ งท่ี มักจะมีการตรวจ เขม้ งวดเปน็ พเิ ศษ อยา่ งไรกด็ ี การเดนิ ทางกลางคนื กส็ ามารถ กระท�ำไดห้ ากจำ� เป็นจรงิ ๆ ชวนรู้เพ่ือสนั ติสขุ ชายแดนใต้ 107

15. ควรหลีกเล่ียงเส้นทางที่ใช้หากมี ความผิดปกติ แม้ว่าจะเป็นช่วงเวลา กลางวนั กต็ าม เพ่ือความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของท่าน หากท่านพบว่าเส้นทางปกติที่ใช้สัญจรอยู่เกิดส่ิงผิดปกติข้ึน เชน่ จากเดมิ ทม่ี ปี ระชาชนใชส้ ญั จรขวกั ไขว่ แตว่ นั นก้ี ลบั รสู้ กึ วา่ เงยี บสนทิ จนผดิ สงั เกต หรอื บนถนนมกี ง่ิ ไมข้ นาดใหญห่ รอื ท่อนไม้หรือป้ายประหลาดใด ๆ ปรากฏอยู่ ควรหลีกเล่ียง เสน้ ทางนแี้ ลว้ เปลย่ี นไปใชเ้ สน้ ทางอนื่ กอ่ นเพอ่ื ความปลอดภยั ต่อตวั ท่านเอง 108 ชวนรู้เพ่ือสนั ตสิ ุขชายแดนใต้

16. การเดินทางออกนอกพื้นท่ีในช่วง คาบเกยี่ วเวลาละหมาด เพ่ือเป็นการให้เกียรติและแสดงความห่วงใยแก่เพ่ือน ชาวมุสลิมที่ต้องปฏิบัติศาสนกิจ ไม่ว่าการเดินทางจะข้าม จงั หวดั หรือพ้ืนที่ใดก็ตาม ควรซักถามเพื่อนร่วมงาน คนมสุ ลิมอยู่เสมอว่าต้องการละหมาดหรือไม่ เพราะ การละหมาดมคี วามสำ� คญั ตอ่ วถิ ชี วี ติ ของมสุ ลมิ ตามทกี่ ลา่ ว ไปแลว้ ในขอ้ กอ่ น ๆ ทางทด่ี ี ทา่ นควรวางแผนกอ่ นการเดนิ ทาง เช่น ตรวจดูเวลาละหมาด เพ่ือจะได้เตรียมการเดินทางได้ อยา่ งเหมาะสม ท้งั นี้ ตลอดเสน้ ทางถนนในพน้ื ท่ีสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ มกั จะมมี สั ยดิ หรอื ปม๊ั นำ้� มนั ทม่ี หี อ้ งละหมาด รองรับคนมุสลมิ อยู่แลว้ ชวนรู้เพ่ือสันติสุขชายแดนใต้ 109

17. การแต่งเครื่องแบบราชการของ ขา้ ราชการพลเรอื น ข้าราชการทอ้ งถนิ่ แม้ข้าราชการพลเรือนหรือข้าราชการท้องถิ่น จะไม่ใช่ เป้าหมายหลักในการโจมตีก่อเหตุ เพราะกลุ่มผู้เห็นต่างมัก เลือกเป้าหมายจ�ำพวกเจ้าหน้าที่ทหารหรือต�ำรวจ แต่หาก วันใดไม่ม่ันใจในความปลอดภัย เช่น มีการแจ้งเตือนว่า กลุ่มเป้าหมายอาจจะเปน็ ขา้ ราชการพลเรอื นหรอื ขา้ ราชการ ทอ้ งถ่ินในพื้นที่ ท่านสามารถน�ำเสื้อคลุมสีสุภาพ เช่น สีด�ำ สขี าว คลุมทบั เครือ่ งแบบราชการได้ 110 ชวนรู้เพือ่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้

18. การแสดงออกถึงเพศทางเลอื กของ ขา้ ราชการ เปน็ สง่ิ ที่ควรหลกี เล่ียง เนอื่ งจากคนมสุ ลมิ (นาย)ู จำ� นวนหนงึ่ ยงั ไมย่ อมรบั เรอ่ื ง สทิ ธเิ พศทางเลอื ก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ชาวบา้ นในพนื้ ทช่ี นบท (กาปง) พวกเขามองวา่ เพศทางเลอื ก หรอื “ปอแน” (อ่านว่า ปอ – แน) เปน็ การแสดงออกทผ่ี ดิ หลักศาสนาอยา่ งมาก ดังนั้น การท่ีข้าราชการแม้จะเป็นคนไทยพุทธหรือ ศาสนาอ่นื แสดงพฤตกิ รรมให้คนมุสลิม (นาย)ู เห็นว่าเป็น เพศทางเลอื ก อาทิ การแตง่ กาย ทา่ ทาง นำ้� เสยี ง กอ็ าจทำ� ให้ ประชาชนในพื้นท่ีร้สู กึ ไมส่ ะดวกใจและอึดอดั ใจได้ ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้ 111

19. ไมค่ วรชักชวน หรอื ท�ำนายทายทัก โชคชะตากับคนมสุ ลมิ เน่ืองจากพวกเขาเชื่อว่ามีแค่พระเจ้าเพียงผู้เดียวที่จะ ก�ำหนดชะตาของพวกเขาได้ อย่างไรก็ดี ในกรณีของคนที่ มีความเช่ือดั้งเดิมอยู่ คนมุสลิม (นายู) บางคนจะมองเรื่อง การท�ำนายทายทกั วา่ ไมไ่ ด้ผดิ ตอ่ หลักศาสนา สามารถแลก เปลยี่ นความรกู้ นั ได้ ทางทด่ี คี วรซกั ถาม หรอื พดู คยุ ใหแ้ นใ่ จ กอ่ นวา่ พวกเขามคี วามเชอ่ื ด้ังเดมิ อย่หู รือไม่ 112 ชวนรู้เพื่อสันติสุขชายแดนใต้

20. การท�ำบุญหรือบริจาคเงินที่ไม่ เกย่ี วขอ้ งกบั ศาสนาอนื่ คนมสุ ลมิ สามารถ ทำ� ได้ โดยทั่วไปคนมุสลิม (นายู) มักบริจาคเงินหรือสิ่งของ เพ่ือการกศุ ล หรอื ทเี่ รยี กวา่ การทำ� ซะกาต (อา่ นวา่ ซะ – กาด) เนอ่ื งจากการบริจาคเพ่ือการกุศลนี้เป็นไปตามหลัก ของศาสนาอสิ ลาม ทั้งน้ี ผู้คนต่างศาสนาเอง เช่น คนไทยพุทธ หรือ คนไทยเช้ือสายจีน ก็สามารถร่วมบริจาคในงานบุญของ คนมสุ ลมิ (นาย)ู ไดเ้ ชน่ กนั เชน่ การบรจิ าคเพอ่ื สรา้ งสาธารณะ ประโยชน์ บริจาคเงินเพื่อสร้างมัสยิด แต่คนมุสลิม (นายู) ไมส่ ามารถทำ� บญุ เพ่ือสร้างพระพทุ ธรปู หรอื วดั ได้ ชวนรู้เพอ่ื สันตสิ ุขชายแดนใต้ 113

21. พธิ กี รรมของทางราชการบางอยา่ ง คนมสุ ลมิ ไมส่ ามารถรว่ มกิจกรรมได้ เน่ืองจากบางกิจกรรมมีลักษณะเป็นข้อห้ามตามหลัก ศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะการต้ังภาคีต่อพระเจ้าอ่ืนใด นอกจากพระองค์อลั ลอฮ์ ดงั นนั้ พธิ กี รรมหรอื พธิ กี ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทางศาสนาอน่ื เชน่ พธิ ที มี่ กี ารกราบไหวบ้ ชู า บวงสรวงเทวรปู หรอื ทอ่ งมนต์ คาถาตา่ ง ๆ เป็นต้น เปน็ กิจกรรมตอ้ งห้ามสำ� หรับคนมสุ ลิม 114 ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้

22. คนมุสลิมไม่สามารถกล่าวค�ำพูด หรอื กลา่ วค�ำสาบานบางอยา่ งได้ เนื่องจากการกล่าวสาบานในทางศาสนาอิสลามน้ัน ถือว่าเป็นเรื่องละเอียดอ่อน คนมุสลิมจึงจ�ำเป็นต้องกล่าว สาบานตอ่ พระเจา้ หรอื พระองคอ์ ลั ลอฮแ์ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี วเทา่ นนั้ ไม่สามารถท�ำการสาบานพร�่ำเพร่อื หรอื สาบานโดยให้ส่ิงอ่ืน เป็นพยานได้ นี่จึงเป็นเร่ืองเก่ียวกับหลักปฏิบัติทางศาสนา ไม่ใช่ว่าคนมุสลิมผู้น้ันจะมีความคิดต่อต้านหรือไม่เห็นด้วย กับผูอ้ น่ื ชวนรู้เพ่ือสันติสขุ ชายแดนใต้ 115

23. หากไมใ่ ชค่ นมสุ ลมิ ทา่ นไมส่ ามารถ จบั หรือแตะตอ้ งคมั ภรี ์อัลกรุ อานได้ เนอื่ งจากคนมสุ ลมิ (นาย)ู บางคนเชอื่ วา่ ผทู้ ไ่ี มใ่ ชม่ สุ ลมิ คือ ผู้ท่ีไม่มีน้�ำละหมาด (ผู้ท่ีไม่ได้อาบน้�ำละหมาด) ดังน้ัน หากท่านไม่ใช่มุสลิม ท่านจะไม่สามารถจับหรือแตะต้อง คัมภีร์อัลกรุ อาน ซ่ึงถือว่าเป็นคมั ภรี ์ศักดสิ์ ทิ ธ์ิได้ แตท่ งั้ นี้ขนึ้ อยู่กับความเช่ือและความเคร่งครัดของแต่ละคน แต่ก็ควร ระมัดระวังไว้ให้มากท่สี ุด 116 ชวนรู้เพ่ือสนั ติสขุ ชายแดนใต้

24. การเขา้ ไปยงั ศาสนสถานควรแตง่ กาย มดิ ชิด เพื่อเป็นไปตามหลักการของศาสนาอิสลาม และให้ เกียรติกับสถานที่ โดยเฉพาะมัสยิดและสุเหร่า ซ่ึงเปรียบ เสมอื นบา้ นของพระเจ้าในทรรศนะของคนมสุ ลมิ อกี ทงั้ การ เข้าไ ป ยั ง โ บ ร า ณ ส ถ า น ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ์ ใ น พ้ื น ท่ี สามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เชน่ มสั ยดิ กรอื เซะ วงั เจา้ พระยา สายบรุ ี สุสาน หรอื กุโบร์ (อ่านว่า กุ – โบ) ควรจะแตง่ กาย ใหเ้ รียบรอ้ ยมดิ ชิด ชวนรู้เพือ่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ 117

25. วันศุกร์เป็นวันส�ำคัญส�ำหรับ คนมสุ ลิม เนอื่ งจากทกุ ๆ วนั ศกุ ร์ คนมสุ ลมิ จะตอ้ งทำ� พธิ ลี ะหมาด วนั ศกุ ร์ หรอื มาแยญอื มาอะฮ์ (อา่ นวา่ มา – แย – ยอื – มา – อะ๊ ) ต้งั แตเ่ วลา 12.30 น. – 13.00 น. ดังน้นั ในทุก ๆ วันศุกร์ จึงถือเป็นวนั ส�ำคัญ และไม่ควร จดั ใหม้ ีกจิ กรรมหรอื กจิ การใด ๆ ทจ่ี ะทำ� ใหเ้ กดิ การกระทบ ตอ่ การปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ รวมถงึ รา้ นคา้ ตา่ ง ๆ ของคนมสุ ลมิ เอง สว่ นใหญ่จะไมน่ ิยมเปดิ ในวนั น้ีอกี ด้วย 118 ชวนรู้เพื่อสนั ติสุขชายแดนใต้

26. ควรงดการพดู คยุ หรอื กระทำ� การใด ๆ ท่ี ก ่ อ ใ ห ้ เ กิ ด เ สี ย ง ร บ ก ว น เ ม่ื อ เ สี ย ง สญั ญาณเรียกละหมาดดังขนึ้ เพราะเสียงสัญญาณดังกล่าวคือ เสียงอาซาน หรือใน ภาษานายเู รยี ก อาแซ (อา่ นวา่ อา – แซ) เปน็ การสง่ สญั ญาณ ให้ชาวมุสลิมเตรียมตัวท�ำการละหมาด ในขณะที่มีเสียง อาซานดงั ขนึ้ จงึ ควรงดพดู คยุ เปดิ เพลงหรอื โทรทศั นเ์ สยี งดงั หรอื กระทำ� การใด ๆ ทเี่ ปน็ การรบกวนสมาธหิ รอื จติ ใจคนมสุ ลมิ ชวนรู้เพอ่ื สันตสิ ุขชายแดนใต้ 119

๒๗. ไม่ควรทักผู้หญิงมุสลิมเรื่องไม่ ละหมาด เมอื่ ถึงเวลาละหมาดตามปกติ เน่ืองจากผู้หญิงมุสลิมบางคนอาจก�ำลังมีประจ�ำเดือน ในชว่ งเวลานี้ก็เป็นได้ ทั้งน้ี ถือกันว่าการมีประจ�ำเดือน เป็นเหตุท�ำให้ร่างกายของพวกเธอไม่บริสุทธ์ิ จึงไม่สามารถ ท�ำการละหมาดได้ การทักเช่นนี้ถือว่าเป็นการเสียมารยาท อยา่ งยง่ิ แม้จะสนิทสนมกันดกี ็ตาม 120 ชวนรู้เพื่อสนั ติสขุ ชายแดนใต้

28. ควรระมัดระวังทัศนคติในเร่ือง การมภี รรยามากกวา่ 1 คน เน่ืองจากหลักการแต่งงานที่ว่าชายมุสลิม สามารถมี ภรรยา 4 คน ทัง้ นี้ ตามหลักศาสนาอสิ ลามน้ัน มขี ้อก�ำหนด ทซี่ ับซอ้ น เชน่ ตอ้ งไดร้ บั การยนิ ยอมจากภรรยาคนแรกเสยี กอ่ น ดังนั้น การพูดจาในประเด็นน้ีจึงต้องพูดอย่างระวัง ไมค่ วรนำ� มาพดู เลน่ หรอื หยอกลอ้ เพราะมคี วามละเอยี ดออ่ น เปน็ อยา่ งมาก ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ุขชายแดนใต้ 121

29. ระมดั ระวงั เรอ่ื ง “การเลย้ี งสนุ ขั ” ใน พน้ื ทห่ี นว่ ยราชการ หรอื บา้ นพกั น้�ำลายของสุนัขเป็นสิ่งสกปรกในศาสนาอิสลาม หรือ นะญสิ (อา่ นวา่ นะ – ยดิ ) ฉะนนั้ การเลย้ี งหรอื ใหอ้ าหารสนุ ขั ในพนื้ ทรี่ าชการ อาจเกดิ ความยากลำ� บากในการระวงั ตวั เอง ของคนมุสลิม (นายู) เพราะพวกเขาต้องเข้ามาใช้บริการ สถานทีร่ าชการดงั กล่าวเชน่ เดยี วกบั ประชาชนคนอน่ื ๆ ทั้งน้ี การนิยมเล้ียงสุนัขไว้ตามด่านตรวจหรือค่ายของ ทหารหรอื ตำ� รวจกเ็ ปน็ ปญั หากบั คนมสุ ลมิ (นาย)ู ในพน้ื ทเ่ี ชน่ กนั โดยเฉพาะเม่ือเจ้าหน้าที่ได้ย้ายออกไปแล้ว สุนัขเหล่านั้น กจ็ ะกลายเปน็ สนุ ขั จรจดั และกอ่ ปญั หาและความรำ� คาญให้ แกป่ ระชาชนในพนื้ ทตี่ ามมา กรณนี หี้ มายรวมถงึ การใชส้ นุ ขั ดมกลน่ิ ขณะปฏิบัตกิ ารดว้ ย 122 ชวนรู้เพอ่ื สันติสขุ ชายแดนใต้

30. ระมดั ระวังเร่ือง “กรงนกเขาชวา” ที่ ประชาชนเล้ียงไว้ เน่ืองจากนกสวยงามเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงามที่นิยมกัน แพร่หลายในหมู่ของคนมุสลิม (นายู) ทั่วไป โดยเฉพาะ อย่างย่ิง ซึ่งพบมากท่ีสุดและมักเลี้ยงไว้จ�ำนวนหลายตัว ในแต่ละบ้าน ถือกันว่านกเหล่าน้ีเป็นสมบัติส�ำคัญที่มีราคา แพงและเจ้าของมักหวงแหน หากไม่ได้รับอนุญาตจาก เจา้ ของ ก็ไม่ควรแสดงกริ ิยาใด ๆ ที่อาจจะเป็นการทำ� ใหน้ ก ต่ืนตกใจ เช่น ดีดน้ิวหรือสง่ เสยี งเดาะลนิ้ อาจท�ำใหเ้ จา้ ของ ไม่พอใจได้ ชวนรู้เพอ่ื สนั ติสขุ ชายแดนใต้ 123

31. ควรอดกล้ันต่อการย่ัวโทสะหรือ การทา้ ทายของวยั รนุ่ ในจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ เพราะหากทา่ นกระท�ำการรนุ แรงออกไป อาจถกู ท�ำให้ เขา้ ใจผดิ วา่ เปน็ ประเดน็ เจา้ หนา้ ทรี่ ฐั รงั แกเยาวชนมสุ ลมิ และ อาจถูกผู้ไม่หวังดีน�ำไปขยายผลจนเกิดปัญหาอ่ืนตามมาได้ วยั รนุ่ หรอื แวรงุ (อา่ นวา่ แว – รงุ ) อาจถกู ชกั จงู จากกลมุ่ ผไู้ ม่ หวงั ดใี หเ้ กลยี ดชงั คนไทย โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ทเ่ี ปน็ ทหาร และตำ� รวจ แตไ่ มไ่ ดห้ มายความวา่ พวกเขาจะเปน็ สมาชกิ ใน กลมุ่ ผกู้ อ่ เหตคุ วามไมส่ งบเสมอไป ดงั นนั้ เมอ่ื มกี ารกระทำ� ท่ี ลอ้ เลยี น ยั่วยุ หรือท้าทายขึ้น หากพิจารณาแล้วว่าวยั รนุ่ ดังกลา่ วกระทำ� ไปเพราะความคกึ คะนองทวั่ ไป ควรอดกลน้ั เอาไว้และหลกี เล่ียงการใช้ก�ำลงั 124 ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้

นานาทศั นะ : คำ� ถาม - คำ� ตอบ ชวนรู้เพอื่ สันติสขุ ชายแดนใต้ 125

1. ประชาชนมีความคาดหวังต่อผล การปฏิบัติงานของเจา้ หนา้ ทีร่ ฐั อยา่ งไร ปัญหาความไม่สงบในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนใต้กิน ระยะเวลายาวนานหลายทศวรรษสง่ ผลกระทบตอ่ ความเปน็ อยู่ ของประชาชนโดยตรง ทงั้ ทางดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ วฒั นธรรม และสุขภาพจติ ดงั นนั้ ความคาดหวงั ตอ่ ผลการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั คอื “การคืนความสงบ” ใหแ้ กป่ ระชาชนในพืน้ ที่ 126 ชวนรู้เพือ่ สนั ติสขุ ชายแดนใต้

2. ประชาชนต้องการให้เจ้าหน้าท่ีรัฐ ปฏบิ ัตติ ่อพวกเขาอย่างไร ประเพณีและวัฒนธรรมของคนไทยมุสลิมอาจมี ความแตกต่าง เน่อื งจากลกั ษณะของความเชือ่ ทางศาสนา และภาษา อยา่ งไรกต็ ามวฒั นธรรมของคนไทยมสุ ลมิ กน็ บั เปน็ หนงึ่ ในวฒั นธรรมของไทย และคนไทยมสุ ลมิ กค็ อื ประชาชน คนไทย ดังนั้น ต้องมี “การยอมรับ” ในความแตกต่างทาง วฒั นธรรม และความเขา้ ใจวา่ นนั่ ไมใ่ ชอ่ ปุ สรรคของการสรา้ ง ความสมานฉนั ท์ ชวนรู้เพอื่ สันติสุขชายแดนใต้ 127

3. ประชาชนคดิ เหน็ อยา่ งไรตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี รัฐท่ีมคี วามแตกตา่ งวัฒนธรรม ประเทศไทยเปน็ สงั คมพหวุ ฒั นธรรมทมี่ หี ลากหลายทาง ศาสนาและชาติพันธุ์อาศัยอยู่บนแผ่นดินเดียวกัน ดังน้ัน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่รัฐ แม้จะมีความแตกต่างทาง วัฒนธรรม แต่ก็ล้วนเป็นประชาชนคนไทยเหมือนกัน “มคี วามเทา่ เทยี มกนั ” ในฐานะการเปน็ พลเมอื งของประเทศ เหมอื นกนั ไมค่ วรดูหมน่ิ เหยียดหยามซ่งึ กันและกนั 128 ชวนรู้เพ่ือสนั ตสิ ุขชายแดนใต้

4. บรรยากาศทางสังคมแบบใดท่ี ประชาชนต้องการ ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยรวมเห็นว่า ต้องการสังคมที่เน้นการอยู่ร่วมกันในชุมชนได้อย่างเป็นสุข มสี มั พนั ธภาพทดี่ ตี อ่ กนั “ไมห่ วาดระแวง” ซงึ่ กนั และกนั แมจ้ ะ ตา่ งศาสนากนั กต็ าม เนอื่ งจากในพนื้ ทนี่ อกจากจะมผี นู้ บั ถอื ศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่แล้ว ยังมีผู้นับถือศาสนาพุทธ ครสิ ต์ และศาสนาอน่ื ๆ รวมทงั้ บางกลมุ่ ชาตพิ นั ธร์ุ วมอยดู่ ว้ ย ชวนรู้เพ่ือสันติสขุ ชายแดนใต้ 129

5. ท�ำอย่างไรให้การบังคับใช้กฎหมาย เปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิผล กฎหมายเป็นบรรทัดฐานท่ีพลเมืองทุกคนต้องปฏิบัติ ตาม ดังนั้นการบังคับใช้กฎหมายหรือการตัดสินคดีความ ต่างๆ จะต้องมี “ความยุติธรรม” เป็นที่ตั้ง จะต้องกระท�ำ ด้วยความเทา่ เทียม ไม่เลือกปฏิบตั ิ เพราะ ความยตุ ธิ รรมจะ ท�ำประชาชนในพื้นที่ร้สู ึกเชือ่ มัน่ ในระบบยุติธรรม และเลอื ก ที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย 130 ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้

6. จดุ มงุ่ หมายของการกอ่ ความไมส่ งบใน จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ คืออะไร การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้มี ขบวนการบางกลมุ่ อยเู่ บอ้ื งหลงั โดยมงุ่ สรา้ งความชอบธรรม ใหป้ ระชาชนในพื้นท่คี ลอ้ ยตาม หรอื ดึงประชาชนในพนื้ ที่มา เป็นมวลชน ดังน้ัน สิ่งส�ำคัญส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีรัฐในการปฏิบัติการ แกไ้ ขปญั หาความไมส่ งบ คอื การทำ� ใหป้ ระชาชาชนในพน้ื ท่ี มีความเชื่อถือไว้ใจ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการ “สนับสนุน” การดำ� เนนิ งานของรัฐตามมา ชวนรู้เพอ่ื สนั ติสขุ ชายแดนใต้ 131

7. ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมใน การแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ได้อยา่ งไร ประชาชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ คอื ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ โดยตรงจากเหตกุ ารณค์ วามไมส่ งบ ดงั นน้ั ประชาชนในพน้ื ที่ จงึ เป็นบุคลากรหลักทจ่ี ะชว่ ยแกไ้ ขปญั หาได้ โดยตอ้ งสรา้ ง “การมีส่วนร่วม” โดยเฉพาะอย่างย่ิงการรับฟังความคิดเห็น จากประชาชน ซ่ึงจะทำ� ใหส้ ามารถแกไ้ ขปัญหาไดต้ รงจุด 132 ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้

8. จากวิธีการแก้ไขปัญหาความไม่ สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีผ่านมา ประชาชนมคี วามคิดเห็นอย่างไรบา้ ง จากการพยายามแก้ไขปัญหาความไม่สงบที่ผ่านมา ประชาชนในพื้นที่เช่ือว่ารัฐได้พยายามแก้ปัญหาในหลาย มิติ แต่ผูไ้ ดร้ บั ผลกระทบโดยตรงบางสว่ นมองวา่ ไมเ่ พยี งพอ ทง้ั ยงั มองวา่ ในเรอ่ื งการเจรจาพดู คยุ สนั ตสิ ขุ ทร่ี ฐั เปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การ มตี ัวแทนหลายกลมุ่ และไมต่ อ่ เนือ่ ง ท�ำให้ขาดเอกภาพ ดังน้ัน รัฐจึงควรให้ความส�ำคัญในเรื่อง “การรับฟัง ความคิดเหน็ ” จากประชาชน เพอ่ื นำ� ไปประกอบการแกไ้ ข ปญั หาอยา่ งจริงจงั มากกว่า ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 133

9. ในภาวะท่ีปัญหาความไม่สงบยังคง ปรากฏ รัฐสามารถสนับสนุนประชาชน ให้มีความมั่นคงในการด�ำเนินชีวิตได้ อย่างไรบา้ ง เน่ืองจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ท�ำให้ประชาชนใน พื้นทไ่ี ด้รับผลกระทบเกี่ยวกับความเปน็ อยโู่ ดยตรง ดงั น้ัน หากรัฐสามารถสนับสนุน “โอกาสทางเศรษฐกิจและ การด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระดับต่าง ๆ” ได้ อาทิ โครงการฝกึ อาชีพ การท�ำวิสาหกิจชุมชน หรือทอ้ งถน่ิ เป็นต้น เพื่อให้ประชาชนมีอาชีพและมีรายได้ท่ีแน่นอน ซึ่งจะท�ำให้ความเดือดร้อนจากปัญหาทางเศรษฐกิจทุเลา ลงได้ 134 ชวนรู้เพ่อื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้

10. ประชาชนมคี วามคดิ เหน็ ตอ่ มาตรการ เยยี วยาผลกระทบทผี่ า่ นมาอยา่ งไร จากเหตุการณ์ความไม่สงบที่ผ่านมา ท�ำให้ประชาชน หลายภาคส่วนในพ้ืนท่ีได้รับผลกระทบความเดือดร้อน ดังน้ัน การเยียวยาผู้ท่ีได้รับผลกระทบท�ำให้ช่วยลดความ ตงึ เครียดของประชาชนในพน้ื ทล่ี งได้ อย่างไรก็ดี นอกเหนือ จากการชว่ ยเหลอื ทางวตั ถแุ ลว้ “ความรสู้ กึ ทดี่ แี ละการเหน็ อกเห็นใจ” เป็นเคร่ืองเยียวยาทางจิตใจได้ดีอีกทางหนึ่ง ทำ� ใหล้ ดอคตทิ มี่ ตี อ่ รฐั และเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั และในขณะเดยี วกนั กจ็ ะทำ� ใหร้ ฐั ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากผทู้ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบดว้ ย นอกจากนี้จะต้องมีการบังคับใช้กฏหมายอย่างจริงจังโดย เท่าเทยี ม โดยเฉพาะกับเจา้ หนา้ ท่ีรฐั ท่ีละเมิดกฏหมาย ชวนรู้เพอื่ สันติสุขชายแดนใต้ 135

11. นกั วชิ าการในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ มมี มุ มองตอ่ การแกไ้ ขปญั หาความไมส่ งบ อยา่ งไร การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและสนับสนุนให้ เกดิ สงั คมพหวุ ฒั นธรรมอยา่ งแทจ้ รงิ มสี ว่ นสำ� คญั ในการแกไ้ ข ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กล่าวคือ ควรพยายามให้ประชาชนทั้งมุสลิม และพุทธ รวมทั้งกลุ่ม วฒั นธรรมอ่ืนๆ ไดแ้ สดงความคดิ เหน็ ในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ และ ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำ� ความเขา้ ใจ และยอมรบั ในวถิ แี ละความเชอื่ ของกนั และกนั อยา่ งเปน็ รปู ธรรมชดั เจน และเปดิ กวา้ งอยา่ งทว่ั ถงึ เพอื่ ใหเ้ กดิ การปรบั ตวั อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ อนั จะนำ� มาซงึ่ การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสงบสขุ และยงั่ ยนื โดยมสี ถาบนั การศกึ ษาเปน็ สอื่ กลาง ทางปัญญาในการให้ขอ้ มูลความรทู้ ีเ่ หมาะสมและรอบด้าน 136 ชวนรู้เพ่ือสนั ติสขุ ชายแดนใต้

12. ประชาชนที่เป็นผู้ประกอบการทาง เศรษฐกจิ โดยเฉพาะขนาดเลก็ และขนาด กลางมมี มุ มองอยา่ งไรตอ่ การสรา้ งสนั ตสิ ขุ ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ การสรา้ งสนั ตสิ ขุ ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ควรมงุ่ เนน้ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน โดยสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง ท�ำให้ประชาชนมีอาชีพและรายได้เพื่อ ให้การด�ำเนินชีวิตเป็นไปอย่างมั่นคงและยั่งยืน สนับสนุน การพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่ สนิ คา้ เสรมิ ศกั ยภาพและทกั ษะการทำ� งานของประชาชนใน พนื้ ท่ี ขณะเดยี วกนั กค็ วรเพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถ ของผู้ประกอบการทางเศรษฐกิจในพื้นที่อย่างเหมาะสม ให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจโดยยึดหลักคุณธรรม และจริยธรรมท่ีเป็นหลักสากล ส่งเสริมภาพลักษณ์เชิงบวก ของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้สู่ภายนอกอย่างกว้างขวาง และสรา้ งบรรยากาศทด่ี ใี หก้ ารคา้ การลงทนุ และการทอ่ งเทยี่ ว ขยายตวั ชวนรู้เพอื่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ 137

13. สอื่ มวลชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ คดิ เห็นอยา่ งไรต่อการสร้างสนั ตสิ ขุ สอื่ มวลชน คอื ผนู้ ำ� พาขอ้ เทจ็ จรงิ และขา่ วสารเผยแพรส่ ู่ สาธารณะ อยา่ งเชน่ ในอดตี ทผี่ า่ นมาเมอ่ื ระดบั รฐั มกี ารเจรจา พูดคุยสันติสุขกับกลุ่มขบวนการ สื่อมวลชนในพื้นที่ก็ควร น�ำเสนอข้อมูลสร้างสรรค์ที่ช่วยสร้างบรรยากาศให้เห็นว่า การเจรจาพูดคุยจะน�ำไปสู่ผลท่ีดีข้ึน ไม่ควรบิดเบือน หรือ ให้ข่าวสารที่เป็นอุปสรรค หรือส่งผลกระทบต่อบรรยากาศ การเจรจา นอกจากน้ีในเวทีการเจรจาพูดคุยสันติสุขต้อง แสดงความจรงิ ใจตอ่ กนั และมบี รรยากาศทผ่ี อ่ นคลายไมก่ ดดนั ท้ังนี้ เง่ือนไขท่ีใช้เจรจาพูดคุยกันจะเป็นตัวบ่งบอกว่ามี ความจรงิ ใจในการแกไ้ ขปญั หาร่วมกันมากนอ้ ยแคไ่ หน 138 ชวนรู้เพื่อสันติสุขชายแดนใต้

14. บทบาทของกลุ่มผู้หญิงในจังหวัด ชายแดนภาคใตใ้ นการสรา้ งสนั ตสิ ขุ เปน็ อยา่ งไร กลมุ่ ผหู้ ญงิ ในจงั หวดั ชายแดนภาคใตม้ บี ทบาททางออ้ ม โดยการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการทำ� งานตามวถิ อี สิ ลาม ให้แก่ผู้หญิงด้วยกันเพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมท้ังการเสริมสร้างความอบอุ่น ให้สามารถ ปรบั ทกุ ขพ์ ดู คยุ และชว่ ยกนั แกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ ภายใน ครอบครวั และชมุ ชนดว้ ยเหตผุ ล ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรง ซงึ่ จะสง่ ผล ให้ผู้ที่อยู่ในครอบครัวและชุมชนน้ัน โดยเฉพาะเด็ก ๆ เมื่อเติบโตไปจะไม่ใช้ความรุนแรงกับคนอื่นด้วย ตลอดจน การให้ความชว่ ยเหลอื เยยี วยา และสรา้ งอาชพี แกผ่ เู้ ปราะบาง ที่ได้รับผลกระทบหรือสูญเสียจากเหตุการณ์ความไม่สงบ นอกจากน้ี ยังมกี ารจัดอบรมสัมมนาให้ความรู้เข้าถึง ชมุ ชน ในเรอ่ื งครอบครวั สามภี รรยา และการใชช้ วี ติ ในสงั คม ปัจจุบัน โดยยึดหลักสันติศึกษาน�ำไปสู่การสร้างสันติสุขใน พื้นท่ี ชวนรู้เพ่อื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้ 139

15. เยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความคิดเห็นอย่างไรต่อการสร้าง สนั ตสิ ุข การเปิดเวทีให้ประชาชนได้มาพูดคุยและแสดง ความคิดเห็นต่าง ๆ ซึ่งในบางคร้ังอาจมีการให้ความรู้หรือ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เชน่ ประวตั ศิ าสตร์ อตั ลกั ษณ์ สทิ ธขิ องสตรแี ละ เดก็ สนั ติสขุ ในพ้นื ท่ี และการส่งเสรมิ ความเปน็ มลายอู ยา่ ง สรา้ งสรรค์ เปน็ ตน้ เพอื่ ชว่ ยในการวเิ คราะห์ และใหม้ เี หตผุ ล ในการอธิบายภายใต้ความเชื่อว่าทุกคนสามารถแยกแยะ ถกู ผดิ จากข้อมลู ท่ไี ด้รับรอบด้าน รวมทงั้ การจดั กจิ กรรมให้ ความรู้เก่ียวกับสันติภาพแก่นักเรียนและนักศึกษาในระดับ ต่าง ๆ การจัดค่ายจรยิ ธรรมและคุณธรรม ซึ่งเปน็ พ้นื ฐาน ทด่ี สี ำ� หรบั เยาวชน ตลอดจน การผลกั ดนั ใหม้ พี น้ื ทป่ี ลอดภยั ในการทำ� งานของเยาวชน สตรี และประชาชนทว่ั ไป สงิ่ เหลา่ นี้ถ้ามีการด�ำเนินการและมีการส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง จะส่ง ผลตอ่ การสรา้ งสนั ติสุขในพื้นทอ่ี ีกทางหน่ึง 140 ชวนรู้เพือ่ สันติสุขชายแดนใต้

เอกสารอ้างอิง หนังสอื กิติ รัตนฉายา. (2536). ดับไฟใต้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ชยั วฒั น์ สถาอานนั ท.์ (บ.ก.). (2551). แผน่ ดนิ จนิ ตนาการ : รฐั และการแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรงในภาคใต.้ กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั พิมพม์ ติชน. ดันแคน แม็กคาร์โก. (2555). ฉีกแผ่นดิน : อิสลามและ ปรัชญาความชอบธรรมในภาคใต้ ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ. แพร ศิริศักด์ิด�ำเกิง. (2552). คู่มือวิธีการขัดกันฉันมิตร ชายแดนใต้. กรุเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์ศูนย์มานุษยวิทยา สริ นิ ธร. ศรยุทธ เอี่ยมเอ้ือยุทธ. (2558). มันยากที่จะเป็นมลายู. ปตั ตานี : ปาตานฟี อร่มั . ศรยุทธ เอ่ียมเอ้ือยุทธ. (2559). มันยากท่ีจะเป็นมลายู. กรุงเทพฯ : ส�ำนกั พิมพม์ ติชน. ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ 141

รายงานวจิ ยั จติ ตมิ า คม้ิ สขุ ศรี ณฐั พจน์ ยนื ยง สภุ าคพ์ รรณ ตง้ั ตรงไพโรจน์ อัครกิตต์ิ สินธุวงศ์ศรี และอับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม. (2564). การจัดท�ำข้อมูลความรู้เกี่ยวกับสภาพ แวดลอ้ มทส่ี ง่ เสรมิ การพดู คยุ สนั ตสิ ขุ ในจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ (รายงานการวจิ ยั ). ศนู ยพ์ หวุ ฒั นธรรมศกึ ษาและ นวัตกรรมทางสงั คม สถาบันเอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . กองอำ� นวยการรกั ษาความมนั่ คงภายใน ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) บทความในวารสาร นยิ ม กาเซง็ . (2554). เสน้ ทางสคู่ วามทนั สมยั : ประวตั ศิ าสตร์ สังคมของถนนทางหลวงสายใหม่สู่ปาตานี. รุไบยาต: วารสารวิชาการด้านเอเชียศึกษา. ๓ (กรกฎาคม – ธันวาคม): 85 – 112. เวบ็ ไซด์ บรรจง บนิ กาซนั . (2564). การจดั การศพในศาสนาอสิ ลาม. สืบค้น ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔, จาก: http://www. lokwannee.com/web2013/?p=413336. 142 ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ุขชายแดนใต้

มุสลิม วงศาวศิ ษิ ฎก์ ุล. (2558). สองขอ้ ถกเถียงของมสุ ลมิ ว่าด้วย บทเพลงสรรเสริญพระบารมี. สืบค้น ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔, จาก: https://libevi.wordpress. com/2015/12/04/สองขอ้ ถกเถยี งของมุสลมิ . สัมภาษณ์ โต๊ะสมาน (นามสมมติ). เกษตรกรและผู้น�ำทางศาสนา อิสลาม. (6 กรกฎาคม 2564). สัมภาษณ์. นู (นามสมมต)ิ . นกั ศกึ ษา. (7 กรกฎาคม 2564). สมั ภาษณ์ หมัด (นามสมมต)ิ . ขา้ ราชการส่วนท้องถ่ิน. (4 กรกฎาคม 2564). สัมภาษณ.์ อับดุลเลาะห์ (นามสมมติ). นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอน ปลาย. (6 กรกฎาคม 2564). สัมภาษณ์. นิฮมั ซี (นามสมมติ). ธุรกจิ สว่ นตัว. (3 กรกฎาคม 2564). สมั ภาษณ์. ชวนรู้เพือ่ สันติสุขชายแดนใต้ 143

144 ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้

คณะผูจ้ ัดท�ำ 1. ศาสตราจารย์ ดร. สเุ นตร ชตุ นิ ธรานนท์ 2. รองศาสตราจารย์ ดร. สามารถ ทองเฝือ 3. ดร. ดลยา เทยี นทอง 4. นายศิวัช สุดาเดช 5. นายจรี วุฒิ บุญรัศมี 6. นายเพชรภมู ิ กสุรพ 7. นายธรี เทพ จิตหลงั คณะผสู้ นับสนนุ ข้อมูล 1. ดร. สุภาค์พรรณ ตัง้ ตรงไพโรจน์ 2. ดร. อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม 3. นาย ณัฐพจน์ ยนื ยง 4. นางสาว จติ ติมา คม้ิ สุขศรี 5. นาย อัครกิตต์ิ สินธวุ งศ์ศรี 6. นางสาว กรกช เรือนจันทร์ เจา้ หนา้ ที่ฝา่ ยศลิ ปแ์ ละธุรการ 1. นายสธุ ยี ์ บญุ ลา 2. นายสุพล บณั ฑติ กิตตสิ กุล ชวนรู้เพ่ือสนั ติสขุ ชายแดนใต้ 145

จัดท�ำโดย ศนู ยพ์ หุวฒั นธรรมศกึ ษาและนวตั กรรมทางสงั คม สถาบันเอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สนบั สนนุ โดย กองอำ� นวยการรักษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ศนู ยป์ ระสานการปฏิบัติที่ 5 กองอำ� นวยการรกั ษาความมนั่ คงภายในราชอาณาจกั ร (ศปป.๕ กอ.รมน.) 146 ชวนรู้เพื่อสันติสุขชายแดนใต้

ชวนรู้เพ่อื สนั ติสขุ ชายแดนใต้ 147

148 ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้

คูม่ อื ชวนรู้เพือ่ สนั ติสขุ ชายแดนใต้ ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๔๐๗-๖๓๑-๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook