Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เกษตรกรทฤษฎีใหม่ นายประพันธ์ ศรีสุวรรณ

เกษตรกรทฤษฎีใหม่ นายประพันธ์ ศรีสุวรรณ

Published by Weerawut Chainu, 2019-12-18 09:33:17

Description: เกษตรกรทฤษฎีใหม่ นายประพันธ์ ศรีสุวรรณ

Search

Read the Text Version

ประพนั ธ์ ศรีสวุ รรณ คมู่ ือตวั อยา่ งความส�ำ เร็จการประยกุ ต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเภท เกษตรกรทฤษฎใี หม่ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชด�ำ ริ (สำ�นกั งาน กปร.)

วธิ ดี าวน์โหลดแอพพลเิ คชน่ั จาก Google Play Store ผา่ นมอื ถอื ระบบแอนดรอยด์ 1. แตะเลอื กแอพฯ Play Store 2. พมิ พช์ อ่ื Layar ในชอ่ งคน้ หาระบบจะแสดงชอ่ื แอพฯ ใกลเ้ คยี งแบบอตั โนมตั ิ หากเจอแอพฯ ทต่ี อ้ งการใหแ้ ตะเลอื ก 3. จากนน้ั จะเขา้ ไปยงั หนา้ ตดิ ตง้ั แอพฯ ใหแ้ ตะปมุ่ ตดิ ตง้ั (Install) 4. ระบบท�ำ การตดิ ตง้ั แอพฯ เสรจ็ เรยี บรอ้ ย สามารถแตะปมุ่ เปดิ เพอ่ื ใชง้ านแอพฯ นน้ั ได้ วธิ ีใชง้ านแอพพลเิ คชน่ั Layar 1. แตะเลอื กไปทแ่ี อพฯ Layar 2. น�ำ กลอ้ งมอื ถอื สอ่ งไปทห่ี นา้ ปกของคมู่ อื ฯ 3. เมอ่ื ไดภ้ าพหนา้ ปกใหแ้ ตะทห่ี นา้ จอหนง่ึ ครง้ั ระบบจะท�ำ การสแกนภาพ 4. จากนน้ั ใหเ้ ลอื กการแสดงผลตามทต่ี อ้ งการเพอ่ื รบั ชมคลปิ วดี โี อ วธิ ดี าวน์โหลดแอพพลเิ คชน่ั จาก App Store ผา่ นมอื ถอื ระบบ iOS 1. แตะเลอื กแอพฯ App Store 2. พมิ พช์ อ่ื Layar ในชอ่ งคน้ หาระบบจะแสดงชอ่ื แอพฯ ใกลเ้ คยี งแบบอตั โนมตั ิ หากเจอแอพฯ ทต่ี อ้ งการใหแ้ ตะเลอื ก 3. จากนน้ั จะเขา้ ไปยงั หนา้ ตดิ ตง้ั แอพฯ ใหแ้ ตะปมุ่ ตดิ ตง้ั (Install) 4. ระบบท�ำ การตดิ ตง้ั แอพฯ เสรจ็ เรยี บรอ้ ย สามารถแตะปมุ่ เปดิ เพอ่ื ใชง้ านแอพฯ นน้ั ได้ วธิ ีใชง้ านแอพพลเิ คชน่ั Layar 1. แตะเลอื กไปทแ่ี อพฯ Layar 2. น�ำ กลอ้ งมอื ถอื สอ่ งไปทห่ี นา้ ปกของคมู่ อื ฯ 3. เมอ่ื ไดภ้ าพหนา้ ปกใหแ้ ตะทห่ี นา้ จอหนง่ึ ครง้ั ระบบจะท�ำ การสแกนภาพ 4. จากนน้ั ใหเ้ ลอื กการแสดงผลตามทต่ี อ้ งการเพอ่ื รบั ชมคลปิ วดี โี อ สแกนหน้าปกเพื่อรับชมวีดีโอ

ค�ำ น�ำ แม้พ้ืนท่ีทำ�เกษตรของนายประพันธ์ ศรีสุวรรณ จะไม่ อุดมสมบูรณ์เอ้ืออำ�นวยต่อการทำ�การเกษตรนัก แต่นาย ประพนั ธ์ และครอบครวั กย็ งั คงด�ำ รงชวี ติ ดว้ ยการเกษตร และ เลอื กทจ่ี ะท�ำ เกษตรอนิ ทรยี ์ เพอ่ื รกั ษาและสรา้ งสมดลุ ทางธรรมชาติ อนั น�ำ ไปสสู่ มดลุ ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องตนเองและครอบครวั ดว้ ย หลงั จากไดร้ บั รางวลั โลเ่ กยี รตยิ ศนายกรัฐมนตรี จากการ ประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คร้งั ท่ี 2 ประเภทเกษตรกรทฤษฎีใหม่ ซ่ึงสำ�นักงานคณะกรรมการ พิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ (ส�ำ นกั งาน กปร.) และภาคไี ดจ้ ดั ขน้ึ ในปี 2552 นายประพนั ธ์ ได้อาสาเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสำ�นักงาน กปร. ในปี 2555 เนอ่ื งจากมศี กั ยภาพและความพรอ้ มในการถา่ ยทอด และเปน็ แหลง่ เรยี นรกู้ ารประยกุ ตน์ อ้ มน�ำ ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปจั จบุ นั นายประพนั ธ์ ยงั คงด�ำ รงชวี ติ ดว้ ยการเกษตร บนฐานของขอ้ มลู ความรู้ และซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และแบง่ ปนั อนั เปน็ พน้ื ฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ จากวธิ คี ดิ และวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ขาและครอบครวั เชอ่ื มน่ั และชดั เจนขน้ึ ทกุ ขณะ สำ�นักงาน กปร. จัดพิมพ์ค่มู ือตัวอย่างความสำ�เร็จการ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทเกษตรกร ทฤษฎใี หม่ นายประพนั ธ์ ศรสี วุ รรณ ฉบบั นเ้ี ปน็ การพมิ พค์ รง้ั ท่ี2 เนอ่ื งจากยงั คงมคี วามตอ้ งการใชค้ มู่ อื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และสรา้ ง ความเขา้ ใจการนอ้ มน�ำ ประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท้ายน้ี สำ�นักงาน กปร. ขอขอบคุณนายประพันธ์ และ ครอบครวั ทส่ี นบั สนนุ ขอ้ มลู และภาพประกอบ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าคู่มือฉบับน้ี จะช่วยให้ผู้อ่านได้เร่ิมต้นรู้จักแนวคิดในการ ใชช้ วี ติ และท�ำ เกษตรอนิ ทรยี ์ ทน่ี �ำ สคู่ วามสขุ สมดลุ และยง่ั ยนื ของเกษตรกรผผู้ ลติ โยงใยถงึ ผบู้ รโิ ภค ส�ำ นกั งาน กปร. ธนั วาคม 2560 1

ขอ้ มลู พน้ื ฐาน ชอ่ื : นายประพนั ธ์ ศรสี วุ รรณ อายุ : 55 ปี การศกึ ษา : มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ สถานภาพ : สมรส มบี ตุ ร 2 คน ทอ่ี ยู่ : เลขท่ี 12/5 หมู่ 1 บา้ นนาสาร ต�ำ บลบา้ นปนิ อ�ำ เภอลอง จงั หวดั แพร่ โทรศพั ท์ : 08 5252 2835 จดุ เรม่ิ ตน้ ความส�ำ เรจ็ เรม่ิ ตน้ ชวี ติ เกษตรกรในปี 2539 โดยการ ไมม่ รี ายได้ การเลย้ี งปลากย็ งั ขาดทนุ อยเู่ รอ่ื ยๆ จับจองพ้ืนท่ีแห้งแล้งท่ีไม่มีต้นไม้สักต้น จนเข้าปีท่ีส่ี มะขามและมะม่วงเร่ิมออกผล และเร่ิมเข้ามาพัฒนาปลูกพืชสวน โดยขอ แตช่ ว่ งนน้ั ราคาผลผลติ ตกต�ำ่ รวม 2 ปี ขาย งบประมาณจากส�ำ นกั งานเรง่ รดั พฒั นาชนบท ได้เพยี ง 9,000 บาท จากการลงทุนทง้ั หมด (รพช.) เพอ่ื ขดุ บอ่ น�ำ้ ใชใ้ นการเกษตรและเลย้ี ง 25,000 บาท และมรี ะยะเวลารอคอยยาวนาน ปลา ใชเ้ วลาในการพฒั นาพน้ื ทเ่ี ตรยี มดนิ ขดุ บอ่ ถงึ 4 ปี เปน็ เวลา 1 ปี แลว้ เรม่ิ ท�ำ เกษตรเมอ่ื ปี 2540 จากน้ันจึงได้เปล่ียนจากการเล้ียง ปลกู มะขามและมะมว่ งอยา่ งละ 50 ตน้ เพราะ ปลานลิ มาเลย้ี งปลาดกุ เมอ่ื ปลอ่ ยลกู ปลาลงใน ชว่ งนน้ั ราคาดมี าก จากนน้ั ไดซ้ อ้ื พนั ธป์ุ ลานลิ บอ่ จ�ำ นวน 4,000 ตวั และผนั น�ำ้ เขา้ บอ่ เตม็ ทม่ี ี จากประมงอ�ำ เภอจ�ำ นวน 2,000 ตวั ในราคา ความลกึ 4 เมตร ปรากฏวา่ หลงั จากปลอ่ ยปลา ตวั ละ 1 บาท แตป่ ระสบปญั หา เนอ่ื งจากบอ่ มี ได้ 2 วนั ปลาลอยขน้ึ มาตายเกอื บพนั ตวั เมอ่ื ไป ความลกึ ถงึ 4 เมตรแตไ่ มส่ ามารถกกั เกบ็ น�ำ้ ได้ สอบถามจากประมงอ�ำ เภอ จงึ ทราบวา่ ลกู ปลา ต้องผันนำ้�จากลำ�เหมืองเข้าบ่อทุกวันเพ่ือให้ จมน�ำ้ ตายเพราะปลอ่ ยในน�ำ้ ทล่ี กึ เกนิ ไป ลกู ปลา มีนำ�้ เล้ยี งปลา ปลานิลใช้เวลาเล้ยี ง 4 เดือน ไมส่ ามารถวา่ ยจากกน้ บอ่ ขน้ึ มาเพอ่ื รบั แสงและ หมดค่าอาหารไป 3,000 บาท รวมลงทุน อาหารได้ ซง่ึ ระดบั น�ำ้ ทเ่ี หมาะสมในการเลย้ี ง ทง้ั หมด 5,000 บาท แตเ่ มอ่ื ขายปลากลบั ได้ ลกู ปลาดกุ คอื ประมาณ 1 เมตร จากนน้ั จงึ ปรบั เงินเพียง 700 บาท เพราะปลาตายไปเป็น วธิ กี ารเลย้ี งลกู ปลาดกุ ทค่ี งเหลอื อยู่ 1,500 ตวั จ�ำ นวนมาก สว่ นทร่ี อดกเ็ จรญิ เตบิ โตไมด่ ี ท�ำ ให้ จนเม่ือครบ 4 เดือน ขายได้ท้ังหมดเพียง ขายไมไ่ ดร้ าคา ชว่ งนน้ั จงึ ตอ้ งอดทนมากเพราะ 2,000 บาท ประสบปญั หาขาดทนุ อกี เชน่ เดมิ 2

แรงบนั ดาลใจในการประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลังจากขาดทุนซำ้�ซาก จึงคิดทบทวน ปลาดกุ ท�ำ ใหล้ ดรายจา่ ยตน้ ทนุ ได้ และเรม่ิ มี สาเหตขุ องการขาดทนุ และไดข้ อ้ สรปุ วา่ ตนเอง ความหวงั ท่จี ะสามารถหลุดพ้นปัญหาขาดทนุ ขาดทนุ เพราะ “ใชต้ น้ ทนุ ในการเกษตรสงู เกนิ ไป” ซำ�้ ซาก โดยการปรับเปล่ยี นวิธีทำ�การเกษตร จึงได้คิดหาวิธีลดต้นทุนด้วยวิธีคิดว่า ทำ�ให้ต้องศึกษาหาความร้แู ละประสานความ ในสมยั กอ่ นคนท�ำ การเกษตรแบบไมต่ อ้ งใชเ้ งนิ รว่ มมอื กบั เกษตรอ�ำ เภออยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ใชว้ ธิ กี าร ไมต่ อ้ งซอ้ื ปยุ๋ ยาฆา่ แมลง หรอื อาหารปลา แกป้ ญั หาทลี ะจดุ ทลี ะสว่ น น�ำ กระบวนการผลติ กย็ งั สามารถขายผลผลติ ได้ ทง้ั หมดมาเชอ่ื มโยงกนั เพอ่ื ลดตน้ ทนุ และสรา้ ง จากแนวความคิดดังกล่าว ทำ�ให้เร่ิม รายได้ ดำ�เนินการปลูกพืช เล้ียงสัตว์ และ สงั เกตธรรมชาตริ อบตวั เรม่ิ ตน้ ลองผดิ ลองถกู ประมงควบคกู่ นั ไปตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยการท�ำ เกษตรผสมผสาน ปลกู พชื อน่ื แซม และคอ่ ยๆ ปรบั เปลย่ี นมาท�ำ เกษตรแบบปลอด ต้นมะม่วงและมะขามท่ีมีอยู่เพ่ือเพ่ิมรายได้ สารพษิ ในปี2539 และพฒั นาเปน็ เกษตรอนิ ทรยี ์ นำ�ใบไม้ท่หี ล่นตามพ้นื มาทำ�ป๋ยุ หมักทดแทน ในปี2549 จนไดร้ บั ตรารบั รองมาตรฐานเกษตร การใช้ป๋ยุ เคมี ส่วนอาหารปลา นำ�ไส้ปลาท่ี อนิ ทรยี ข์ องกรมวชิ าการเกษตร แม่ค้าในตลาดแร่ท้งิ มาทดลองทำ�เป็นอาหาร 3

การประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประเทศชาติ ประชาชน สมดุล ย่งั ยนื พรอ้ มรบั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง มีภูมคิ ุ้มกันในดา้ นวตั ถุ • สังคม • ส่ิงแวดลอ้ ม • วัฒนธรรม น�ำ สู่ พอประมาณ ทางสายกลาง มีเหตผุ ล มภี มู คิ มุ้ กนั ความพอเพียง ในตัวทด่ี ี ความรอบรู้ บนพ้นื ฐาน คณุ ธรรม ความรอบคอบ ซอ่ื สัตย์สุจรติ อดทน ความระมัดระวงั ความเพยี ร มีสติ ปัญญา ทม่ี า : มลู นธิ สิ ถาบนั วจิ ยั และพฒั นาประเทศตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง, ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต,ิ 2555 4

ความพอประมาณ ท�ำ เกษตรผสมผสานอนิ ทรยี แ์ บบเนน้ การ พ่งึ พาตนเอง นำ�ส่งิ ของเหลือใช้มาทำ�ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ใช้พ้ืนท่ีทำ�การเกษตรอย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ มงุ่ ลดรายจา่ ยเพอ่ื เพม่ิ รายได้ ไม่สร้างหน้ีสินให้เป็นภาระของครอบครัว ไม่เบียดเบียนตนเองและครอบครัวโดย ดำ�เนินงานตามศักยภาพของตนเองและ ภรรยา และท�ำ การเกษตรแบบพง่ึ พาธรรมชาติ ไมท่ �ำ ลายสง่ิ แวดลอ้ ม 5

ความมเี หตผุ ล แก้ไขปัญหาการขาดทุนซำ้�ซากด้วย หลักเหตุและผล ทบทวนถึงสาเหตุความ ผดิ พลาดของตนเอง แลว้ คน้ คว้าวธิ แี กป้ ญั หา อย่างเป็นข้ันเป็นตอน ให้ความสำ�คัญกับ การสร้างความสมดุลในระบบนิเวศ ยึดหลัก ธรรมชาติพ่ึงพาธรรมชาติ เม่ือระบบนิเวศ มีความสมดุล ผลผลิตจะออกดอกออกผล ตามฤดูกาล โดยไม่จำ�เป็นต้องฝืนธรรมชาติ จนในทส่ี ดุ สามารถหลดุ พน้ จากภาระหนส้ี นิ และ ประสบความส�ำ เรจ็ ในการท�ำ เกษตรอนิ ทรยี ์ 6

การมภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี การรจู้ กั เกบ็ ออมและลงทนุ ท�ำ การเกษตร แบบไม่เกินกำ�ลัง ทำ�ให้ไม่มีหน้ีสินและ ด�ำ เนนิ ชวี ติ แบบไมเ่ ดอื ดรอ้ น สรา้ งความมน่ั คง ทางอาหารด้วยการปลูกพืชและเล้ียงสัตว์ หลากหลาย ลดการพง่ึ พาปจั จยั ภายนอกดว้ ย การใชค้ วามรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาลดตน้ ทนุ การผลติ เช่น ใช้ไส้ปลาท่เี หลือท้งิ จากตลาดมาทำ�เป็น อาหารปลา ผลติ และใชป้ ยุ๋ หมกั ทดแทนการใช้ ปยุ๋ เคมี ปลกู พชื สมนุ ไพรชว่ ยไลแ่ มลง เปน็ ตน้ ซ่ึงสามารถหลีกเล่ียงรายจ่ายภายนอกท่ีมี ราคาสงู ได้ นอกจากน้ี การท�ำ เกษตรอนิ ทรยี ย์ งั ท�ำ ใหค้ รอบครวั มสี ขุ ภาพแขง็ แรง ไมเ่ จบ็ ปว่ ย เหมอื นสมยั ทย่ี งั ใชส้ ารเคมี 7

ความรู้ เป็นผ้ใู ฝ่เรียนรู้ ม่งุ ม่นั ช่างสังเกต และ ศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื พฒั นาปรบั ปรงุ แปลงเกษตร ของตนเอง ใช้ความรู้และภูมิปัญญาในการ ลดต้นทุนเพ่ือลดภาระค่าใช้จ่าย และศึกษา วิธีการเพ่ิมมูลค่าผลผลิตเพ่ือเพ่ิมรายได้ รวมถึงมีการต่อยอดองค์ความรู้โดยการ รวมกลมุ่ ผลติ ภณั ฑป์ ลอดสารพษิ เพอ่ื พฒั นาการ ทำ�เกษตรอินทรีย์และหาตลาดรองรับผลผลิต ภายในสวน 8

คณุ ธรรม ดำ�เนินตามแนวทางเกษตรอินทรีย์อย่าง ซอ่ื สตั ย์ ใหค้ วามส�ำ คญั กบั สง่ิ แวดลอ้ ม ท�ำ การ เกษตรแบบไมเ่ บยี ดเบยี นธรรมชาติ จนไดร้ บั ตรารับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จาก กรมวชิ าการเกษตร และไดผ้ ลผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพสู่ ผบู้ รโิ ภค 9

ผลส�ำ เรจ็ จากการประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง นายประพันธ์มีพ้ืนท่ีทำ�การเกษตรแบบอินทรีย์ ทง้ั หมด11 ไร่ แบง่ พน้ื ทใ่ี ชส้ อยออกเปน็ สว่ นตา่ งๆ ดงั น้ี • พน้ื ทท่ี �ำ นา 1 ไร่ • ปลกู ไมส้ กั 5 ไร่ • ปลกู กลว้ ยหอมทอง 2 ไร่ • บอ่ น�ำ้ 2 บอ่ รวมขนาด 1 ไร่ (เลย้ี งปลาดกุ ปลานลิ และปลาตะเพยี น) • ทเ่ี หลอื เปน็ พน้ื ทเ่ี ลย้ี งไก่ เลย้ี งกบ ปลกู มะนาว นอกฤดู พชื ผกั สวนครวั และทอ่ี ยอู่ าศยั 10

ปลกู ผกั อนิ ทรยี ์ : มแี ตก่ �ำ ไร มขี น้ั ตอนและวธิ กี ารดแู ล ดงั น้ี • การเลอื กพน้ื ท่ี การท�ำ แปลงผกั อนิ ทรยี ์ ต้องให้ความสำ�คัญกับแหล่งนำ�้ และต้องห่าง จากผทู้ ใ่ี ชส้ ารเคมี รวมทง้ั พน้ื ทไ่ี มค่ วรลาดเอยี ง มคี วามราบเรยี บ ตน้ ผกั จะไดเ้ ตบิ โตเทา่ กนั และ ขายไดร้ าคาดี • การไถพรวนและเตรียมแปลง เตรียม พ้นื ท่แี ปลงโดยวางรูปแบบแปลงตามทิศของ ดวงอาทติ ย์ เนอ่ื งจากพชื ตอ้ งใชแ้ สงแดดปรงุ อาหารและฆา่ เชอ้ื โรค ขนาดความกวา้ งไมเ่ กนิ 1 เมตร ความยาวตามความเหมาะสมของ พน้ื ท่ี หากพน้ื ทท่ี �ำ แปลงปลกู พชื ไมท่ นั ใหน้ �ำ พชื ตระกลู ถว่ั หวา่ นคลมุ ดนิ เพอ่ื ท�ำ เปน็ ปยุ๋ พชื สด ซง่ึ เปน็ การปรบั ปรงุ ดนิ ไปพรอ้ มกบั การปอ้ งกนั แมลงทจ่ี ะมาวางไข่ในพงหญา้ ดว้ ย • การแยกแปลงปลกู และยกแปลงเพอ่ื ปลกู พชื ผกั กอ่ นปลกู ตอ้ งมกี ารปรบั สภาพดนิ ใน แปลงปลกู โดยการใสป่ ยุ๋ คอกจากมลู สตั วท์ ต่ี าก แห้งแล้ว จะใส่มากน้อยข้นึ อย่กู ับความอุดม สมบูรณ์ของดินท่จี ะทำ�แปลงปลูกพืชอินทรีย์ (ห้ามใชม้ ลู สัตวส์ ด) แลว้ ทำ�การคลุกดินให้ทว่ั ทง้ิ ไว้ 7 วนั • การปลูกพืชสมุนไพรไล่แมลง ปลูก สมุนไพรท่ีไล่แมลงรอบนอก เช่น สะเดา ชะอม ตะไคร้ หอม ขา่ เปน็ ตน้ ใหป้ ลกู หา่ งกนั 2 เมตรรอบพน้ื ท่ี และควรปลกู กอ่ นพชื หลกั สว่ น ดา้ นในปลกู พชื สมนุ ไพรในระดบั เตย้ี ลงมา เชน่ ดาวเรอื ง กะเพรา โหระพา ตะไครห้ อม หรอื พรกิ ตา่ งๆ ใหป้ ลกู หา่ งกนั ประมาณ1 เมตร และ ทส่ี �ำ คญั คอื ตอ้ งปลกู ตะไครห้ อมทกุ ๆ 3 เมตร แซมโดยรอบพน้ื ทด่ี า้ นในดว้ ย 11

• การเตรยี มเมลด็ พนั ธ์ุ น�ำ เมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ท่ี ตอ้ งการปลกู แชน่ �ำ้ ทม่ี อี ณุ หภมู ิ 50 - 55 องศา เซลเซียส นาน 30 นาที เพ่อื ล้างสารเคมีท่ี ติดมากบั เมล็ดพันธ์ุ จากนน้ั นำ�ข้นึ มาคลกุ กับ กากสะเดาหรอื สะเดาผง แลว้ จงึ น�ำ ไปหวา่ นลง ในแปลงทเ่ี ตรยี มไว้ น�ำ ฟางมาคลมุ และรดน�ำ้ • การเตรยี มน�ำ้ สมนุ ไพรไลแ่ มลง กอ่ น รดนำ�้ ทุกวัน ควรขย้ีใบตระไคร้หอม แล้วใช้ ไมเ้ ลก็ ๆ ตีใบกระเพรา โหระพา หรอื ขา่ ให้ เกิดกล่นิ เพ่อื ไล่แมลง และควรพ่นสารสะเดา อยา่ งตอ่ เนอ่ื งทกุ ๆ 3 - 7 วนั เปน็ การกนั กอ่ นแก้ เพราะเม่อื ไม่ใช้สารเคมี จึงควรดูแลเอาใจใส่ แปลงอยา่ งใกลช้ ดิ • การเกบ็ เกย่ี ว เมอ่ื ถงึ อายคุ วรเกบ็ เกย่ี ว ทันที ท้ังน้ี ในระยะแรกผลผลิตจะได้น้อย กว่าพืชท่ปี ลูกโดยใช้สารเคมีประมาณร้อยละ 30 แต่มีผลดีคือทำ�ให้สุขภาพของผ้ผู ลิตดีข้นึ มสี ง่ิ แวดลอ้ มดี และเมอ่ื ท�ำ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจะให้ ผลผลติ ไมต่ า่ งกบั การปลกู พชื โดยใชส้ ารเคมเี ลย • การปลูกพืชรอบต่อไป หลังจากท่เี ก็บ เก่ียวพืชรอบแรกไปแล้ว รอบต่อไปไม่ควร ปลกู พชื ชนดิ เดยี วกนั ควรปลกู หมนุ เวยี นชนดิ กนั ไป เชน่ ปลกู ผกั กาดเขยี วแลว้ ตามดว้ ยผกั บุ้งจีน เก็บผักบุ้งจีนแล้วตามด้วยผักกาดหัว เมอ่ื ท�ำ เชน่ นท้ี กุ ๆ แปลงแลว้ พชื จะใหผ้ ลผลติ ดี ท้ังน้ี พืชสมุนไพรสำ�หรับป้องกันและ ไล่แมลง จะต้องทำ�ให้เกิดการชำ้� เพ่ือจะได้ ส่งกล่ินออกฤทธ์ิต่อแมลง นอกจากน้ี ยังสามารถนำ�พืชสมุนไพรเหล่าน้ีไปขายเพ่มิ รายไดอ้ กี ทางหนง่ึ ดว้ ย 12

เลย้ี งปลา : จากขาดทนุ กลบั เปน็ รายได้ จากการขาดทุนเป็นหลักหม่ืนในระยะ เรม่ิ ตน้ ตอ้ งซอ้ื อาหารปลาจากบรษิ ทั แตเ่ มอ่ื ศกึ ษาธรรมชาตแิ ลว้ พบวา่ ปลาดกุ และปลานลิ เปน็ ปลากนิ เนอ้ื จงึ ขอไสป้ ลาจากตลาดมาสบั ละเอยี ดใหก้ นิ ทกุ วนั ท�ำ ใหล้ ดตน้ ทนุ คา่ อาหาร ปลาลงได้มาก และได้ต่อหลอดไฟนีออนท่ี บอ่ ปลา และเปดิ ไฟตอนกลางคนื เพอ่ื ลอ่ แมลง ใหบ้ นิ มาตอมไฟ และรว่ งลงในบอ่ เปน็ อาหาร เสริมของปลา ด้วยวิธีเล้ียงดังกล่าว ทำ�ให้ ปลาแขง็ แรง ตวั โต และเนอ้ื แนน่ นอกจากน้ี ยังสามารถแก้ปัญหาการเล้ียงปลาดุกและ ปลานลิ รว่ มบอ่ เดยี วกนั และไม่ใหก้ ดั กนิ กนั ได้ โดยท�ำ แสลนมากน้ั ในบอ่ ฝง่ั หนง่ึ เลย้ี งปลาดกุ อีกฝ่งั หน่งึ เล้ยี งปลานิล ทำ�ให้ใช้สอยพ้นื ท่ีได้ อยา่ งคมุ้ คา่ มากยง่ิ ขน้ึ นอกจากบ่อดินเล้ยี งปลาแล้ว ควรมีบ่อ อนบุ าลและบอ่ พกั ปลา เพอ่ื อนบุ าลลกู ปลาและ ใช้พักปลาหลังจากจับข้นึ มาก่อนส่งขาย โดย สรา้ งบอ่ ปนู กอ่ ดว้ ยอฐิ บลอ็ ก ขนาดกวา้ ง 1.8 เมตร ยาว 5 เมตร ลกึ 0.8 เมตร และปพู น้ื ดว้ ย กระเบอ้ื ง เนอ่ื งจากถา้ พน้ื บอ่ ไมเ่ รยี บ ทอ้ งปลา จะขดู กบั พน้ื บอ่ จนเปน็ แผล และขายไมไ่ ดร้ าคา 13

มะนาวนอกฤดู : ผลผลติ จากภมู ปิ ญั ญา เรม่ิ ตน้ จากแนวคดิ ทต่ี อ้ งการผลผลติ นอก • การบำ�รุงเพ่ือให้ออกผลนอกฤดู ฤดกู าลเพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ ทางการเกษตร ประกอบ หลงั จากเกบ็ เกย่ี วตน้ มะนาวจะโทรม ใหร้ ดน�ำ้ กบั ตน้ มะนาวทป่ี ลกู ไวก้ �ำ ลงั จะตาย จงึ รบี บ�ำ รงุ และ นำ้�หมักชีวภาพประมาณ 2 สัปดาห์ รดน�ำ้ และใหป้ ยุ๋ ชวี ภาพ ปรากฏวา่ ตน้ มะนาว ตน้ มะนาวจะกลบั มาแขง็ แรง สงั เกตไดจ้ ากใบทม่ี ี นน้ั กลบั แขง็ แรงขน้ึ และออกดอกออกผลทง้ั ท่ี สเี ขยี วเขม้ จากนน้ั หยดุ ใหน้ �ำ้ และปยุ๋ อกี ประมาณ ยงั ไมถ่ งึ ฤดกู าล จากนน้ั เมอ่ื เรม่ิ ศกึ ษาขอ้ มลู จงึ 2 สปั ดาห์ จนตน้ มะนาวขาดน�ำ้ และแรธ่ าตุ เพราะ พบว่าสามารถทำ�ได้จริงโดยไม่จำ�เป็นต้องใช้ รากไมส่ ามารถหาอาหารได้ เมอ่ื ตน้ มะนาวเหย่ี ว สารเคมี โดยวธิ กี ารท�ำ ใหต้ น้ มะนาวใกลจ้ ะตาย ใกลต้ าย ใหร้ บี บ�ำ รงุ โดยรดน�ำ้ ชว่ งเชา้ ตามปกติ จากนน้ั รบี บ�ำ รงุ ทนั ที และเพม่ิ ปรมิ าณน�ำ้ หมกั ชวี ภาพจากสปั ดาห์ และ ขน้ั ตอนการปลกู มะนาวนอกฤดู มดี งั น้ี 1 ขนั เปน็ 3 ขนั ใหแ้ บบวนั เวน้ วนั ตดิ ตอ่ กนั เปน็ • การเตรียมวัสดุท่จี ะใช้ปลูก ปกติแล้ว เวลา 1 เดอื น จากนน้ั ตน้ มะนาวจะกลบั มาแขง็ เกษตรกรท่ัวไปจะใช้ท่อซีเมนต์ในการปลูก แรงเหมอื นเดมิ และออกดอกออกผลนอกฤดกู าล แตจ่ ะใชต้ น้ ทนุ สงู จงึ ปรบั มาใชย้ างรถยนตเ์ กา่ เกบ็ เกย่ี วขายไดร้ าคาดมี าก แทนได้ เพราะมีคุณสมบัติเหมือนท่อซีเมนต์ และไม่ผิดหลักการท่ีต้องปลูกโดยไม่ให้ราก มะนาวลงดนิ • การเตรยี มดนิ น�ำ ยางรถยนตเ์ กา่ มาวาง ซอ้ นกนั 3 ชน้ั จากนน้ั เตรยี มดนิ ใสใ่ นยางเพอ่ื ปลกู มะนาว โดยน�ำ ดนิ 3 สว่ น ผสมคลกุ เคลา้ กบั ปยุ๋ คอก 2 สว่ น ใสแ่ กลบด�ำ คลกุ อกี 1 สว่ น หมกั ทง้ิ ไว้ 15 วนั เพอ่ื ไม่ใหม้ คี วามรอ้ นกระทบ รากของมะนาว เมอ่ื หมกั เสรจ็ แลว้ น�ำ ใสบ่ อ่ ยาง จนลน้ พนู ปากบอ่ หากรดน�ำ้ จนดนิ ยบุ ลง ควร เพม่ิ ดนิ ใหเ้ ตม็ อยเู่ สมอ • การเตรยี มพนั ธม์ุ ะนาว สามารถเลอื กได้ ทุกสายพันธ์ุ ควรเลือกก่งิ พันธ์มุ ะนาวท่รี ะบบ รากแขง็ แรง ดูใบและรากทส่ี มบรู ณ์ ไมม่ โี รค • การดูแล ควรรดนำ้�ทุกวันก่อนเวลา เกา้ โมงเชา้ เพราะเปน็ ชว่ งทม่ี ะนาวสงั เคราะห์ แสงไดด้ ที ส่ี ดุ ใหป้ ยุ๋ น�ำ้ หมกั ชวี ภาพสปั ดาหล์ ะ ครง้ั ดแู ลประมาณ 8 เดอื น มะนาวจะออกดอก ออกผลเตม็ ทแ่ี ละสามารถเกบ็ เกย่ี วผลได้ 14

ปลกู ตน้ สกั : สรา้ งบ�ำ นาญใหต้ นเอง เรม่ิ ปลกู เมอ่ื ปี 2543 และปี 2553 รวม 1 เดอื น เมอ่ื อายคุ รบ 2 เดอื นครง่ึ สามารถ จ�ำ นวน 700 ตน้ สาเหตทุ ป่ี ลกู เนอ่ื งจากไมส้ กั นำ�ลงไปปลูกในพ้ืนท่ีจริง เตรียมหลุมขนาด มีมูลค่าเหมือนทองคำ� ขายได้ราคา และมี กว้าง 1 เมตร ยาว 1 เมตร ลึก 1 เมตร ราคาแพงขน้ึ ทกุ ปี การปลกู ตน้ สกั ไมย่ งุ่ ยากและ รองพน้ื ดว้ ยปยุ๋ คอกและราดดว้ ยน�ำ้ หมกั ชวี ภาพ ไมต่ อ้ งดแู ล เพยี งรดน�ำ้ ในชว่ ง3 ปแี รก จากนน้ั จากน้ันนำ�ต้นสักลงปลูกให้รากจมลงดิน ปลอ่ ยทง้ิ ไวโ้ ดยไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งดแู ลอกี เลย ปลอ่ ย ประมาณ 30 เซนติเมตร ใช้ไม้ไผ่เหลาดาม ใหว้ ชั พชื ขน้ึ เพอ่ื สรา้ งระบบนเิ วศ จนกระทง่ั ปี ลำ�ต้นไว้กันล้ม รดนำ�้ ทุกเช้าและราดด้วยนำ�้ 2563 ตน้ สกั อายุ 20 ปี คาดวา่ จะขายไดร้ าคา หมกั ชวี ภาพสปั ดาหล์ ะครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ประมาณ ตน้ ละ 10,000 บาท 2-3 ปี ต้นสักจะแข็งแรงเต็มท่ี จากน้ัน ข้ันตอนการปลูกไม้สัก คือนำ�เมล็ดสัก ไมต่ อ้ งดแู ลอกี ตอ่ ไป โดยตน้ สกั พรอ้ มจะตดั ขาย ทต่ี กอยทู่ ว่ั ไป มาแชน่ �ำ้ ไว้ 1 คนื จากนน้ั น�ำ มา เมอ่ื มอี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป ไมส้ กั พนั ธท์ุ น่ี ยิ มและ เพาะในแกลบด�ำ ไมต่ อ้ งรดน�ำ้ เพาะไวป้ ระมาณ เปน็ ทต่ี อ้ งการของตลาดมากทส่ี ดุ คอื ไมส้ กั ทอง 2 สปั ดาหจ์ นกระทง่ั งอกเปน็ ตน้ ออ่ น ดแู ลตน้ ทง้ั น้ี สง่ิ ทต่ี อ้ งพงึ ระวงั จากการปลกู ไมส้ กั ออ่ นโดยการพรมน�ำ้ เชา้ เยน็ ตดิ ตอ่ กนั 1 เดอื น คือ ไม้สักเป็นไม้เศรษฐกิจของประเทศ จากนน้ั ยา้ ยลงปลกู ใสถ่ งุ ด�ำ ทใ่ี หด้ นิ ผสมปยุ๋ คอก การปลกู และตดั ไม้สักมีระเบียบตามกฎหมาย อยา่ งละสว่ น น�ำ ตน้ ออ่ นไปไวใ้ นทแ่ี จง้ ทแ่ี สงแดด ผทู้ ส่ี นใจปลกู ควรศกึ ษาขน้ั ตอนใหด้ ี จงึ ควรปรกึ ษา ส่องถึง ดูแลด้วยการรดนำ้�เช้าเย็นเป็นเวลา เจา้ หนา้ ทเ่ี กษตรกอ่ นลงมอื ปลกู 15

กลว้ ยหอมทองอนิ ทรยี ์ : ไมผ้ ลสรา้ งรายได้ นายประพนั ธเ์ รม่ิ ปลกู กลว้ ยหอมทองเมอ่ื หน่อน้ีออก เพ่ือไม่ให้หน่อแย่งอาหารจาก ปี 2559 เร่มิ ต้นจากได้รับหน่อกล้วยมาจาก ตน้ แม่ เกบ็ ไวเ้ พยี ง 1 - 2 หนอ่ เพอ่ื พยงุ ตน้ แม่ เครอื ขา่ ยเกษตรกร เมอ่ื ทดลองปลกู แลว้ พบวา่ เมอ่ื มลี มแรง ดา้ นการรดน�ำ้ ชว่ งทล่ี งหนอ่ กลว้ ย เจริญเติบโตดี และขายได้ถึงหวีละ 80 บาท ควรรดแคพ่ อชมุ่ ชน้ื แตเ่ มอ่ื ตน้ กลว้ ยตง้ั ตวั และ จากน้นั จึงลงหน่อกล้วยเพ่ิมเติมจนเต็มพ้นื ท่ี ตดิ ปลแี ลว้ ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งรดน�ำ้ ทกุ วนั เหมอื นพชื 2 ไร่ โดยในปที ผ่ี า่ นมา มรี ายไดจ้ ากการขาย ชนดิ อน่ื ส�ำ หรบั การบ�ำ รงุ ดว้ ยปยุ๋ ควรใสป่ ยุ๋ คอก กลว้ ยหอมทองมากถงึ 120,000 บาท หรอื ปยุ๋ หมกั ตง้ั แตเ่ รม่ิ ปลกู เพราะกลว้ ยเปน็ พชื การปลกู กลว้ ยหอมทองตอ้ งเลอื กพน้ื ท่ใี ห้ ทต่ี อ้ งการธาตอุ าหารมาก เหมาะสม น�ำ้ ไมท่ ว่ ม ดนิ รว่ นซยุ ระบายน�ำ้ ไดด้ ี ประมาณ 10 เดอื น เมอ่ื กลว้ ยเรม่ิ ออกปลี หากดินเป็นแอ่งควรปรับดินให้มีความลาดเท และแทงปลจี นสดุ ใหต้ ดั ปลที ง้ิ จากนน้ั หอ่ เครอื เพอ่ื ปอ้ งกนั น�ำ้ ทว่ มในฤดฝู น จากนน้ั คลกุ เคลา้ กลว้ ยดว้ ยถงุ พลาสตกิ สฟี า้ ขนาดใหญแ่ ละยาว ปยุ๋ คอกกบั ดนิ ชน้ั บน แลว้ น�ำ หนอ่ กลว้ ยทเ่ี ตรยี ม กวา่ เครอื กลว้ ย เปดิ ปากถงุ ใหม้ อี ากาศถา่ ยเท ไว้วางกลางหลุม กลบดินให้แน่นแล้วรดนำ้� ไดด้ ี จากนน้ั อกี ประมาณ90-110 วนั กลว้ ยจะ แต่ละต้นควรห่างกันประมาณ 2 เมตร เพ่อื แกพ่ อดี สงั เกตไดจ้ ากกลว้ ยหวสี ดุ ทา้ ยเรม่ิ กลม สะดวกในการพรวนดนิ ใสป่ ยุ๋ ตดั ใบ และท�ำ ให้ สผี ลจางลงกวา่ เดมิ จงึ สามารถเกบ็ เกย่ี วได้ อากาศหมนุ เวยี นไดด้ ี ทง้ั น้ี ขอ้ ควรระวงั ในการปลกู กลว้ ยหอมทอง เมอ่ื ตน้ กลว้ ยมอี ายุ 20 - 30 วนั ท�ำ การ คอื มเี ครอื ใหญ่ หนกั และคอออ่ น เมอ่ื ขาดน�ำ้ ปาดหน่อเพ่ือให้ต้นแตกใบเสมอกัน จนต้น หรอื ลมพดั แรงจะประสบปญั หาตน้ หกั ลม้ ไดง้ า่ ย กลว้ ยอายุ 4 - 6 เดอื น จะเรม่ิ มกี ารแตกหนอ่ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งใชไ้ มค้ �ำ้ ยนั หรอื ดามกลว้ ยทกุ ตน้ ท่ี หนอ่ ทเ่ี กดิ ตามมาเรยี กวา่ หนอ่ ตาม ควรเอา ออกปลแี ลว้ 16

นอกจากความรู้ด้านการปลูกพืชผล อินทรีย์ดังกล่าวแล้ว นายประพันธ์ยังมีความ รู้ด้านนำ้�หมักชีวภาพการเพ่ิมมูลค่าข้าวด้วย กระบวนการกาบา หรือการทำ�ให้ข้าวงอก เพ่ือให้ข้าวสามารถเก็บได้นานโดยไม่มีมอด รบกวน โดยกระบวนการกาบาใชเ้ วลา 4 วนั สามารถขายขา้ วไดเ้ พม่ิ ขน้ึ กโิ ลกรมั ละ 20 บาท รวมถึงต่อยอดผลผลิตเกษตรอินทรีย์โดยการ เขา้ รวมกลมุ่ ผลติ ภณั ฑป์ ลอดสารพษิ ท�ำ ใหม้ ี ตลาดรองรบั สนิ คา้ ภายในสวนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 17

รางวลั ความส�ำ เรจ็ • ปี 2552 รางวัลโล่เกียรติยศนายกรัฐมนตรี จากการประกวดผลงานตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง คร้งั ท่ี 2 สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ (ส�ำ นักงาน กปร.) 18

แผนท่ี 19

รายชอ่ื ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ และเบอรต์ ดิ ตอ่ ทง้ั 47 แหง่ ตามภาคตา่ งๆ ทว่ั ประเทศ ลำ�ดบั ศส �ำนู นยักเ์ รงยี านน รเู้กศปรรษ.ฐก จิ พอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศพั ท์ ภาคกลาง 1. นายประมาณ ประสงค์สนั ต์ ประชาชนในพน้ื ทห่ี า่ งไกลและกนั ดาร กาญจนบุรี 08 7903 0912 2. นายวนิ ยั สุวรรณไตร ประชาชนทัว่ ไป ฉะเชิงเทรา 09 8816 2825 3. นายสำ�รอง แตงพลบั เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ เพชรบรุ ี 08 9076 4325 4. นายณรงค์ บัวส ี เกษตรกรทฤษฎีใหม่ กรุงเทพฯ 08 7357 6999 5. นายยวง เขยี วนลิ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ นนทบรุ ี 08 1929 9159 6. นายปรีชา เหมกรณ ์ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ กรงุ เทพฯ 08 5059 3555 7. กล่มุ ส่งเสริมและผลติ พนั ธ์ขุ า้ ว ชุมชนบา้ นไทรใหญ่ กลมุ่ เกษตรทฤษฎีใหม่ นนทบรุ ี 08 0076 8989 8. ชมุ ชนบางรกั นอ้ ย ชมุ ชนเศรษฐกิจพอเพยี ง นนทบุร ี 08 1316 0805 9. ชุมชนเพชราวธุ พนั .2 ชมุ ชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง กรุงเทพฯ 0 2521 1190 10. เรือนจ�ำ ชวั่ คราวเขากล้งิ หนว่ ยงานภาครัฐในสว่ นภมู ภิ าค เพชรบรุ ี 0 3246 5171 11. ธนาคารเพ่ือการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) หนว่ ยงานภาครัฐในส่วนกลาง กรุงเทพฯ 0 2280 0180 12. กรมราชทณั ฑ์ หนว่ ยงานภาครัฐในส่วนกลาง กรงุ เทพฯ 0 2967 5719 13. บรษิ ทั ซองเดอร์ไทย ออร์แกนิคฟดู้ จ�ำ กดั ธุรกิจขนาดย่อม สุพรรณบรุ ี 0 2967 1200-1 14. กลมุ่ สตรผี ลติ ภณั ฑข์ องใชใ้ นครวั เรอื น ธุรกจิ ขนาดยอ่ ม เพชรบรุ ี 08 9515 1128 15. หา้ งหนุ้ สว่ นจ�ำ กดั สมศกั ดแ์ิ กลงเซอรว์ สิ ธุรกจิ ขนาดย่อม ระยอง 0 3867 1382 16. บริษัท บาธรมู ดีไซน์ จำ�กดั ธรุ กจิ ขนาดกลาง ปทุมธานี 0 2683 7322-3 17. บรษิ ทั บางจากปโิ ตรเลยี ม จ�ำ กดั (มหาชน) ธุรกจิ ขนาดใหญ ่ กรุงเทพฯ 0 2335 4658 18. บริษัท ซีเอ็ดยเู คช่นั จ�ำ กดั (มหาชน) ธุรกิจขนาดใหญ่ กรงุ เทพฯ 0 2739 8000 19. บรษิ ทั โทเทล่ิ แอค็ เซส็ คอมมนู เิ คชน่ั จ�ำ กดั (มหาชน) ธรุ กิจขนาดใหญ ่ กรุงเทพฯ 0 2202 8000 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 1. นายทวี ประหา ประชาชนในพน้ื ทห่ี า่ งไกลและกนั ดาร มกุ ดาหาร 09 9914 3917 2. นายแสนหม้ัน อินทรไชยา ประชาชนท่ัวไป อุดรธาน ี 08 6167 8524 3. นายสุนัน เผ้าหอม ประชาชนทั่วไป ขอนแกน่ 08 0186 8617 4. นายจนั ทร์ที ประทุมภา เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ นครราชสีมา 08 9948 4737 5. นางพมิ พ์ โถตันค�ำ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ สกลนคร 08 0748 3133 6. นายบญุ แทน เหลาสพุ ะ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ เลย 08 3346 0287 7. กลุ่มข้าวคณุ ค่า ชาวนาคณุ ธรรม กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม ่ ยโสธร 08 7872 1672 8. กลมุ่ เกษตรกรรมยง่ั ยนื อ�ำ เภอกนั ทรวชิ ยั กลุม่ เกษตรทฤษฎีใหม่ มหาสารคาม 08 9618 4075 9. ชุมชนบ้านทา่ เรอื ชุมชนเศรษฐกิจพอเพยี ง นครพนม 08 1975 3378 10. โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 51 (ศกึ ษาสงเคราะห์นางรอง) หนว่ ยงานภาครฐั ในสว่ นภมู ภิ าค บุรรี ัมย ์ 04 4631 883 20

ลำ�ดับ ศส ำ�นู นยักเ์ รงยี านน รเู้กศปรรษ.ฐก จิ พอเพยี ง ประเภท จังหวดั โทรศัพท์ 11. บรษิ ทั โสมภาส ธุรกจิ ขนาดกลาง มหาสารคาม 08 1052 1270 เอน็ จเิ นยี รง่ิ (2005) จ�ำ กดั พะเยา 08 7174 9928 ภาคเหนือ นครสวรรค์ 08 1041 0911 ก�ำ แพงเพชร 08 6207 1285 1. นายผล มีศร ี ประชาชนในพน้ื ทห่ี า่ งไกลและกนั ดาร เชียงราย 08 1706 9687 2. นายสุพจน์ โคมณ ี ประชาชนทวั่ ไป แพร ่ 08 5252 2835 3. นายสมมาตร บุญฤทธ์ิ ประชาชนทวั่ ไป เชยี งราย 08 9559 8350 4. นางเปรียวจันทร์ ต๊ะตน้ ยาง เกษตรกรทฤษฎีใหม่ พะเยา 08 1023 8350 5. นายประพนั ธ์ ศรสี ุวรรณ เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ เชียงราย 08 1025 5598 6. นายบุญเปง็ จนั ต๊ะภา เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ พะเยา 08 2895 7321 7. กลมุ่ เกษตรทำ�สวนบ้านถ้ำ� กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม ่ แพร ่ 05 464 7458-60 8. กลุ่มศนู ยเ์ ครือข่ายปราชญ์ ชาวบา้ นเกษตรยง่ั ยนื ต�ำ บลศรเี มอื งชมุ กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ พงั งา 08 9123 1589 9. ชุมชนบ้านดอกบัว ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง สุราษฎร์ธานี 08 9592 1764 10. โรงพยาบาลหนองม่วงไข ่ หน่วยงานภาครัฐในสว่ นภมู ภิ าค ยะลา 08 1388 5161 ภูเก็ต 08 1892 9204 ภาคใต้ กระบ ่ี 0 7568 7141 ภูเก็ต 0 7626 1555 1. นายสมพงษ์ พรผล ประชาชนทว่ั ไป ตรัง 0 2237 9070 2. นายสมชาย นิลอนนั ต ์ เกษตรกรทฤษฎีใหม่ 3. นายพินัย แก้วจนั ทร ์ เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ 4. ชุมชนบ้านบางโรง ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. เทศบาลตำ�บลปลายพระยา หน่วยงานภาครัฐในส่วนภมู ิภาค 6. บริษัท พรทพิ ย์ ภูเก็ต จ�ำ กัด ธรุ กจิ ขนาดย่อม 7. บริษทั แปลน ครเี อชั่นส์ จำ�กัด ธรุ กจิ ขนาดกลาง

“เกษตรอนิ ทรยี ์คอื การปลอ่ ยใหธ้ รรมชาตพิ งึ่ พาซ่งึ กนั และกัน” สำ�นักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นกั งาน กปร.) 2012 ซอยอรณุ อมรนิ ทร์ 36 ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงบางยขี่ ัน เขตบางพลดั กรุงเทพมหานคร 10700 โทรศพั ท์ : 0 2447 8500 www.rdpb.go.th พิมพ์ครง้ั ที่ 2 : ธนั วาคม 2560 จำ�นวนพิมพ์ : 3,000 เลม่ พิมพท์ ี่ : บรษิ ทั แอ็บโซลูท มังกี้ จำ�กดั โทรศพั ท์ 09 2969 4714


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook