Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Published by Urai Kankumnoi, 2021-06-23 04:31:21

Description: ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็ นที่มาของนิยาม “3 ห่วง 2 เง่ือนไข” ที่คณะอนุกรรมการ ขบั เคล่ือนเศรษฐกิจพอเพยี ง สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นามาใชใ้ นการรณรงคเ์ ผยแพร่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งผา่ นช่องทางสื่อต่าง ๆ อยใู่ นปัจจุบนั ซ่ึงประกอบดว้ ยความ “พอประมาณ มีเหตผุ ล มี ภูมิคุม้ กนั ” บนเง่ือนไข “ความรู้” และ “คุณธรรม” ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุง่ เนน้ ใหบ้ ุคคลสามารถประกอบอาชีพไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื และใชจ้ ่ายเงินใหไ้ ดม้ าอยา่ งพอเพียงและ ประหยดั ตามกาลงั ของเงินของบุคคลน้นั โดยปราศจากการกหู้ น้ียมื สิน และถา้ มีเงินเหลือ ก็แบง่ เกบ็ ออมไวบ้ างส่วน ช่วยเหลือผอู้ ่ืนบางส่วน และอาจจะใชจ้ ่ายมาเพอ่ื ปัจจยั เสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวติ อยา่ งพอเพยี ง ไดถ้ กู กลา่ วถึงอยา่ งกวา้ งขวางในขณะน้ี เพราะสภาพการดารงชีวติ ของสงั คมทุนนิยมในปัจจบุ นั ไดถ้ ูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุน้ ใหเ้ กิดการใชจ้ ่ายอยา่ งเกินตวั ในเรื่องท่ีไมเ่ ก่ียวขอ้ งหรือเกินกวา่ ปัจจยั ในการดารงชีวติ เช่น การบริโภคเกินตวั ความบนั เทิง หลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแตง่ ตวั ตามแฟชน่ั การพนนั หรือเสี่ยงโชค เป็นตน้ จนทาใหไ้ ม่มีเงินเพยี งพอ เพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการเหลา่ น้นั ส่งผลใหเ้ กิดการกหู้ น้ียมื สิน เกิดเป็นวฏั จกั รท่ีบุคคลหน่ึงไม่สามารถหลดุ ออกมาได้ ถา้ ไมเ่ ปลี่ยนแนวทางในการดารงชีวติ บทสรุป ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ห่วง ห่วง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยใู่ นระดบั พอประมาณ ห่วง 2. ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้นั จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งมีเหตผุ ล โดยพจิ ารณา จากเหตปุ ัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ จากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ ห่วง 3. การมีภมู ิคุม้ กนั ท่ีดีในตวั หมายถึงการเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีจะเกิดข้นึ โดยคานึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เงอ่ื นไข 1. เงอื่ นไข ความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการต่าง ที่เก่ียวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความรอบคอบที่จะนาความรู้ เหลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ 2. เงอ่ื นไข คณุ ธรรม ที่จะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความช่ือสตั ยส์ ุจริต และมีความอดทน มีความพากเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ ส่วนคาถามทว่ี ่า 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข 4 มติ ิ คอื อะไร

หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง Sufficiency Economy เศรษฐกิจพอเพยี ง คืออะไร 3 ห่วง 2 เงื่อนไข สมดุล 4 มิติ 3 ห่วง ความพอประมาณ มีเหตผุ ล มีภูมิคุม้ กนั 2 เงื่อนไข มีคุณธรรม นาความรู้ (เง่ือนไขความรู้ 3 ร รอบรู้ รอบครอบ ระมดั ระวงั ) (เง่ือนไขคุณธรรม ซื่อสตั ยส์ ุจริต อดทน เพียร มีสติ) สมดุล 4 มิติ เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ ม สงั คม วฒั นธรรม (กิจ ลอ้ ม สงั วฒั นธรรม) หลกั ความพอดี 5 ประการ หลกั เหตผุ ล 5 ประการ หลกั ภมู ิคุม้ กนั 2 หลกั จิตใจ ประหยดั ลดคา่ ใชจ้ ่ายทุกดา้ น ภมู ิปัญญา รอบรู้ รอบครอบ ระมดั ระวงั สงั คม ประกอบอาชีพสุจริต ทรัพยากร เลิกแก่งแยง่ ผลประโยชน์ เทคโนโลยี ไมห่ ยดุ นิ่งในการแกป้ ัญหาความทุกขย์ ากในชีวติ ภูมิธรรม

ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ขยนั อดทนและแบง่ ปัน เศรษฐกิจ ปฏิบตั ิตนลดละเลิก อบายมขุ เป้ าหมายของหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พ่งึ ตนเองไดร้ ะดบั หน่ึง อยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งสนั ติสุข อยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพียง เร่ิมจากระดบั ตวั เอง ครอบครัว องคก์ ร ชุมชน สงั คม ประเทศชาติ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข สมดุล 4 มิติ (ดา้ นวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม) ลาดบั ข้นั ตอนการพฒั นาเศรษฐกิจพอเพยี งได้ ตวั เอง ครอบครัว องคก์ ร ชุมชน สงั คม ประเทศชาติ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตรงกบั หลกั ธรรม สปั ปุริสธรรม 7 1.(ความพอประมาณ) มตั ตญั ญตุ า เป็ นผรู้ ู้จกั ประมาณ อตั ตญั ญุตา เป็ นผรู้ ู้จกั ตน 2. (ความมีเหตผุ ล) ธมั มญั ญุตา เป็ นผรู้ ู้จกั เหตุ อตั ถญั ญุตา เป็ นผรู้ ู้จกั ผล 3.(การมีภูมิคุม้ กนั ที่ดีในตวั ) กาลญั ญุตา เป็ นผรู้ ู้จกั กาล ปริสญั ญุตา เป็ นผรู้ ู้จกั บริษทั ชุมชน ปุคคลญั ญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา เป็ นผรู้ ูจ้ กั บุคคล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ญั เชิญมาคร้ังแรกใน แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ที่ 9 วสิ ยั ทศั น์ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 11 ตรงกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพียง การสร้างภูมิคุม้ กนั ขอ้ ใดเรียงลาดบั หลกั การสร้างภมู ิคุม้ กนั กบั เกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ช้นั จดั การตน – รวมกลุ่ม – เครือข่าย หลกั สมดุลของปรัชญาเศรษฐกิจขอ้ ใดสาคญั ท่ีสุดในวสิ ยั ทศั นข์ องรัฐบาลยงิ่ ลกั ษณ์ ชินวตั ร 1 เศรษฐกิจ ตาม ROAD MAP พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ของ สพฐ. ควรจดั ใหม้ ีการสอนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ในสถานศึกษาสาหรับ ช้นั ใดโดยเฉพาะ ม.1-3 “เศรษฐกิจพอเพียง” (Sufficiency Economy) เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระราชดารัสช้ีแนะแนว ทางการดาเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดรวมถึงการพฒั นาและบริหารประเทศ ท่ีต้งั อยบู่ นพ้นื ฐานของ ทางสาย กลาง คานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสร้างภูมิคุม้ กนั ที่ดีในตวั ตลอดจนใชค้ วามรู้ ความรอบคอบ และ คุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สินใจ และการกระทา

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มหี ลกั พจิ ารณาอยู่ 5 ส่วน 1.กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ิตนในทางท่ีควรจะเป็ น โดยมีพ้นื ฐานมาจากวถิ ีชีวติ ด้งั เดิมของสงั คมไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา มงุ่ เนน้ การรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤตเพ่อื ความมนั่ คง และความยงั่ ยนื ของการพฒั นา 2.คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏิบตั ิตนไดใ้ นทุกระดบั โดยเนน้ การปฏิบตั ิบนทางสาย กลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็ นข้นั ตอน 3.คานิยาม ความพอเพียงจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั น้ี – 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืนเช่น การ ผลิตและการบริโภคที่อยใู่ นระดบั พอประมาณ – 3.2 ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพยี งน้นั จะตอ้ งเป็ นไปอยา่ งมเี หตผุ ล โดยพิจารณา จากเหตปุ ัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้นึ จากการกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ 3.3 การมีภูมิคุม้ กนั ที่ดีในตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นต่างๆที่จะเกิดข้ึน โดย คานึงถึง ความเป็ นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล 4.เงื่อนไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งน้นั ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรู้ และคุณธรรมเป็ น พ้นื ฐาน

– 4.1 เงื่อนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ งอยา่ งรอบดา้ นความรอบคอบ ที่จะนาความรู้ เหลา่ น้นั มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ – 4.2 เง่ือนไขคุณธรรม ที่จะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ยมีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซื่อสตั ยส์ ุจริต และมีความ อดทน มีความเพียรใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ 5.แนวทางปฏิบตั ิ/ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ คือ การพฒั นาที่สมดุลและ ยง่ั ยนื พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลง ในทุกดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม ความรู้และเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook