9. ควรปรกึ ษาหารอื ผนู้ ำ� ศาสนาในชมุ ชน ทกุ คร้งั ในกรณีทีเ่ กยี่ วกับศาสนสถาน หากจะขอใช้พื้นที่ทางศาสนาเพื่อประโยชน์ในทาง ราชการช่ัวคราว เช่น โรงเรียนสอนศาสนา หรือ มัสยิด ควรปรึกษาหารือกับผู้น�ำศาสนาเพื่อขอความเห็นชอบ เบอ้ื งตน้ กอ่ น รวมถงึ การปฏบิ ตั ติ อ่ พนื้ ทนี่ น้ั ๆ ไดถ้ กู ตอ้ งเพอ่ื ไมใ่ ห้ เกิดความเขา้ ใจผดิ และปญั หาทต่ี ามมา แลว้ คอ่ ยดำ� เนนิ การ ในสว่ นท่เี ก่ียวข้องต่อไป 50 ชวนรู้เพอื่ สนั ติสขุ ชายแดนใต้
10. ควรใหส้ ญั ญาณแกเ่ จา้ บา้ นกอ่ นเขา้ ตรวจคน้ บ้าน การลงพื้นที่หรือปฏิบัติการตรวจค้นบ้านเรือนของ ประชาชน ในช้ันต้นเม่ือแรกไปถึง ควรรออยู่ข้างนอกบ้าน เพ่ือทักทายหรือให้สัญญาณแก่คนในบ้านก่อนว่าจะขอ อนุญาตเข้าตรวจเย่ียม เน่ืองจากผู้หญิงมุสลิม (นายู) บางคนอาจจะไม่ได้ใส่ผ้าคลุมผมเวลาอยู่ในบ้าน พวกเธอ ต้องสวมใส่ผ้าคลุมผมให้เรียบร้อยตามหลักศาสนาเสียก่อน จึงจะออกมารบั แขกได้ ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ุขชายแดนใต้ 51
11. หากมกี ารปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นพนื้ ทชี่ มุ ชน และอน่ื ๆ ในขณะทก่ี ำ� ลงั มกี ารละหมาด อยู่ ต้องรออยู่ด้านนอกจนกว่าประชาชนจะละหมาด (มาแย) เสร็จ เพื่อถือเป็นการให้เกียรติในด้านศาสนาและ วัฒนธรรม รวมถึงไม่รบกวนต่อการปฏบิ ัติศาสนกจิ ทสี่ �ำคญั ของชาวมสุ ลมิ อกี ดว้ ย 52 ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้
12. การมอบของแกป่ ระชาชนในชมุ ชน หา่ งไกล หากทา่ นตอ้ งมอบของขวญั หรอื ของกำ� นลั แกป่ ระชาชน ในชมุ ชนทห่ี า่ งไกล (กาปง) พวกเขาจะเกดิ ความพงึ พอใจมาก โดยเฉพาะของใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั อาทิ โสรง่ (เปน็ ทนี่ ยิ มมาก ท่ีสดุ ) ผา้ ขาวมา้ แกว้ น�้ำ หรอื ผ้าลือปะห์ (อา่ นวา่ ลอื – ป๊ะ เป็นผ้าพมิ พช์ นดิ หนง่ึ การใช้งานคล้ายผา้ ขาวมา้ ) ชวนรู้เพอ่ื สันติสุขชายแดนใต้ 53
13. หากไปร่วมงานเล้ียงฉลองท่ีไหน ไม่ได้ ควร “ใสซ่ อง” หากท่านได้รับเชิญให้ร่วมงานเลี้ยงฉลองและท่านไม่ สามารถไปรว่ มงานใด ๆ ของเพื่อนร่วมงานหรือผ้นู ำ� ชุมชน ท่ีเป็นชาวมุสลิม (นายู) ได้ เช่น งานบุญ งานเล้ียง หรือ งานศพ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลเรื่องความไม่สะดวก เนื่องจาก ภาระงาน กงั วลใจเรอ่ื งความปลอดภยั จากการเปน็ พนื้ ทเ่ี สยี่ ง หรือกรณีอ่ืน ๆ ท่านควรแสดงออกถึงน�้ำใจทุกครั้งด้วย การนำ� เงนิ จำ� นวนหนงึ่ ใสใ่ นซองเพอ่ื รกั ษานำ้� ใจแกเ่ จา้ ภาพงาน 54 ชวนรู้เพอื่ สนั ติสขุ ชายแดนใต้
14. การปฏบิ ตั ติ วั ของคนตา่ งศาสนากบั การเยย่ี มเยอื นมสั ยดิ การเยยี่ มเยอื นมสั ยดิ ของผทู้ ไ่ี มไ่ ดน้ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม เป็นส่ิงท่ีสามารถกระท�ำได้ เพราะถือเป็นการเยี่ยมเยือน ศาสนสถานทั่วไป แต่มีข้อควรระวัง คือ การแต่งกายให้ เหมาะสมกบั สถานท่ี และมพี นื้ ทบี่ างแหง่ ทไ่ี มค่ วรเขา้ ไป อาทิ บริเวณด้านในสุดของมัสยิดที่สงวนไว้ส�ำหรับอิหม่าม และ มมิ บัร (อ่านว่า มมิ – บด๊ั ) หรอื ธรรมาสน์ ส�ำหรับผหู้ ญิงท่ี ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามก็มีแนวปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกบั ผชู้ าย แตม่ ขี อ้ หา้ มเพมิ่ เตมิ คอื หา้ มเขา้ มสั ยดิ ในขณะทม่ี ปี ระจำ� เดอื น ชวนรู้เพ่ือสนั ติสขุ ชายแดนใต้ 55
15. การปฏิบัติตัวเวลาคนต่างศาสนา ไปรว่ มงานศพ วิธจี ัดการศพในศาสนาอสิ ลามจะมดี ว้ ยกัน 4 ขั้นตอน ตามล�ำดบั ไดแ้ ก่ อาบน�้ำศพ หอ่ ศพ ละหมาดให้แกศ่ พ และ ฝงั ศพ ทัง้ หมดน้จี ะตอ้ งจัดการให้เสรจ็ เรยี บร้อยภายใน 24 ชวั่ โมง โดยธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิแลว้ ก่อนที่จะเขา้ สูข่ ั้นตอนทั้ง 4 น้ีจะมีการน�ำร่างของผู้ตายพักไว้ท่ีบ้าน หรือท่ีมัสยิดเพื่อ ให้ญาติพี่น้องหรือคนท่ีรู้จักกับผู้ตายและครอบครัวได้เย่ียม ศพเป็นครงั้ สุดทา้ ย ท่านสามารถไปเยีย่ มเยือนผตู้ ายและให้ กำ� ลังใจแก่ครอบครัวของผู้ตายได้ ขอ้ ควรระวงั คอื ขัน้ ตอน การอาบน้�ำศพและห่อศพ จะกระท�ำในพ้ืนที่มิดชิดไม่ควร เขา้ ไปดู สว่ นขนั้ ตอนอนื่ ๆ สามารถมสี ว่ นรว่ มไดต้ ามสมควร 56 ชวนรู้เพื่อสนั ติสุขชายแดนใต้
16. หลกั ปฏบิ ตั ิของคนตา่ งศาสนาเวลา ไปกุโบร์ กโุ บร์ (อ่านวา่ กุ – โบ) คือ สุสานของคนมสุ ลมิ คนที่ นับถอื ศาสนาอ่ืน ๆ สามารถเข้าไปดูหรอื เยย่ี มเยอื นกุโบร์ได้ ไมม่ ขี อ้ หา้ มแตอ่ ยา่ งใด ยกเวน้ ผหู้ ญิงทม่ี ปี ระจำ� เดอื นเท่านน้ั ท่ีจะไม่สามารถเข้าในสถานที่แห่งนั้นได้จนกว่าจะหมด รอบเดอื น แต่โดยธรรมเนยี มปฏิบัติแล้ว ประชาชนบางพ้นื ที่ จะมีข้อตกลงร่วมกันว่าผู้หญิงทุกคนห้ามเข้า เพราะไม่ สามารถรแู้ นช่ ดั ได้วา่ ใครมปี ระจำ� เดอื นมาหรือไม่ ดังน้ัน ส�ำหรับผู้หญิงก่อนจะเข้าเย่ียมกุโบร์ ควรถาม ชาวบ้านในพื้นทนี่ ัน้ ๆ กอ่ นวา่ สามารถเขา้ ไปไดห้ รอื ไม่ ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 57
58 ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ุขชายแดนใต้
สิง่ ท่ีไม่ควรทำ� ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 59
1. ชวนรับประทานเน้ือหมู หรือสิ่งที่มี ส่วนผสมของหมู เนอ้ื หมถู อื วา่ เปน็ ขอ้ หา้ มทปี่ รากฏในหลกั ศาสนาอสิ ลาม (ฮะรอม) เช่นกัน การชกั ชวนให้คนมุสลิมรบั ประทานอาหาร ทมี่ สี ว่ นผสมของเนอ้ื หมู ถอื เปน็ การกระทำ� ทไ่ี มใ่ หเ้ กยี รตเิ ปน็ อย่างยงิ่ และยงั เป็นการลบหล่ทู างศาสนาอีกดว้ ย 60 ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ุขชายแดนใต้
2. ไมใ่ ชเ่ พยี งแคเ่ นอื้ หมแู ละแอลกอฮอล์ ที่คนมสุ ลิมไมส่ ามารถทานได้ คนมุสลิมจะรับประทานเฉพาะอาหารท่ีถูกหลักศาสนา อิสลาม (ฮาลาล) เท่าน้ัน สิ่งนี้มีรายละเอียดปลีกย่อยที่ คอ่ นข้างละเอยี ดอ่อน แมว้ า่ เน้ือหมูและแอลกอฮอล์เป็นสงิ่ ที่ ต้องห้าม แต่อาหารอื่น ๆ เชน่ ไกห่ รือเนอื้ สตั ว์ จะตอ้ งผ่าน การเชือดโดยคนมสุ ลมิ อยา่ งถกู วธิ เี ทา่ นนั้ จงึ จะสามารถทานได้ สว่ นอาหารอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ พชื ผกั และอาหารทะเล เปน็ ทอี่ นญุ าต สำ� หรับคนมุสลมิ ฉะน้ันหากเกิดความไม่ม่ันใจว่าอาหารชนิดนั้นฮาลาล หรือไม่ ให้สอบถามความสมัครใจจากคนมุสลิมในทุก ๆ ครงั้ เพ่ือความแนใ่ จ ชวนรู้เพ่ือสนั ติสุขชายแดนใต้ 61
3. ห้ามชวนคนมุสลิมดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์ เน่ืองจากเครื่องด่ืมที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ อาทิ เหล้า เบียร์ ตูเวาะ (กระแช่) ถือเป็นขอ้ ห้ามในหลักศาสนา อิสลาม ทง้ั นี้ การพกพาเคร่ืองด่มื แอลกอฮอลเ์ ขา้ ไปในบา้ น ของคนมุสลิม การดื่มเคร่ืองด่มื แอลกอฮอลใ์ นงานเล้ียงหรอื บนโต๊ะท่ีมีคนมุสลิมนั่งร่วมด้วย ถือเป็นการกระท�ำที่ไม่ให้ เกยี รติเป็นอย่างย่ิง 62 ชวนรู้เพอื่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้
4. ผทู้ ไ่ี มไ่ ดเ้ ปน็ มสุ ลมิ จะไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ใหร้ ับประทานอาหารประเภทกรุ บ่าน หากทา่ นจำ� เปน็ ตอ้ งไปรว่ มงานเลย้ี งฉลองของคนมสุ ลมิ (นายู) ท้ังน้ี มีอาหารบางเมนูท่ีผู้ท่ีไม่ได้เป็นมุสลิมไม่ได้รับ อนญุ าตใหร้ บั ประทาน โดยเฉพาะแกงทที่ ำ� มาจากเนอื้ สตั ว์ ท่ีผา่ นพิธี “กรุ บา่ น” ซง่ึ หมายถงึ เนอ้ื สัตวท์ ม่ี าจากการพลี ใหแ้ กพ่ ระเจา้ ภาษานายู เรยี ก “ฆรอื แบ” (อา่ นวา่ กรอื – แบ) โดยมากมักเป็นแกงแพะ แกะ หรือเนอื้ วัว ทั้งนี้ หากไม่ทราบว่าอาหารประเภทไหนท�ำมาจาก เนื้อสัตว์ทผ่ี า่ นพธิ ดี งั กลา่ ว ควรสอบถามชาวบา้ นหรอื เจา้ ภาพ งานวา่ อาหารประเภทไหนสามารถรบั ประทานไดบ้ า้ ง ชวนรู้เพอ่ื สันตสิ ุขชายแดนใต้ 63
5. คนมสุ ลิมไมส่ ามารถรบั ประทานของ ทนี่ �ำมาจากการเซ่นไหวไ้ ด้ ตามหลกั ศาสนาอสิ ลาม มสุ ลมิ จะเคารพตอ่ พระผเู้ ปน็ เจา้ หรอื พระองค์อลั ลอฮ์ แต่เพียงพระองค์เดียว การรับประทาน ของเซ่นไหวจ้ ากส่งิ ศกั ดิ์สิทธต์ิ ามความเชือ่ อื่น เชน่ งานบญุ งานไหว้ผี ไหว้เจ้า ไหว้บรรพบรุ ษุ ของคนไทยพทุ ธ และไทย เช้ือสายจีน จึงไม่เหมาะสมและเป็นส่ิงต้องห้ามตามหลัก ศาสนา ดังน้ัน หากได้มีการจัดงานบุญหรืองานพิธีกรรมใด ๆ แลว้ เจา้ ภาพตอ้ งการแบง่ ปนั อาหารหรอื สง่ิ ของแกช่ าวมสุ ลมิ จึงควรเลือกให้เฉพาะของที่ไม่ได้ผ่านการประกอบพิธีกรรม ทางศาสนาอนื่ แก่ชาวมุสลมิ 64 ชวนรู้เพอื่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้
6. ไมค่ วรขา้ มเสน้ แบง่ ชาย-หญงิ เชน่ ใน งานพิธี หรอื สถานทใี่ ด ๆ หากไมจ่ �ำเปน็ เนอื่ งจากเปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ติ ามหลกั ศาสนาเพอื่ ลดการสมั ผสั ต้องตวั ระหวา่ งกนั ตามหลกั ศาสนาอสิ ลาม โดยในงานพธิ ตี า่ ง ๆ เช่น งานเลี้ยงอาหาร งานบุญ งานศพ กระทั่งในสถานที่ ราชการ เช่น การประชุม ทำ� ประชาคม สถานทดี่ งั กลา่ วจะมี การทำ� แนวเส้นแบ่งเขตระหว่างพื้นท่ีผู้หญิงกับชายไว้อยา่ ง ชัดเจน ทัง้ จาก เชอื ก ผา้ หรือสิง่ ใด ทพี่ อจะท�ำใหเ้ ห็นชัดเจน ฉะน้ัน ท่านควรระวังโดยการไม่ข้ามเข้าไปในพ้ืนท่ี ที่จดั ไว้ส�ำหรบั เพศตรงข้าม ชวนรู้เพือ่ สนั ติสขุ ชายแดนใต้ 65
7. ห้ามแตะเนื้อต้องตวั เพศตรงข้าม ในหลักปฏิบัติของศาสนาอิสลาม ได้บัญญัติเร่ือง การรกั ษาระยะหา่ งระหวา่ งเพศตรงขา้ มไวช้ ดั เจน คอื ระหวา่ ง ผู้หญิงกับผู้ชาย (ท่ีไม่ใช่พี่น้องร่วมสายเลือด) จ�ำเป็นต้อง สงวนไว้ซึ่งเน้ือตัวและรา่ งกายไมใ่ ห้สัมผสั กนั ดงั นนั้ ควรรกั ษาระยะห่าง ระวังการแตะเนื้อต้องตัวกัน และหาก “เผลอ” แตะเน้ือตอ้ งตวั ควรกล่าวขอโทษ 66 ชวนรู้เพ่ือสนั ตสิ ุขชายแดนใต้
8. ห้ามแสดงกิริยาไม่เหมาะสมต่อเพศ ตรงข้าม เป็นเร่ืองห้ามอย่างย่ิงส�ำหรับในพ้ืนที่ท่ีประชาชน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม การใช้สายตาไม่เหมาะสม ตอ่ เพศตรงขา้ มโดยเฉพาะกบั เพศหญงิ เปน็ เรอ่ื งทข่ี ดั กบั หลกั ศาสนาอิสลาม และอาจน�ำไปสู่ความเข้าใจผิดกระท่ังก่อให้ เกดิ ความขดั แยง้ ขนึ้ ได้ นอกจากน้ี คำ� พดู ทไี่ มเ่ หมาะสมตา่ ง ๆ มคี วามรนุ แรงกวา่ การใชส้ ายตาไมเ่ หมาะสมตอ่ เพศตรงขา้ ม เป็นอยา่ งมาก เพราะเป็นการแสดงออกอย่างโจ่งแจง้ อีกทง้ั ในศาสนาอิสลามยังมีบทบัญญัติค่อนข้างเคร่งครัดเกี่ยวกับ ระยะห่างระหวา่ งเพศตรงข้ามอย่างชัดเจน ชวนรู้เพื่อสนั ติสุขชายแดนใต้ 67
9. หา้ มลอ้ เลยี นเพศสภาพของคนมสุ ลมิ ท่เี ป็นเพศทางเลือก ในสงั คมคนมสุ ลมิ (นาย)ู ถอื กนั วา่ “เพศทางเลอื ก” หรือ ในภาษานายูเรียกว่า “ปอแน” (อ่านว่า ปอ – แน) แปลว่า กะเทย ไมว่ า่ จะชายหรอื หญงิ นนั้ ถอื วา่ เปน็ การทำ� ผดิ หลกั ศาสนา อยา่ งไรกด็ ี ตอ่ ใหม้ สุ ลมิ ผนู้ น้ั จะเปน็ “เพศทางเลอื ก” ท่ีมลี กั ษณะ เปิดเผยตนเองหรือไม่ การล้อเลียนหรือกล่าวถึงพฤติกรรม การเป็นเพศทางเลือกไม่ว่าทางตรงหรืออ้อม ย่อมเป็นการ ไม่ให้เกียรติต่อบุคคลผู้น้ัน รวมถึงท�ำให้ครอบครัวของเขา รู้สึกอับอายอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ท่ีมีพ่อหรือญาติ ผใู้ หญ่มีหนา้ มตี าในสงั คมหรือชาวบ้านให้การยอมรับนับถือ 68 ชวนรู้เพอ่ื สนั ติสขุ ชายแดนใต้
10. ห้ามพูดคำ� หยาบในภาษานายู เชน่ อะเนาะ อะญงิ บาบี โดยเดด็ ขาด ในภาษานายูเองก็มีค�ำหยาบคายที่ไม่ควรใช้ในชีวิต ประจ�ำวัน โดยเฉพาะ อะเนาะ อะญิง บาบี เพราะค�ำว่า “อาเนาะ อะญงิ ” (อา่ นวา่ อา – เนาะ - อะ – ยงิ ) แปลวา่ “อา้ ยลกู หมา” และ “บาบี” ที่แม้ในภาษาไทยจะไม่ได้มีความหมายหยาบ เพราะแปลว่า “หมู” แต่ตามหลักศาสนาอิสลามถือเป็น สตั วท์ ส่ี กปรก หรอื นะญสิ (อา่ นวา่ นะ – ยดิ ) ซงึ่ คนมสุ ลิมไม่ สามารถรับประทานได้ ท�ำให้ท้ัง 2 ค�ำน้ีเป็นค�ำด่าหรือ ค�ำหยาบอย่างมาก ไมค่ วรพดู พรำ�่ เพรอื่ เพราะอาจทำ� ใหช้ าว บา้ นไมพ่ อใจอย่างรุนแรง นอกจากน้ี ค�ำอื่น ๆ ท่ีไม่ควรพูด อย่างการพูดถึงเพศ เช่น “บูเจ๊ะ” ท่ีแปลว่าอวัยวะเพศหญิง “กอชะ” (อ่านว่า กอ – ช้ะ) ทแ่ี ปลว่าการร่วมเพศ ก็ถือวา่ ไม่เหมาะสมเช่นกัน ชวนรู้เพื่อสนั ติสุขชายแดนใต้ 69
11. ห้ามถามว่า “พูดไทยได้หรอื ไม่ ?” การพูดเช่นนี้จะเป็นการสร้างความไม่พอใจแก่ ประชาชนเป็นอยา่ งมาก เนอ่ื งจากพวกเขามจี ิตส�ำนึกและ อัตลักษณ์เป็น “คนนายู” ไม่ใช่ “คนไทย” หรือ “ซีแย” (สยาม) ดังน้ัน การพูด “นายู” จึงถือเป็นสิ่งท่ีส�ำคัญมาก โดยปกตคิ นมสุ ลมิ (นาย)ู บางคนอาจพดู ไทยไม่ได้หรืออาจ ไมค่ ลอ่ ง แตส่ ามารถฟงั บางประโยคทงี่ า่ ย ๆ ได้ หากทา่ นพดู กับเขาเป็นภาษาไทยแต่กลับได้ค�ำตอบเป็นภาษานายูแทน สถานการณ์เชน่ น้ีใหพ้ ยายามหาล่ามมาพดู แทน 70 ชวนรู้เพอื่ สันติสขุ ชายแดนใต้
12. ห้ามแสดงอาการไม่พอใจเม่ือ ประชาชนลอ้ เลยี นวา่ ทา่ นพดู ภาษานายู ไมช่ ัด เพราะการพูดผิดพูดถูกในช่วงฝึกภาษาใด ๆ ก็ตาม นั้นเป็นเรื่องปกติ หากคนมุสลิม (นายู) บางคนเห็นว่าท่าน พูดภาษาของพวกเขาผิดอยู่ พวกเขาอาจหัวเราะหรือแสดง ท่าทางล้อเลยี นท่านได้ ท้ังน้ี ห้ามแสดงออกถึงความไม่พอใจดังกล่าว ขอให้ ท่านเข้าใจว่าเป็นการฝึกฝนและมองหาประสบการณ์ใน การฝึกภาษาใหม่ ๆ เพราะหากท่านสามารถสื่อสารกับ ประชาชนที่เป็นคนมุสลิม (นายู) ได้อย่างเข้าใจตรงกัน สุดท้ายแล้วคุณประโยชน์ก็ย่อมตกต่อตัวท่านเองรวมทั้ง แก่ทางราชการด้วย ชวนรู้เพือ่ สันติสขุ ชายแดนใต้ 71
13. ห้ามหัวเราะหรือแสดงกิริยาไม่ สุภาพ หากคนมุสลิมพูดไทยไม่ชัดหรือ พูดผดิ เน่ืองจากภาษาไทยไม่ได้เป็นภาษาหลักหรือภาษาแม่ ของคนมสุ ลมิ ทพี่ ดู ภาษานายูทำ� ใหก้ ารออกเสยี งคำ� ในภาษาไทย โดยเฉพาะคำ� ทเ่ี ปน็ ภาษาทางการหรือที่มีความยากซับซ้อน ในการออกเสียง จึงถือเป็นเรื่องยากส�ำหรับประชาชนทั่วไป ถ้าหากประชาชนพูดผิดหรือพูดไม่ชัด ท่านจึงควรข่ม เก็บความรู้สึกไว้และห้ามหัวเราะหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพ เปน็ อนั ขาด เพราะถอื เปน็ การดถู กู หรอื เหยยี ดหยามศกั ดศ์ิ รี เปน็ อยา่ งมาก เพราะปกตพิ วกเขาบางคนแทบไมพ่ ดู ภาษาไทย ในชวี ิตประจำ� วันเลย 72 ชวนรู้เพ่อื สนั ติสุขชายแดนใต้
14. ห้ามพดู คำ� วา่ “แขก” คำ� วา่ “แขก” ถอื วา่ เปน็ คำ� หยาบอยา่ งรนุ แรงในบรบิ ท ของพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เน่ืองจากบรรพบุรุษ ของชาวบ้านเหล่าน้ีอาศัยอยู่ที่น่ีมาต้ังแต่สมัยโบราณ ไม่ได้ อพยพมาจากทไี่ หน ดงั นน้ั การใชค้ ำ� วา่ “แขก” จงึ เปน็ เสมอื น การบอกวา่ “พวกเขาเปน็ คนนอก” จึงเป็นคำ� ทคี่ วรหลีกเล่ียง โดยเดด็ ขาด ชวนรู้เพอื่ สันติสุขชายแดนใต้ 73
15. หา้ มพูดคำ� ว่า “โจรใต้” ไมใ่ ช่ว่าคนมสุ ลมิ (นาย)ู ทุกคนในพื้นท่จี ะเห็นชอบกบั ฝ่ายตรงข้ามหรือฝ่ายก่อความไม่สงบ ประชาชนส่วนใหญ่ รู้สึกไม่สบายใจเม่ือมีการพูดถึงค�ำว่า “โจรใต้” เพราะมีนัย ของการเหยียดชาติพันธุ์ อีกท้ังประชาชนบางส่วนแม้อาจ ไม่ใชแ่ นวรว่ มของฝา่ ยตรงขา้ ม แตก่ อ็ าจมที ศั นคตทิ ไ่ี มด่ ตี อ่ รฐั การใชค้ �ำว่า “โจรใต้” จึงถือว่าเป็นสิ่งที่ต้องห้าม โดยปกติ “ผู้ก่อเหตุความไม่สงบ” จะเรียกตัวเองว่า “ญูแว” (อ่านว่า ยู – แว) หรือในภาษามลายูมาตรฐานเรียกว่า “เปอยูอัง” (“Pejuang” อา่ นวา่ เปอ – ยู – องั ) แปลวา่ “นกั รบ” นอกจากน้ี คนมสุ ลมิ (นาย)ู ทวั่ ไปมกั เรยี กฝา่ ยกอ่ ความไมส่ งบวา่ “ญแู ว” ไปด้วย 74 ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้
16. หา้ มใชค้ �ำว่า “มสุ ลิมหัวรนุ แรง” เพราะไมใ่ ชม่ สุ ลมิ ทกุ คนทง้ั ในพน้ื ทส่ี ามจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้และท่ัวประเทศไทย จะมีแนวคิดหรือการแสดงออก ท่ีสุดโต่งหรือเห็นด้วยกับการกระท�ำของผู้ก่อความไม่สงบ (ญูแว) อีกท้ังแนวคิดเก่ียวกับความรุนแรงสุดโต่งเหล่าน้ี ล้วนตรงข้ามกับหลักค�ำสอนของศาสนาอิสลามซึ่งเป็น ศาสนาทม่ี ุ่งเนน้ สันติ ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ุขชายแดนใต้ 75
17. หา้ มพดู วา่ “ถา้ รบั ไมไ่ ด้ กย็ า้ ยไปอยู่ มาเลเซีย” เน่ืองจากประชาชนถือว่าบรรพบุรุษของพวกเขาอาศัย อยู่ท่ีน่ีมาต้ังแต่โบราณ พวกเขาจึงไม่ใช่ใครอ่ืนในบ้านของ ตัวเอง และไม่ได้ย้ายมาจากมาเลเซียหรือท่ีไหนอีกด้วย การกลา่ วเชน่ นเี้ ปน็ การตอกยำ้� ถงึ “ความเปน็ คนนอก” ทำ� ให้ ประชาชนที่เป็นคนมุสลิม (นายู) รู้สึกว่าเขาไม่ใช่พลเมือง ของประเทศไทย 76 ชวนรู้เพอ่ื สนั ติสุขชายแดนใต้
18. ห้ามพูดถึงประวัติศาสตร์ระหว่าง ไทย-รฐั ปัตตานใี นแงไ่ มส่ รา้ งสรรค์ ประวัติศาสตร์ระหว่างไทยกับรัฐปัตตานีเป็นเร่ือง ละเอียดอ่อน ซึ่งเป็นเร่ืองราวในอดีตท่ีต่างฝ่ายต่างก็มองว่า มีความถกู ต้องชอบธรรม ดงั นนั้ การกลา่ วถงึ ประวตั ศิ าสตรก์ ารศกึ สงครามในพน้ื ที่ นม้ี แี ตจ่ ะสรา้ งความไมพ่ อใจตอ่ กนั ไมจ่ บสนิ้ และอาจทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาความขดั แยง้ บานปลายออกไปอยา่ งรนุ แรงได้ ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ุขชายแดนใต้ 77
19. ห้ามพูดว่า “มสุ ลมิ ให้ความร่วมมอื แต่พวกเดียวกันเอง” เร่ืองนี้เปน็ ความเขา้ ใจทไี่ ม่ถกู ต้อง เน่ืองจากในมมุ มอง ของคนมสุ ลมิ (นาย)ู กม็ องวา่ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องเจา้ หนา้ ท่ี ไทย (ซีแย) นั้นเลือกปฏิบัติอย่างดีต่อคนไทยด้วยกันเอง (รวมถึงคนไทยเชื้อสายจีน) เพราะถือว่าเป็นคนไทยและพูด ภาษาไทยเหมือนกัน ท้ังท่ีในความเป็นจริงแต่ละฝ่ายควร ให้ความร่วมมือและเก้ือกูลต่อกัน ไม่น�ำเอาความแตกต่าง มาเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงาน เรียนรู้ที่จะเข้าใจถึง ความแตกต่างของวฒั นธรรมแก่กันมากข้ึน 78 ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้
20. ห้ามใช้ข้ออ้างที่ว่า “เป็นไทย” หรือ “ทอ่ี ่นื ในประเทศไทยเขาก็ท�ำ” การใช้ข้ออ้างดังกล่าวเพ่ือขอร้องหรือท�ำให้คนมุสลิม (นาย)ู กระท�ำการบางอย่าง ท่ที �ำใหเ้ ขารู้สึกฝืนกับอตั ลักษณ์ ของตนเอง โดยอ้าง “ความเป็นไทย” นั้น เปน็ สงิ่ ที่ไม่ควรท�ำ อยา่ งยง่ิ เพราะเป็นการตอกย้�ำถึงสถานะ “ความเป็นไทย” ว่ามีลักษณะเหนือกว่าหรือมีความชอบธรรมกว่า การกระท�ำ เชน่ นจี้ ะทำ� ใหค้ นมสุ ลมิ (นาย)ู รสู้ กึ วา่ พวกเขาเปน็ ชนกลมุ่ นอ้ ย ทม่ี ปี ญั หาและขยายความขัดแยง้ ให้บานปลายออกไป ชวนรู้เพือ่ สันติสขุ ชายแดนใต้ 79
21. หา้ มพดู คำ� วา่ “มสุ ลมิ มอี ภสิ ทิ ธเ์ิ หนอื คนอื่น” หรอื “มุสลิมเรอ่ื งมาก” การพูดเช่นนี้ถือเป็นการตอกย้�ำและสร้างความ บาดหมางไมล่ งรอยกนั จนอาจเกดิ ปญั หาอคตทิ างชาตพิ นั ธ์ุ ตามมาได้ ท้ังนค้ี วรถือวา่ ทุกฝา่ ยตา่ งได้รับสทิ ธิเท่าเทียมกนั ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในขณะเดียวกัน ข้อก�ำหนดเฉพาะตามหลักศาสนาอิสลามที่บางครั้งได้วาง ข้อห้ามหรือละเว้นการกระท�ำบางอย่าง ถือเป็นหลักศาสนา ที่มุสลมิ ต้องพึงยดึ ถอื ปฏบิ ัตอิ ย่างเคร่งครดั ดงั นั้น การงดการกระทำ� บางอยา่ งหรอื ไดส้ ิทธเิ พ่ิมเตมิ บางประการจงึ เปน็ ไปเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั ศาสนา เพราะหาก คนมสุ ลมิ ไมก่ ระทำ� กอ็ าจจะเปน็ การผดิ หลกั ศาสนาได้(สน้ิ สภาพ ความเป็นมุสลิม) 80 ชวนรู้เพอ่ื สนั ติสขุ ชายแดนใต้
๒๒. ห้ามพดู วา่ “คอ่ ยละหมาดทหี ลงั งานส�ำคญั กวา่ ” เพราะการละหมาด (มาแย) เป็นพิธีกรรมส�ำคัญตาม หลกั ศาสนาอสิ ลามทสี่ มั พนั ธก์ บั วถิ ชี วี ติ ของชาวมสุ ลมิ (นาย)ู ซง่ึ กำ� หนดไวว้ า่ การละหมาดจำ� ตอ้ งกระทำ� ตามเวลาทกี่ ำ� หนด (ละหมาดวนั ละ 5 เวลา) การพูดประโยคทว่ี ่า “ค่อยละหมาด ทหี ลงั งานสำ� คัญกว่า” จงึ ไม่ควรอยา่ งย่งิ เพราะถอื วา่ ไม่ให้ เกียรตแิ ละละเมดิ สทิ ธิทางวัฒนธรรมและหลักศาสนา ดังนั้น ควรมีการออกแบบหรือวางแผนงานท่ีจะไม่ กระทบต่อการปฏิบัติศาสนกิจ เช่น เลื่อนเวลาประชุมหรือ รายงานออกไปในช่วงหลังเวลาละหมาดไปแลว้ เป็นต้น ชวนรู้เพื่อสันติสขุ ชายแดนใต้ 81
23. ห้ามรบกวนคนมุสลิมในเวลา ละหมาด เนอ่ื งจากการละหมาด หรอื มาแย (อา่ นวา่ มา – แย) นน้ั ถือเป็นช่วงเวลาส�ำคัญที่คนมุสลิมท�ำการแสดงความเคารพ ตอ่ พระเจ้าหรือพระองค์อลั ลอฮ์ ดังน้ัน การรบกวนเวลาละหมาด ไม่ว่าจะเป็นการรีบ รอ้ นเขา้ ไปในมสั ยดิ ชว่ งละหมาด การสง่ เสยี งดงั รบกวนเวลา ละหมาด หรอื บงั คบั ไมใ่ หค้ นมสุ ลมิ ทำ� การละหมาด จงึ เปน็ สง่ิ ทค่ี วรหลีกเล่ยี งอย่างมาก 82 ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้
24. ห้ามล้อเลียนท่าทางในการปฏิบัติ ศาสนกจิ ของคนมุสลิม เนื่องจากการละหมาด (มาแย) เป็นพิธีกรรมตามหลัก ศาสนา และการสลามถือเป็นการทักทายท่ีส�ำคัญตามหลัก ศาสนาอิสลาม ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตประจ�ำวันของ คนมสุ ลมิ โดยตรง เพราะถอื วา่ เปน็ ส่ิงที่คนมสุ ลิมต้องกระทำ� ทุกวันในชีวติ ประจำ� วัน ดังนั้น การล้อเลียนท่าทางการละหมาดหรือการสลาม จงึ ถอื เปน็ การไม่ให้เกยี รตแิ ก่คนมสุ ลิมอยา่ งมาก ชวนรู้เพือ่ สันติสุขชายแดนใต้ 83
25. เครา เป็นสิ่งท่ีส�ำคัญส�ำหรับผู้ชาย มุสลิม ไม่ควรพดู จาลอ้ เลียนเด็ดขาด เนื่องจาก เครา หรือ ยาโงะ (อ่านว่า ยา-โงะ) เป็นสงิ่ จ�ำเป็นท่ีชายมุสลิมต้องไว้ตามหลักการศาสนา โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ ผใู้ ดมีเคราเป็นสีแดงโดยธรรมชาติ (เคราทองแดง) ผู้นั้นจะได้รับการยกย่องจากชาวบ้านมุสลิมมากเพราะถือ เป็น ผวู้ ิเศษ หรอื วาลี (อ่านวา่ วา – ลี) ดงั น้นั การพดู ลอ้ เลยี นผู้ทไ่ี วเ้ ครา เชน่ “เคราแพะ” อาจ ท�ำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกไม่สบายใจได้ เพราะอาจถือเป็น การกระทำ� ทล่ี อ้ เลียนหลกั ธรรมคำ� สอนในศาสนาอิสลาม 84 ชวนรู้เพือ่ สนั ติสุขชายแดนใต้
26. หา้ มสมั ผสั หรอื สวมหมวกกาปเิ ยาะ ผ้าสาระบั่น ผ้าคลุม (ฮิญาบ) โดยไม่ได้ รับอนญุ าต หมวกหรือผ้าที่ใช้ปิดศีรษะถือว่าเป็นส่ิงของส่วนตัวที่ มีความส�ำคัญส�ำหรับคนมุสลิม ส�ำหรับผู้ชายมุสลิม ได้แก่ หมวกกาปิเยาะ (สวมศรี ษะ) และ ผ้าสาระบั่น (พันศีรษะ) ส�ำหรบั ผหู้ ญิงมุสลิม คือ ผ้าคลมุ (ฮิญาบ) ท้ังนี้ การหยบิ จบั สง่ิ สำ� คญั เหลา่ นโี้ ดยไมไ่ ดร้ บั การยนิ ยอม จากเจ้าของ จึงถือว่าเป็นการไม่ให้เกียรติและเสียมารยาท เป็นอย่างมาก ชวนรู้เพื่อสันติสุขชายแดนใต้ 85
27. หา้ มเดินขา้ มหนงั สอื (กีตะ๊ ) เน่อื งจากหนังสือที่เขียนด้วยอักษรยาวี หรือที่เรียกกัน ในทอ้ งถน่ิ วา่ กตี ะ๊ (อา่ นวา่ กี – ตะ๊ ) โดยสว่ นมากนนั้ เปน็ ตำ� รา ทางด้านศาสนา เช่น คัมภีร์อัลกุรอาน หลักค�ำสอน หรือ เน้อื หาว่าด้วยประวัติศาสตร์หรือธรรมเนียมต่าง ๆ ซ่ึง คนมสุ ลมิ (นาย)ู ลว้ นถอื กนั วา่ เปน็ ของสงู และมคี ณุ คา่ ทางจติ ใจ บางเลม่ อาจมีอายุนับร้อยปีและถือเป็นมรดกตกทอด ในวงศต์ ระกลู เวลาจะอา่ นจงึ ไมว่ างลงบนพนื้ แตม่ กั รองดว้ ยผา้ หรอื วางบนท่ีต้ังหนังสอื การเดนิ ขา้ มหนงั สอื เหล่านี้จึงถอื วา่ เป็นการไม่ใหเ้ กียรติแกท่ ง้ั หนงั สอื และเจา้ ของ 86 ชวนรู้เพื่อสนั ติสุขชายแดนใต้
28. การอนญุ าตให้เปดิ สถานทที่ ี่มคี วาม อ่อนไหวตอ่ หลกั ศาสนาในชมุ ชน การใช้ดุลยพินิจทางการปกครองโดยขาดความเข้าใจ ธรรมเนียมปฏิบัติของชุมชนคนมุสลิม (นายู) ถือเป็นการไม่ ให้เกียรติประชาชนในพื้นที่ ทั้งน้ี สถานที่ที่มีความอ่อนไหว ดังกลา่ ว ได้แก่ สถานบนั เทิง ผับ บาร์ ที่ตดิ กบั ชมุ ชนมสุ ลมิ ท่านควรใช้ดุลยพินิจอย่างรัดกุม หลีกเล่ียงการเผชิญหน้า และความขัดแย้ง ส่ิงเหล่าน้ีเป็นเรื่องละเอียดอ่อนอย่าง มาก หากจะเปิดสถานท่ที ีม่ ีลักษณะขดั ต่อหลกั ศลี ธรรมอันดี ดงั กลา่ วควรปรกึ ษานกั การศาสนาเชน่ สปั ปรุ ษุ หรอื โตะ๊ อหิ มา่ ม และประชาชนบา้ นใกลเ้ คยี ง เพอ่ื ทห่ี าพน้ื ทที่ เ่ี หมาะสมและไม่ กระทบกับหลกั ความเชอ่ื ทางศาสนา ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้ 87
29. หา้ มแสดงออกถงึ การดถู กู ความเชอ่ื ท้องถิน่ แม้ความเชื่อหรือพิธีกรรมท้องถ่ินบางอย่างอาจจะมอง ว่างมงาย ไม่ตรงตามหลักวิทยาศาสตร์ หรือบางคร้ังก็พบ วา่ ไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั ความเชอ่ื ของศาสนาอสิ ลามเสยี ทเี ดยี ว เน่ืองจากความเช่ือบางอย่างที่คนมุสลิมในพ้ืนท่ีสามจังหวัด ชายแดนภาคใตย้ ดึ ถอื โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ชาวบา้ นในชมุ ชนท่ี หา่ งไกล (กาปง) ทย่ี งั สามารถพบเหน็ พธิ ธี รรมทยี่ งั ยดึ โยงกบั ความเชื่อแบบด้ังเดิม ผ้ทู �ำพธิ ดี ังกลา่ วเรยี กกันว่า โต๊ะบอมอ (อา่ นวา่ โต๊ะ – บอ – มอ) แปลว่า หมอพ้นื บา้ น โปรดร�ำลกึ เสมอว่าการเคารพให้เกียรติมรดกทางวัฒนธรรมเป็นหัวใจ สำ� คญั ของการอยรู่ ว่ มกนั อย่างสันติสขุ 88 ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้
30. หา้ มใส่รองเท้าเขา้ ไปในบ้านผอู้ นื่ สิ่งน้ีถือเป็นส่ิงที่ไม่ควรปฏิบัติอย่างเด็ดขาด เน่ืองจาก คนมสุ ลมิ (นายู) มักจะละหมาด รับประทานอาหาร หรอื ทำ� กจิ กรรมจปิ าถะบนพนื้ บา้ น โดยเฉพาะการละหมาดทบี่ า้ นนนั้ สามารถทำ� ทมี่ ุมไหนกไ็ ดใ้ นบา้ น ดังนั้น การท�ำให้พ้ืนบ้านสกปรก ย่อมท�ำให้เกิด ความไม่พอใจได้ ยกเว้นสถานการณ์ท่ีท่านเห็นว่าจ�ำเป็น หรือต้องกระทำ� การอยา่ งเรง่ ดว่ น เพราะหลายครงั้ มกั เกดิ กรณี ทเ่ี จา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยความมนั่ คงไดเ้ ขา้ เยย่ี มหรอื ตรวจคน้ บา้ นของ คนมสุ ลมิ (นาย)ู และมกั จะใสร่ องเทา้ เขา้ ไปในบา้ นของพวกเขา โดยใชข้ อ้ อ้างวา่ รองเท้าถอดยาก ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 89
31. ห้ามขับรถหนี หากท่านขับรถชน สตั วเ์ ลยี้ งชาวบ้าน บางพ้ืนท่ีในชุมชนหรือบนถนนในเขตชานเมือง การเลยี้ งสตั วแ์ บบปลอ่ ยใหห้ าอาหารเองเปน็ สง่ิ ทพ่ี บไดท้ วั่ ไป มกั จะพบวา่ รมิ ถนนหนทางทง้ั ในชมุ ชนหรอื ถนนใหญ่ มกั จะมี แพะ แกะ หรือววั ก�ำลังเลม็ หญ้าอย่รู มิ ถนน หากเมอ่ื ใดท่าน เกิดขับรถชนสัตว์เล้ียงของชาวบ้านเข้า ไม่ว่าจะเป็นเพราะ ความประมาทหรืออุบัติเหตุ เบื้องต้นท่านควรแสดงตัวเพื่อ รับผิดชอบตอ่ เจา้ ของ การชนแล้วหนีอาจก่อใหเ้ กิดความไม่ เขา้ ใจกนั และอาจถกู ขยายเปน็ เรอ่ื งใหญโ่ ตจากผไู้ มห่ วงั ดไี ด้ 90 ชวนรู้เพ่ือสนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้
32. หา้ มแสดงออกถงึ การสนบั สนนุ ใหใ้ ช้ กำ� ลงั ปราบปรามผู้กอ่ ความไม่สงบ เนื่องจากการใช้ก�ำลังในการเข้าปราบปรามของ เจา้ หนา้ ที่ เปน็ ทางเลอื กทา้ ยสดุ ในการตดั สนิ ใจเพอ่ื ระงบั เหตุ ความไม่สงบ การแสดงออกถึงการสนับสนุนการด�ำเนินการ ดงั กลา่ ว อาจเปน็ การสรา้ งความไมพ่ อใจตอ่ ประชาชนในพนื้ ที่ และจะสง่ ผลกระทบตอ่ การไดร้ บั ความรว่ มมอื จากประชาชน ในระยะยาว ทั้งยังท�ำให้ประชาชนเกิดความไม่ไว้วางใจอีก ดว้ ย อยา่ งไรกด็ ี ควรแสดงออกถึงความเหน็ อกเห็นใจ เพราะ ไมว่ า่ ผใู้ ด ทงั้ ทเ่ี หน็ ดว้ ยหรอื ไมเ่ หน็ ดว้ ยตอ่ การใชค้ วามรนุ แรง กล็ ้วนเก่ยี วขอ้ งกบั ความสญู เสยี แทบท้งั ส้นิ ชวนรู้เพอื่ สนั ติสุขชายแดนใต้ 91
92 ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ุขชายแดนใต้
ส่งิ ที่ควรระมัดระวัง ชวนรู้เพ่อื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้ 93
1. การน�ำอาหารต้องห้ามของอิสลาม (ฮะรอม) มารับประทานในท่ีท�ำงานท่ีมี เพือ่ นรว่ มงานเป็นคนมุสลิม ควรหลีกเลี่ยงการน�ำอาหารที่เป็นของต้องห้ามของ อสิ ลาม (ฮะรอม) เช่น เนื้อหมู มาทานกับเพ่ือนร่วมงาน คนมสุ ลมิ หรอื ทานในพนื้ ทสี่ ว่ นกลางของทที่ ำ� งาน เนอื่ งจากจะ ทำ� ใหเ้ พื่อนร่วมงานคนมุสลิมรู้สึกอึดอัดใจ ซ่ึงในพ้ืนที่ สามจงั หวดั ชายแดนภาคใตน้ ม้ี กั มคี นมสุ ลมิ จำ� นวนมากทำ� งาน ในสถานท่ีราชการ ทางทีด่ หี ากเป็นไปได้ อาหารที่ท่านน�ำ มารบั ประทานในทท่ี ำ� งานควรเปน็ อาหารทไี่ มม่ สี ว่ นผสมของ เน้ือหมู เช่น เนอ้ื ไก่ ปลา อาหารทะเล เป็นตน้ 94 ชวนรู้เพื่อสันตสิ ขุ ชายแดนใต้
2. หากไม่แน่ใจในอาหารชนิดน้ันว่ามี ส่ิงที่ต้องห้าม (ฮะรอม) หรือไม่ ไม่ควร ชกั ชวนมสุ ลมิ ใหร้ ับประทาน แมว้ า่ อาหารเหลา่ นน้ั จะไมไ่ ดม้ สี ว่ นประกอบของหมรู ะบุ อยบู่ นฉลาก แตไ่ มไ่ ดห้ มายความวา่ อาหารเหลา่ นน้ั จะถกู หลกั ศาสนา หรอื “ฮาลาล” เสมอไป เพราะสตั วป์ ระเภท ววั ไก่ แพะ หรือแกะ หากไม่ได้เชือดให้ถูกวิธีของหลักศาสนาอิสลามก็ นับวา่ ตอ้ งห้ามได้เชน่ กัน ดังนั้น ถ้าไม่ได้ซ้ือจากร้านอาหารของคนมุสลิมหรือ ฉลากอาหารมีเคร่ืองหมาย “ฮาลาล” ก็ไม่ควรชักชวนเพ่ือน คนมุสลมิ ให้รับประทาน ชวนรู้เพื่อสันติสุขชายแดนใต้ 95
3. ควรเลือกร้านอาหารหรือโรงแรมท่ีมี ฮาลาล หากตอ้ งการจดั กจิ กรรมหรอื งาน เลยี้ งสงั สรรค์ เนื่องจากคนมุสลิมไม่สามารถร่วมรับประทานอาหาร กับผู้อื่นได้ หากอาหารเหล่าน้ันไม่ได้รับการรับรองว่าเป็น “อาหารฮาลาล” ดังน้ัน เพื่อให้คนมุสลิมสามารถมาร่วมกิจกรรม หรือ งานเลี้ยงสังสรรค์ที่มีการรับประทานอาหารได้อย่างราบรื่น จงึ ควรจดั หารา้ นอาหารหรอื โรงแรมทไ่ี ดร้ บั “เครอื่ งหมายฮาลาล” หรือมีผูป้ ระกอบการเปน็ มสุ ลมิ 96 ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้
4. ระมดั ระวังเรือ่ งการใช้ภาชนะรว่ มกัน เน่ืองจากการใช้ภาชนะบรโิ ภคน้ัน แมอ้ าหารจะมาจาก ร้านที่ผ่านมาตรฐานหรือปรุงอย่างถูกวิธี (ฮาลาล) แต่หาก ภาชนะที่น�ำมาใส่อาหารมีรอยหรือคราบอาหารที่ต้องห้าม (ฮะรอม) เชน่ จานทเ่ี คยไดใ้ สก่ บั ขา้ วทมี่ สี ว่ นผสมของเนอ้ื หมู มากอ่ น ซงึ่ ตอ่ ใหล้ า้ งสะอาดดว้ ยวธิ ปี กตแิ ลว้ กต็ าม แตห่ ากไม่ ไดล้ า้ งภาชนะตามหลกั ของศาสนาอสิ ลาม กถ็ อื วา่ อาหารนน้ั ปนเป้อื นของต้องห้ามไปแล้วอยดู่ ี ดงั นน้ั ควรจดั ภาชนะแยกออกมาสำ� หรบั เพอื่ นรว่ มงาน หรือชาวบ้านที่เป็นมุสลิมเป็นการเฉพาะเพื่อสร้าง ความสบายใจใหแ้ ก่ทกุ ฝ่าย ชวนรู้เพอื่ สันติสขุ ชายแดนใต้ 97
5. ไมค่ วรแสดงทา่ ทยี ว่ั ยวน ในขณะทค่ี น มุสลมิ ก�ำลงั ถอื ศีลอด (ปอซอ) การแสดงออกดงั กลา่ วนี้ อาทิ การพดู วา่ “อรอ่ ยจงั ” หรอื “นา่ ทานไหม?” พฤตกิ รรมดงั กลา่ วถอื วา่ เปน็ การไมใ่ หเ้ กยี รติ และลบหลทู่ างศาสนาอยา่ งมาก เพราะการถอื ศลี อด (ปอซอ) ในชว่ งเดอื นรอมฎอนเปน็ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั ตามหลกั ศาสนาอสิ ลาม นอกจากการไมพ่ ดู จายวั่ ยวนแลว้ ควรหลกี เลยี่ งการทานอาหาร ในท่ีท�ำงานเพราะกล่ินของอาหารอาจไปรบกวนสมาธิของ มุสลมิ ที่ก�ำลงั ถือศีลอดอยู่ 98 ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้
6. ระมัดระวังเร่ืองการถือศีลอดชดเชย หรอื ช่วงรายอแน ตามหลักศาสนาอสิ ลาม การถือศีลอด (ปอซอ) ในช่วง เดือนรอมฎอน จะส้ินสดุ ในวันรายอปอซอ (อ่านว่า รา – ยอ – ปอ – ซอ) หรอื เทศกาลอดี ลิ ฟติ รี แตว่ ฒั นธรรมของคนนายู บางพนื้ ทีย่ งั มชี ่วงการถอื ศีลอดชดเชยอยู่ ดังนั้น ควรระวังการพูดคุยเร่ืองอาหารในช่วงที่มุสลิม บางคนก�ำลังอดอาหารชดเชย ทางท่ีดีควรถามก่อนว่า “ช่วงนี้ปอซอชดเชยหรือไม่?” หรือ “รายอแนไหม?” เพ่ือ จะได้แนใ่ จว่าจะไมเ่ ปน็ การเสียมารยาท ชวนรู้เพือ่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150