แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์เพิ่มเติม ว31211 ภาคเรียนที่ 1 / 2565 ของ นางธิดารัตน์ เดชพละ ตำแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 082-261-4636, 02-426-1369 23 ถนนประชาอุทิศ แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร WWW.ISLAMICCOLLEGE.AC.TH
คำอธิบำยรำยวชิ ำ ฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเติม รหัสวิชำ ว31211 กล่มุ สำระกำรเรยี นรูว้ ทิ ยำศำสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 4 เวลำ 80 ช่ัวโมง จำนวน 2.0 หน่วยกติ ศึกษาการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมท้ังพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ท่ีมีผลต่อ การแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี การวัดและการรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ หลักการของกลศาสตร์ใน เรื่องการเคล่ือนที่ของวัตถุในแนวตรง แรง การหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทามุมต่อกัน การเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ กฎการ เคลอื่ นทข่ี องนวิ ตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานระหวา่ งผวิ สัมผสั ของวตั ถุค่หู นึ่งๆ ในกรณที ี่วัตถุหยดุ น่ิงและวตั ถุเคลื่อนท่ี โดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะการปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้ง ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการส่ือสาร สามารถสื่อสารสิ่งท่ี เรยี นรู้ และนาความรูไ้ ปใชใ้ นชีวติ ของตนเอง มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม ผลกำรเรียนรู้ 1. สืบค้น และการอธบิ ายการค้นหาความรทู้ างฟสิ ิกส์ ประวัตคิ วามเปน็ มา รวมทั้งพฒั นาการของหลกั การและ แนวคดิ ทางฟิสิกส์ท่ีมผี ลตอ่ การแสวงหาความรู้ใหม่ และการพฒั นาเทคโนโลยี 2. วดั และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟสิ กิ ส์ไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม โดยนาความคลาดเคล่ือนในการวัดมา พิจารณาในการนาเสนอผล รวมท้ังแสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟ วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายจากกราฟ เส้นตรง 3. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่ง การกระจดั ความเร็ว และความเรง่ ของการเคลื่อนทขี่ อง วัตถใุ นแนวตรงท่ีมีความเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทง้ั ทดลองหาค่าความเรง่ เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของ โลก และคานวณปรมิ าณตา่ งๆ เกีย่ วข้อง 4. อธบิ ายแรง รวมทงั้ ทดลองและอธิบายการหาแรงลพั ธ์ของแรงสองแรงที่ทามุมต่อกนั 5. เขยี นแผนภาพวตั ถอุ สิ ระ ทดลอง และอธบิ ายกฎการเคล่อื นที่ของนวิ ตนั และกฎการเคลือ่ นท่ีของนิวตันกับ สภาพการเคลอื่ นท่ีของวัตถุ รวมทง้ั คานวณปริมาณตา่ งๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 6. อธบิ ายกฎความโนม้ ถว่ งสากลและผลของสนามโนม้ ถ่วงที่ทาให้วตั ถุมนี า้ หนัก รวมทั้งคานวณปริมาณตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง 7. วิเคราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสียดทานระหวา่ งผวิ สัมผสั ของวัตถุคหู่ นึง่ ๆ ในกรณที ่วี ัตถุหยุดน่งิ และวตั ถุ เคลื่อนท่ี รวมทั้งทดลองหาสัมประสทิ ธ์ิความเสียดทานระหว่างผิวสมั ผสั ของวัตถุค่หู นึ่งๆ และนาความรเู้ ร่อื ง แรงเสยี ดทานไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั รวมทงั้ หมด 7 ผลกำรเรียนรู้
โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างรายวชิ า ฟิสกิ ส์เพม่ิ เตมิ รหัสวชิ า ว31211 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 2.0 หน่วยกติ เวลา 80 ชวั่ โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ครูผสู้ อน : นางธดิ ารตั น์ เดชพละ ลาดบั ช่ือหน่วย รายละเอียดในหน่วยการเรียนรู้ ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก 1 บทนำ ความคิดรวบยอด (ช่วั โมง) (คะแนน) 1. สืบค้น และกำรอธิบำยกำร ธรรมชาตทิ างฟสิ กิ ส์ 10 10 ค้นหำควำมรู้ทำงฟิสิกส์ ประวัติ • ฟิสิกส์เป็นวิทยำศำสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษำ ควำมเป็นมำ รวมทั้งพัฒนำกำร เพอ่ื อธิบำยปรำกฏกำรณใ์ นธรรมชำติ ของหลักกำรและแนวคิดทำง • กำรค้นคว้ำหำควำมรู้ทำงฟิสิกส์ทำได้โดย ฟิสิกส์ที่มีผลต่อกำรแสวงหำ กำรสังเกต กำรทดลอง และเก็บรวบรวม ควำมรู้ใหม่ และกำรพัฒนำ ข้อมูลมำวิเครำะห์ หรือสร้ำงแบบจำลองทำง เทคโนโลยี ควำมคิด เพือ่ สรุปเป็นทฤษฎี หลักกำรหรอื กฎ 2. วัด และรำยงำนผลกำรวัด • ควำมรู้ทำงฟิสิกส์สำมำรถนำไปใช้อธิบำย ปริมำณทำงฟิสิกส์ได้ถูกต้อง ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติ หรือทำนำยสิ่งท่ี เ ห ม ำ ะ ส ม โ ด ย น ำ ค ว ำ ม อำจจะเกดิ ขึ้นในอนำคต คลำดเคลื่อนในกำรวัดมำ • พัฒนำกำรของหลักกำรและแนวคิดทำง พิจำรณำในกำรน ำเสนอผล ฟิสิกส์เป็นพื้นฐำนในกำรแสวงหำควำมรู้ใหม่ รวมทั้งแสดงผลกำรทดลองในรูป เพิม่ เติม ของกรำฟ วิเครำะห์และแปล • ควำมรู้ทำงฟิสิกส์เป็นพื้นฐำนในกำรพัฒนำ ควำมหมำยจำกกรำฟเสน้ ตรง เทคโนโลยีทำให้คุณภำพชีวิตของมนุษย์ดีขึ้น ในทำงกลับกันเทคโนโลยที ่ีทันสมัยก็มบี ทบำท สำคัญที่ทำให้มีกำรค้นพบควำมรู้ใหม่ๆ ทำง วทิ ยำศำสตร์ดว้ ย การวัดและการบันทึกผลการวัดปรมิ าณทาง ฟสิ กิ ส์ • ปริมำณทำงฟิสิกส์เป็นปริมำณที่ได้จำกกำร วดั ประกอบด้วยค่ำทเ่ี ป็นตัวเลขและหน่วย • ระบบหน่วยระหว่ำงชำติ หรือระบบเอสไอ เป็นระบบหน่วยมำตรฐำนของปริมำณต่ำงๆ ระบบเอสไอประกอบด้วยหน่วยฐำนและ หนว่ ยอนุพทั ธ์ หน่วยฐำนมี 7 หนว่ ย ไดแ้ ก่
โครงสร้างรายวชิ า (ตอ่ ) ผลการเรยี นรู้ รายละเอียดในหน่วยการเรยี นรู้ เวลา น้าหนกั สาระสาคัญ (ชัว่ โมง) (คะแนน) ลาดับ ชอื่ หนว่ ย ท่ี การเรยี นรู้ ความคิดรวบยอด เมตร(m) กิโลกรัม(kg) วินำที(s) แอมแปร์(A) เคลวิน (K) โมล(mol) และแคนเดลำ(cd) หน่วยอนุพัทธ์เป็นหน่วยที่เกิดจำกหน่วยฐำน หลำยหน่วย • สัญกรวิทยำศำสตร์เป็นกำรเขียนปริมำณท่ี มีคำ่ มำกหรือน้อยใหอ้ ยูใ่ นรูปจำนวนเตม็ หน่งึ ตำแหนง่ ตำมดว้ ยเลขทศนิยม แลว้ คูณดว้ ยเลข ยกกำลังที่มีฐำนเป็นสิบ และเลขชี้กำลังเป็น จำนวนเต็ม มีรูปทั่วไป Ax10n เมื่อ 1≤ A ≤ 10 และ n เปน็ จำนวนเต็ม • ควำมไม่แน่นอนในกำรวัด ค่ำที่ได้จำกกำร วัดมีโอกำสเกิดควำมคลำดเคลื่อนโดยขึ้นกับ เครื่องมือและวิธีกำรวัดที่เหมำะสม รวมทั้ง ขึ้นกับควำมสำมำรถและประสบกำรณ์ของผู้ วดั • เลขนัยสำคัญเป็นตัวเลขที่จำกกำรวัด จำนวนเลขนัยสำคัญข้ึนกับควำมละเอียดของ เคร่ืองวัด • กำรบันทกึ ผลกำรวดั จะต้องบันทึกเฉพำะตัว เลขท่ีใหค้ วำมหมำยหรือท่ีเช่ือถือไดเ้ ท่ำน้ัน ตัว เลขที่เชื่อถือได้นี้ เรียกว่ำ เลขนัยสำคัญ ซึ่ง ประกอบด้วยตัวเลขที่อ่ำนได้โดยตรงจำก เคร่อื งวัดและตัวเลขจำกกำรประมำณคำ่ • กำรบันทึกผลกำรคำนวณจะต้องบันทึกผล โดยคำนึงถงึ เลขนัยสำคัญของข้อมูลที่นำมำใช้ ในกำรคำนวณ โดยในกำรบวกและลบ จะ พิจำรณำจำกควำมละเอียดของเครื่องวัดหรือ ทศนิยมที่น้อยท่ีสุด ส่วนกำรคูณและกำรหำร จะพิจำรณำจำกจำนวนเลขนัยสำคัญที่น้อย ท่ีสุด การทดลองทางฟสิ ิกส์ • กำรทดลองในวิชำฟิสิกส์เป็นส่วนสำคัญใน กำรฝกึ ทกั ษะและคิดหำเหตุผลอย่ำง
โครงสรา้ งรายวิชา (ต่อ) ลาดบั ชือ่ หน่วย ผลการเรียนรู้ รายละเอยี ดในหนว่ ยการเรียนรู้ เวลา นา้ หนกั ท่ี การเรียนรู้ สาระสาคัญ (ชั่วโมง) (คะแนน) ความคดิ รวบยอด 30 20 วิทยำศำสตร์ กำรทำกำรทดลองมักจะทำเพื่อ ตอบคำถำมเพื่อหำควำมจริงบำงอย่ำง มี ขั้นตอนกำรทดลองและเขียนรำยงำนกำร ทดลอง• กำรรำยงำนควำมคลำดเคลื่อนเขียน อยู่ในรูป ค่ำเฉลี่ย ± ค่ำคลำดเคลื่อนของ คำ่ เฉลย่ี หรอื ������̅ ± ∆������̅ • กำรวเิ ครำะห์ผลกำรทดลอง เป็นกำร ดำเนินกำรเพ่ือให้เหน็ ควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ ง ตัวแปรตำ่ งๆ ทไ่ี ด้จำกกำรทดลอง โดยกำรนำ ผลกำรทดลองมำเขียนกรำฟ แล้ววเิ ครำะห์ สรปุ ผลกำรทดลองจำกกรำฟ 2 กำรเคลอื่ นที่ 3 . ท ด ล อ ง แ ล ะ อ ธ ิ บ ำ ย ตาแหน่ง แนวตรง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตำแหน่ง • กำรอธิบำยกำรเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆ กำรกระจัด ควำมเร็ว และ จำเป็นต้องระบุตำแหน่งของวัตถุ ณ เวลำ ควำมเร่งของกำรเคลื่อนที่ของ หน่ึงๆ โดยเทียบกับตำแหน่งอ้ำงองิ หน่ึง วตั ถุในแนวตรงที่มีควำมเร่งคงตัว การกระจดั และระยะทาง จำกกรำฟและสมกำร รวมทั้ง • กำรกระจัด ควำมเรว็ ควำมเรง่ เป็นปรมิ ำณ ทดลองหำค่ำควำมเร่งเนื่องจำก เวกเตอร์ แรงโน้มถ่วงของโลก และคำนวณ • เวลำ อัตรำเร็ว ขนำดควำมเร็ว ขนำด ปรมิ ำณต่ำงๆ เกี่ยวขอ้ ง ควำมเรง่ เปน็ ปริมำณสเกลำร์ • กำรกระจัด คือ ปริมำณเวกเตอร์มีทิศพุ่ง จำกตำแหน่งเริ่มต้นไปตำแหน่งสุดท้ำย มี ขนำดเท่ำกับระยะห่ำงระหว่ำงตำแหน่ง สุดท้ำยกับตำแหน่งเร่ิมต้น หน่วยในระบบเอส ไอ คอื เมตร(m) • ระยะทำง คือ ควำมยำวของเส้นทำงตลอด กำรเคลื่อนท่ีตั้งแต่ตำแหน่งเร่ิมต้นถึงตำแหน่ง สุดท้ำย เป็นปริมำณสเกลำร์ ระยะทำงไม่ จำเป็นต้องมีค่ำเท่ำกับขนำดของกำรกระจัด เว้นแต่เคล่ือนที่ในแนวตรงไม่ยอ้ นกลบั หน่วย ในระบบเอสไอ คอื เมตร(m) อัตราเรว็ และความเร็ว
โครงสร้างรายวชิ า (ตอ่ ) ผลการเรยี นรู้ รายละเอยี ดในหนว่ ยการเรียนรู้ เวลา นา้ หนกั สาระสาคัญ (ชวั่ โมง) (คะแนน) ลาดับ ชอื่ หนว่ ย ท่ี การเรยี นรู้ ความคดิ รวบยอด • อัตรำเร็วเฉลี่ย คือ อัตรำส่วนระหว่ำง ระยะทำงท่ีวัตถเุ คล่ือนท่ีได้กับช่วงเวลำทใี่ ช้ใน กำรเคล่ือนที่ หน่วยในระบบเอสไอ คือ เมตร ตอ่ วินำที (m/s) เป็นปรมิ ำณสเกลำร์ • ควำมเร็วเฉลี่ย คือ อัตรำส่วนระหว่ำงกำร กระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้กับช่วงเวลำที่ใช้ใน กำรเคลื่อนที่ หน่วยในระบบเอสไอ คือ เมตร ต่อวินำที (m/s) เป็นปริมำณเวกเตอร์ และ ขนำดของควำมเร็วเฉลี่ย ไม่จำเป็นต้องมีค่ำ เทำ่ กับอตั รำเร็วเฉลีย่ • อัตรำเร็วขณะหนึ่ง มีค่ำเท่ำกับขนำดของ ควำมเร็วขณะหนึ่ง หน่วยในระบบเอสไอ คือ เมตรต่อวนิ ำที (m/s) เป็นปริมำณสเกลำร์ • ควำมเร็วขณะหนึ่ง พิจำรณำจำกควำมเร็ว เฉลี่ยโดยใช้ช่วงเวลำที่สั้นมำกๆ หน่วยใน ระบบเอสไอ คือ เมตรต่อวินำที (m/s) เป็น ปรมิ ำณเวกเตอร์ ความเร่ง • ควำมเร่งเฉลี่ย คือ อัตรำส่วนระหว่ำงกำร เปลี่ยนแปลงควำมเร็วของวัตถุกับช่วงเวลำท่ี ใช้ในกำรเคลื่อนที่ หน่วยในระบบเอสไอ คือ เมตรตอ่ วนิ ำที2 เป็นปริมำณเวกเตอร์ • ควำมเร่งขณะหนึ่ง พิจำรณำจำกควำมเร่ง เฉลี่ยโดยใช้ช่วงเวลำที่สั้นมำกๆ หน่วยใน ระบบเอสไอ คือ เมตรต่อวินำที2 เป็นปริมำณ เวกเตอร์ • สำหรับกำรเคลื่อนที่แนวตรง ค่ำบวก ลบ ของปริมำณเวกเตอร์แสดงถึงทิศทำงของ เวกเตอร์น้นั รวมท้งั กำรกระจัด ควำมเรว็ และ ควำมเร่งของวตั ถุจะอยูใ่ นแนวเดยี วกัน กราฟของการเคล่อื นที่แนวตรง กราฟความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งกับ เวลา (s-t)
โครงสร้างรายวิชา (ตอ่ ) รายละเอยี ดในหน่วยการเรียนรู้ เวลา นา้ หนกั สาระสาคญั (ชวั่ โมง) (คะแนน) ลาดับ ชอ่ื หนว่ ย ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ความคดิ รวบยอด • ควำมชันของเส้นตรงที่ลำกผ่ำนจุดสองจุด ใดๆ ในกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตำแหน่ง กับเวลำ คอื ควำมเร็วเฉลี่ยระหว่ำงสองจดุ นั้น • ควำมชันของเส้นตรงที่สัมผัสเส้นกรำฟ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตำแหน่งกับเวลำ คือ ควำมเร็วขณะหน่ึง ณ เวลำนนั้ กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับ เวลา (v-t) • พื้นที่ใต้กรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ควำมเร็วกบั เวลำ คอื กำรกระจดั • ควำมชันของเส้นตรงที่ลำกผ่ำนจุดสองจุด ใดๆ ในกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมเร็ว กับเวลำ คอื ควำมเรง่ เฉล่ยี ระหว่ำงสองจดุ น้ัน • ควำมชันของเส้นตรงที่สัมผัสเส้นกรำฟ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมเร็วกับเวลำ คือ ควำมเรง่ ขณะหน่ึง ณ เวลำน้ัน กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งกับ เวลา (a-t) • พ้นื ท่ใี ต้กรำฟควำมสัมพันธร์ ะหวำ่ งควำมเรง่ กบั เวลำ คอื กำรเปลยี่ นแปลงควำมเร็ว • ในกรณีกำรเคล่อื นท่ีแนวตรงที่มคี วำมเร่งคง ตัว ควำมเร่งเฉลี่ยจะมีค่ำเท่ำกับควำมเร่ง ขณะหน่งึ สมการสาหรบั การเคล่อื นที่แนวตรง • สมกำรกำรเคลื่อนที่แนวตรงด้วยควำมเร็ว คงตัว v = ������ ������ • สมกำรกำรเคลื่อนที่แนวตรงด้วยควำมเร่ง คงตัว v = u + at v2 = u2 + 2as s = ut + 1 at2 2
โครงสร้างรายวิชา (ต่อ) ลาดบั ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ รายละเอียดในหนว่ ยการเรียนรู้ เวลา นา้ หนัก ท่ี การเรยี นรู้ สาระสาคญั (ชัว่ โมง) (คะแนน) ความคิดรวบยอด 40 30 s = vt - 1 at2 2 s = (������+������ )t 2 การตกแบบเสรี • กำรตกแบบเสรีเป็นกำรเคลื่อนที่ของวัตถุ ภำยใต้แรงโน้มถ่วงของโลก โดยวัตถุมี ควำมเร่งในแนวดิ่งเท่ำกับควำมเร่งเนื่องจำก แรงโน้มถ่วงของโลกซึ่งมีค่ำประมำณ 9.8 เมตรตอ่ วินำที2 • สมกำรกำรเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง หรือสมกำร กำรตกแบบเสรี v = u + gt v2 = u2 + 2gs s = ut + 1 gt2 2 s = vt - 1 gt2 2 s = (������+������ )t 2 • ในกรณีผู้สังเกตมีควำมเร็ว ควำมเร็วของ วัตถุที่สังเกตได้เป็นควำมเร็วที่เทียบกับผู้ สงั เกตดงั สมกำร vBO = vB - vO 3 แรงและกฎ 4. อธิบำยแรง รวมทง้ั ทดลองและ แรง กำรเคล่ือนที่ อธบิ ำยกำรหำแรงลัพธ์ของแรง • แรงเป็นปริมำณเวกเตอร์ซึ่งประกอบด้วย สองแรงท่ที ำมมุ ตอ่ กัน ขนำดและทิศทำง มีหน่วยเป็นนิวตัน (N) 5. เขียนแผนภำพวัตถุอสิ ระ ลักษณะของแรงประกอบด้วย ผู้ถูกกระทำ ทดลอง และอธิบำยกฎกำร- ผกู้ ระทำและทศิ ทำง เคลื่อนที่ของนิวตัน และกฎกำร • แผนภำพวัตถุอิสระ เป็นวิธีกำรหนึ่งที่จะทำ เคลื่อนที่ของนิวตันกับสภำพกำร ให้กำรบรรยำยแรงที่กระทำต่อวัตถุเป็นไป เคล่ือนที่ของวัตถุ รวมท้ังคำนวณ อย่ำงชัดเจน กำรเขียนแผนภำพวัตถุอิสระจะ ปรมิ ำณตำ่ งๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง เป็นกำรนำเอำวัตถุออกมำเขียนโดยไม่นำ 6. อธิบำยกฎควำมโน้มถ่วงสำกล สิง่ แวดล้อมมำเขยี นดว้ ย และผลของสนำมโน้มถ่วงที่ทำให้ • แรงที่พบได้โดยทั่วไปและเป็นแรงพื้นฐำน วัตถุมีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณ ในกำรศึกษำทำงด้ำนกลศำสตร์มอี ย่หู ลำย ปริมำณต่ำงๆ ทเี่ กย่ี วข้อง
โครงสรา้ งรายวิชา (ตอ่ ) ลาดับ ช่อื หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ รายละเอยี ดในหนว่ ยการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั ท่ี การเรียนรู้ สาระสาคัญ (ช่วั โมง) (คะแนน) 7. วิเครำะห์ อธิบำย และคำนวณ ความคิดรวบยอด แรงเสยี ดทำนระหว่ำงผิวสมั ผัส ชนิด เช่น น้ำหนักของวัตถุ แรงสปริง แรงดึง ของวัตถุค่หู นง่ึ ๆ ในกรณีทว่ี ตั ถุ เชือก แรงแนวฉำก และแรงเสียดทำน หยดุ นิ่งและวัตถุเคลือ่ นที่ รวมทั้ง การหาแรงลพั ธ์ ทดลองหำสมั ประสทิ ธิ์ควำมเสียด • เมื่อมีแรงมำกกว่ำหนึ่งแรงกระทำต่อวัตถุ ทำนระหวำ่ งผิวสมั ผัสของวตั ถุคู่ ชน้ิ หน่งึ ๆ ผลท่ีเกดิ ข้ึนจะเสมือนวำ่ มแี รงเพียง หน่ึงๆ และนำควำมรู้เร่ืองแรง แรงเดียวมำกระทำต่อวตั ถุน้ัน ซ่ึงแรงดังกล่ำว เสยี ดทำนไปใช้ในชวี ิตประจำวัน เรยี กว่ำ แรงลัพธ์ • กำรรวมแรงเพื่อหำแรงลัพธ์สำมำรถทำได้ โดยกำรเขียนเวกเตอร์ของแรงและกำร คำนวณ กรณีท่ีแรงอยู่ในระนำบเดียวกัน โดย แรงสองแรงไปทำงเดยี วกัน ให้นำแรงสองแรง มำบวกกัน หำกแรงสองแรงสวนทำงกันให้นำ แรงสองแรงมำลบกนั ผลลัพธ์ท่ีได้คอื แรงลพั ธ์ • สำหรับกรณีสองแรงโดยทั่วไป เขียน เวกเตอร์เพื่อหำแรงลัพธ์ได้ 2 แบบ คือ กำร เขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหำงต่อหัว และ กำรสร้ำงรปู สเี่ หลี่ยมด้ำนขนำน • กำรเขียนเวกเตอร์ของแรงแบบหำงต่อหัว ทำได้โดยนำหำงลูกศรของแรงหนึ่งไปต่อกับ หัวลูกศรของอีกแรงหนึ่ง จำกนั้นลำกเส้นจำก หำงของลูกศรของแรงที่หนึ่งไปยังหัวลูกศร ของแรงท่ีสอง จะไดแ้ รงลพั ธ์ • กำรสร้ำงรูปแบบสี่เหลี่ยมด้ำนขนำนทำได้ โดยนำหำงลูกศรของแรงหนึ่งไปต่อกับหำง ของลูกศรอีกแรงหนึ่ง จำกนั้นสร้ำงรูป สี่เหลี่ยมด้ำนขนำนซึ่งมีด้ำนประชิดกันสอง ด้ำนที่มำจำกเวกเตอร์ของแรงทั้งสอง แล้ว ลำกเส้นทแยงมุมจำกหำงลูกศรของเวกเตอร์ ทง้ั สองไปยงั มุมตรงข้ำม จะไดแ้ รงลัพธ์ • กำรหำแรงลัพธ์ F⃑ จำกแรงสองแรง F⃑ a และ ⃑Fb ซึ่งตั้งฉำกกัน สำมำรถคำนวณขนำดและ มุมของแรงลัพธ์ที่ไดจ้ ำก = +F⃑ 2 F⃑ a2 ⃑Fb2
โครงสร้างรายวชิ า (ตอ่ ) รายละเอยี ดในหนว่ ยการเรียนรู้ ลาดับ ชอื่ หนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก ท่ี การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด (ช่ัวโมง) (คะแนน) tan������ = F⃑ a F⃑ b • กำรหำแรงลัพธ์ ⃑F กรณีวำดรูปแบบหำงต่อ หวั แล้วแรงสองแรง F⃑ a และ ⃑Fb ทำมมุ ปำ้ นต่อ กัน หรือกรณีวำดรูปสี่เหลี่ยมด้ำนขนำนแล้ว แรงสองแรง F⃑ a และ F⃑ b ทำมุมแหลมต่อกัน สำมำรถคำนวณขนำดและมุมของแรงลัพธ์ที่ ไดจ้ ำก = + 2 +F⃑ 2 F⃑ a2 ⃑Fa⃑Fb ⃑Fb2 tan������ = ⃑Fa ⃑Fb • กำรหำแรงลัพธ์ ⃑F กรณีวำดรูปแบบหำงต่อ หัวแล้วแรงสองแรง F⃑ a และ F⃑ b ทำมุมแหลม ต่อกัน หรือกรณีวำดรูปสี่เหลี่ยมด้ำนขนำน แลว้ แรงสองแรง F⃑ a และ F⃑ b ทำมุมป้ำนต่อกัน สำมำรถคำนวณขนำดและมุมของแรงลัพธ์ที่ ไดจ้ ำก = - 2 +F⃑ 2 F⃑ a2 F⃑ a⃑Fb F⃑ b2 tan������ = ⃑Fa F⃑ b มวล แรงและการเคลอื่ นที่ • กฎกำรเคล่อื นที่ 3 ข้อ ของนวิ ตัน ขอ้ ทห่ี นงึ่ : ในกรอบอำ้ งองิ เฉื่อยวตั ถุจะ ยังคงรกั ษำสภำพกำรเคล่อื นทที่ ่ีวตั ถุน้ันอยูน่ ่งิ หรือเคลอื่ นทด่ี ว้ ยควำมเร็วคงตวั ตรำบเทำ่ ที่ ไมม่ แี รงมำกระทำต่อวัตถุนน้ั เขยี นเปน็ สมกำรได้ ∑ ⃑F = 0 ขอ้ ท่สี อง : ควำมเรง่ ของวตั ถุแปรผันตรงกับ แรงลัพธท์ ่กี ระทำต่อวัตถนุ ้นั แต่จะแปรผกผนั กบั มวลของวตั ถุ เขยี นเป็นสมกำรได้ ∑ F⃑ = m������ ข้อที่สำม : เม่อื มีแรงกระทำระหว่ำงวัตถุ สองกอ้ น แรงที่วตั ถุทัง้ สองกระทำต่อกนั จะมี ขนำดเทำ่ กนั และมที ิศทำงตรงข้ำมกัน เขยี น เป็นสมกำรได้
โครงสร้างรายวชิ า (ตอ่ ) ผลการเรยี นรู้ รายละเอียดในหน่วยการเรยี นรู้ เวลา น้าหนัก สาระสาคัญ (ช่วั โมง) (คะแนน) ลาดับ ชอื่ หนว่ ย ท่ี การเรยี นรู้ ความคดิ รวบยอด ∑ F⃑⃑⃑⃑1⃑⃑2 = − ∑ F⃑⃑⃑⃑2⃑⃑1 แรงเสียดทาน • แรงเสียดทำน คือ แรงที่เกิดขึ้นที่ผิวสัมผัส ระหว่ำงวัตถุคู่หนึ่งๆ มี 2 ชนิด คือแรงเสียด ทำนสถติ และแรงเสียดทำนจลน์ • แรงเสยี ดทำนสถิต (fs) เป็นแรงที่กระทำต่อ วัตถุที่หยุดนิ่ง แรงเสียดทำนสถิตนี้จะไม่ เกิดขึ้นถ้ำเรำไม่ออกแรงผลักวัตถุ แรงเสียด ทำนสถิตจะมีขนำดเท่ำกับขนำดของแรงผลัก วัตถุแต่มีทิศทำงตรงกันข้ำม เมื่อเพิ่มแรงผลัก วัตถุ ขนำดของแรงเสียดทำนจะมีค่ำเพิ่มมำก ขึ้นจนถึงค่ำหนึ่งที่เรียกว่ำ แรงเสียดทำนสถิต สูงสดุ จำกน้ันวตั ถจุ ะเริม่ เคลื่อนท่ี • แรงเสยี ดทำนจลน์ (fk) เป็นแรงท่กี ระทำต่อ วัตถุที่เคลื่อนที่ สำหรับผิวของวัตถุคู่หนึ่งๆ ขนำดของแรงเสียดทำนจลน์จะมีค่ำคงตัว และน้อยกว่ำขนำดของแรงเสียดทำนสถิต สูงสดุ • แรงเสียดทำนสถิตและแรงเสียดทำนจลน์มี ควำมสัมพันธ์กับสัมประสิทธิ์ควำมเสียดทำน และแรงปฏิกิริยำตั้งฉำกระหว่ำงผิวสัมผัส ดังน้ี fs ≤ μsN⃑⃑ fk ≤ μkN⃑⃑ แรงดึงดดู ระหว่างมวล • กฎควำมโนม้ ถ่วงสำกล มใี จควำมว่ำวัตถุ ใดๆ ในจักรวำลจะดงึ ดดู วตั ถอุ ื่นด้วยแรงท่ีมี ขนำดแปรผกผันกบั กำลงั สองของระยะห่ำง ระหว่ำงวัตถนุ ัน้ และแปรผนั ตำมผลคูณของ มวลของวัตถุท้งั สอง เขียนเป็นสมกำรได้ F⃑ g= Gm1m2 r2 • สนำมโนม้ ถว่ งทตี่ ำแหนง่ ใดๆ หำไดจ้ ำกแรง โนม้ ถว่ งทกี่ ระทำตอ่ วตั ถุมวลหน่ึงหนว่ ย แทน ดว้ ย ������
โครงสร้างรายวชิ า (ตอ่ ) ผลการเรยี นรู้ รายละเอยี ดในหน่วยการเรียนรู้ เวลา น้าหนัก สาระสาคญั (ชวั่ โมง) (คะแนน) ลาดับ ชอื่ หนว่ ย ท่ี การเรียนรู้ ความคิดรวบยอด 1 20 • บรเิ วณผิวโลก สนำมโน้มถว่ งมขี นำด 1 20 สอบกลางภาค ประมำณ 9.8 นิวตนั ต่อกิโลกรมั ทิศเขำ้ สู่ สอบปลายภาค ศูนย์กลำงโลก และทำให้ควำมเรง่ ของวตั ถุท่ี ตกแบบเสรที ใี่ กล้ผวิ โลกมขี นำดประมำณ 9.8 เมตรตอ่ วนิ ำที2 ทิศเขำ้ สศู่ ูนยก์ ลำงของโลก หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 และ 2 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3
ภาระชนิ้ งาน ภาระชนิ้ งานรายวิชา ฟสิ กิ สเ์ พมิ่ เติม รหัสวชิ า ว31211 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 2.0 หนว่ ยกิต เวลา 80 ชัว่ โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ครูผสู้ อน : นางธดิ ารตั น์ เดชพละ ลาดบั ที่ ชือ่ หน่วย ผลการเรียนรู้ รายละเอียดในหน่วยการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนัก การเรยี นรู้ ภาระชิน้ งาน (ชวั่ โมง) (คะแนน) 1 บทนำ 1. สืบค้น และกำรอธิบำยกำร - แบบทดสอบเก็บคะแนนครง้ั ที่ 1 10 5 5 ค้นหำควำมรู้ทำงฟิสิกส์ ประวัติ - ท่องสญั ลักษณ์ปรมิ ำณพ้นื ฐำนทำง ควำมเป็นมำ รวมทั้งพัฒนำกำร ฟสิ ิกส์ ของหลักกำรและแนวคิดทำง - ท่องคำอุปสรรค (Prefixes) 5 ฟิสกิ ส์ทมี่ ีผลตอ่ กำรแสวงหำควำมรู้ ใหม่ และกำรพัฒนำเทคโนโลยี 2. วดั และรำยงำนผลกำรวดั ปริมำณทำงฟิสกิ สไ์ ด้ถกู ต้อง เหมำะสม โดยนำควำม คลำดเคลอ่ื นในกำรวัดมำพิจำรณำ ในกำรนำเสนอผล รวมทง้ั แสดงผล กำรทดลองในรปู ของกรำฟ วเิ ครำะห์และแปลควำมหมำยจำก กรำฟเส้นตรง 2 กำรเคลอื่ นที่ 3. ทดลอง และอธบิ ำย - แบบทดสอบเกบ็ คะแนนครัง้ ท่ี 2 30 5 10 แนวตรง ควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งตำแหนง่ - กำรทดลอง 40 5 กำรกระจดั ควำมเรว็ และ 10 5 ควำมเร่งของกำรเคลือ่ นทข่ี องวัตถุ 10 ในแนวตรงท่ีมีควำมเรง่ คงตวั จำก กรำฟและสมกำร รวมท้งั ทดลอง หำค่ำควำมเรง่ เนือ่ งจำกแรงโน้ม ถว่ งของโลก และคำนวณปริมำณ ต่ำงๆ เก่ียวขอ้ ง 3 แรงและกฎ 4. อธบิ ำยแรง รวมทัง้ ทดลองและ - แบบทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 3 กำรเคลอ่ื นท่ี อธิบำยกำรหำแรงลัพธ์ของแรงสอง - กำรทดลอง แรงท่ีทำมมุ ตอ่ กัน - ใบงำน - สมุด
ภาระช้นิ งาน (ตอ่ ) ลาดบั ท่ี ชอื่ หน่วย ผลการเรียนรู้ รายละเอียดในหนว่ ยการเรียนรู้ เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ ภาระชิ้นงาน (ชวั่ โมง) (คะแนน) 5. เขียนแผนภำพวตั ถอุ ิสระ 1 20 1 20 ทดลอง และอธิบำยกฎกำร เคลือ่ นที่ของนวิ ตนั และกฎกำร เคลอ่ื นท่ขี องนิวตนั กบั สภำพกำร เคล่ือนท่ีของวตั ถุ รวมทั้งคำนวณ ปริมำณตำ่ งๆ ท่ีเก่ียวข้อง 6. อธิบำยกฎควำมโนม้ ถ่วงสำกล และผลของสนำมโน้มถว่ งที่ทำให้ วัตถมุ นี ำ้ หนัก รวมทง้ั คำนวณ ปรมิ ำณตำ่ งๆ ที่เกี่ยวข้อง 7. วเิ ครำะห์ อธบิ ำย และคำนวณ แรงเสยี ดทำนระหวำ่ งผิวสมั ผัสของ วตั ถคุ ู่หนึง่ ๆ ในกรณที ่ีวตั ถหุ ยดุ นิ่ง และวัตถุเคลอ่ื นท่ี รวมท้ังทดลอง หำสมั ประสทิ ธ์ิควำมเสยี ดทำน ระหว่ำงผิวสัมผัสของวัตถุคหู่ นึง่ ๆ และนำควำมรเู้ ร่ืองแรงเสยี ดทำน ไปใช้ในชีวิตประจำวนั สอบกลางภาค หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 และ 2 สอบปลายภาค หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3
ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย 1.รหัส/ช่อื วชิ า ว 31211 ฟสิ กิ สเ์ พิ่มเตมิ 2.ครูผู้สอน นำงธิดำรัตน์ เดชพละ 3.ตดิ ต่อผู้สอน หอ้ ง 335 (อำคำร 3 ชัน้ 3 ห้อง 5) โทรศัพท์ 082-2614636 4.จานวนหนว่ ยกิต 2.0 หน่วยกติ 5.ภาคเรยี นท่เี ปดิ สอน ภำคเรียนท่ี 1 ปกี ำรศึกษำ 2565 6.เวลาเรียน 4 คำบต่อสปั ดำห์ รวมเวลำเรียนทง้ั หมด 80 ชว่ั โมงต่อภำคเรยี น 7.คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษำกำรคน้ หำควำมรู้ทำงฟสิ กิ ส์ ประวตั คิ วำมเป็นมำ รวมทัง้ พัฒนำกำรของหลักกำร และแนวคดิ ทำงฟสิ ิกส์ที่มีผลตอ่ กำรแสวงหำควำมร้ใู หม่และกำรพัฒนำเทคโนโลยี กำรวดั และ กำรรำยงำนผลกำรวดั ปริมำณทำงฟสิ ิกส์ หลกั กำรของกลศำสตร์ในเร่ืองกำรเคล่ือนทข่ี องวตั ถุ ในแนวตรง แรง กำรหำแรงลพั ธ์ของแรงสองแรงที่ทำมมุ ตอ่ กัน กำรเขยี นแผนภำพวัตถุอิสระ กฎกำรเคลือ่ นท่ีของนวิ ตนั กฎควำมโนม้ ถ่วงสำกล แรงเสียดทำนระหว่ำงผิวสมั ผัสของวตั ถคุ ู่ หน่งึ ๆ ในกรณีท่ีวตั ถหุ ยดุ นิง่ และวัตถุเคลอื่ นท่ี โดยกำรใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ กำร สืบเสำะหำควำมรู้ กำรสบื ค้นข้อมูล กำรสงั เกต วิเครำะห์ เปรยี บเทียบ อธบิ ำย อภิปรำย และ สรปุ เพื่อให้เกิดควำมรูค้ วำมเข้ำใจ มีควำมสำมำรถในกำรตัดสนิ ใจ มที กั ษะกำรปฏิบัติกำรทำง วทิ ยำศำสตร์ รวมท้ังทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในดำ้ นกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ ดำ้ นกำรคิด และกำรแก้ปัญหำ ด้ำนกำรสือ่ สำร สำมำรถสื่อสำรสิ่งทเ่ี รียนรู้ และนำควำมรู้ไปใชใ้ นชวี ิตของ ตนเอง มีจติ วทิ ยำศำสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่ำนยิ มทเ่ี หมำะสม 8.ผลการเรียนรู้ 1. สบื ค้น และกำรอธิบำยกำรค้นหำควำมรทู้ ำงฟสิ กิ ส์ ประวัติควำมเป็นมำ รวมท้ังพฒั นำกำรของหลกั กำรและ แนวคดิ ทำงฟสิ ิกสท์ ม่ี ีผลตอ่ กำรแสวงหำควำมรูใ้ หม่ และกำรพฒั นำเทคโนโลยี 2. วดั และรำยงำนผลกำรวดั ปริมำณทำงฟสิ ิกส์ไดถ้ กู ตอ้ งเหมำะสม โดยนำควำมคลำดเคลอ่ื นในกำรวัดมำ พิจำรณำในกำรนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลกำรทดลองในรูปของกรำฟ วิเครำะห์และแปลควำมหมำยจำกกรำฟ เส้นตรง 3. ทดลอง และอธิบำยควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งตำแหนง่ กำรกระจดั ควำมเร็ว และควำมเรง่ ของกำรเคลอ่ื นท่ขี อง วัตถใุ นแนวตรงทีม่ คี วำมเรง่ คงตัวจำกกรำฟและสมกำร รวมทง้ั ทดลองหำค่ำควำมเร่งเนอ่ื งจำกแรงโน้มถว่ งของ โลก และคำนวณปรมิ ำณต่ำงๆ เกีย่ วขอ้ ง 4. อธิบำยแรง รวมทั้งทดลองและอธบิ ำยกำรหำแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทำมุมตอ่ กัน 5. เขยี นแผนภำพวัตถุอสิ ระ ทดลอง และอธบิ ำยกฎกำรเคล่ือนทข่ี องนวิ ตัน และกฎกำรเคลื่อนท่ีของนิวตนั กับ สภำพกำรเคลอื่ นท่ขี องวัตถุ รวมทัง้ คำนวณปริมำณต่ำงๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง 6. อธบิ ำยกฎควำมโนม้ ถ่วงสำกลและผลของสนำมโน้มถ่วงท่ที ำใหว้ ตั ถมุ นี ้ำหนัก รวมทัง้ คำนวณปรมิ ำณตำ่ งๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง 7. วิเครำะห์ อธิบำย และคำนวณแรงเสยี ดทำนระหว่ำงผวิ สมั ผสั ของวัตถคุ ู่หนึง่ ๆ ในกรณที ีว่ ัตถหุ ยดุ นง่ิ และวตั ถุ
เคล่ือนที่ รวมท้งั ทดลองหำสัมประสิทธิค์ วำมเสียดทำนระหวำ่ งผวิ สัมผสั ของวตั ถุค่หู นง่ึ ๆ และนำควำมรู้เรอื่ ง แรงเสียดทำนไปใช้ในชวี ิตประจำวัน รวมทั้งหมด 7 ผลกำรเรียนรู้ 9.แนวทางในการเรยี น 9.1 ฟงั บรรยำย 9.2 ทำกำรทดลอง 9.2 ทอ่ งจำ 9.3 ศกึ ษำคน้ ควำ้ ดว้ ยตวั เอง 10.ลักษณะขอ้ สอบ 10.1 ข้อสอบกลำงภำคเปน็ ข้อสอบปรนยั (ตัวเลือก) และอตั นัย (เขียนตอบ) 10.2 ข้อสอบปลำยภำคเป็นขอ้ สอบปรนยั (ตัวเลือก) 11.วันเวลาสอบ 11.1 กำรสอบกลำงภำค (ชว่ งเดอื นกรกฎำคม) 11.2 กำรสอบปลำยภำค (ชว่ งเดือนกนั ยำยน) 12.วธิ ีประเมนิ ผลคะแนน 100 คะแนน ประเมนิ ผลโดยพิจำรณำจำกคะแนนสว่ นตำ่ งๆ ดังนี้ 12.1 คะแนนเก็บก่อนกลำงภำค 30 คะแนน ประกอบด้วย 12.1.1 แบบทดสอบเกบ็ คะแนนหน่วยท่ี 1 5 คะแนน 12.1.2 ทอ่ งสัญลกั ษณ์ปรมิ ำณพ้ืนฐำนทำงฟิสิกส์ 5 คะแนน 12.1.3 ท่องคำอปุ สรรค (Prefixes) 5 คะแนน 12.1.2 แบบทดสอบเกบ็ คะแนนหน่วยท่ี 2 5 คะแนน 12.1.4 กำรทดลอง 10 คะแนน 12.2 คะแนนเก็บกอ่ นปลำยภำค 30 คะแนน ประกอบด้วย 12.2.1 แบบทดสอบเก็บคะแนนหน่วยท่ี 3 5 คะแนน 12.2.2 กำรทดลอง 10 คะแนน 12.2.3 ใบงำน 5 คะแนน 12.2.4 สมุด 10 คะแนน 12.3 คะแนนสอบกลำงภำคเรยี น (หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ 1 และ 2) 20 คะแนน 12.4 คะแนนสอบปลำยภำคเรียน (หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ 3) 20 คะแนน รวม 100 คะแนน 13.เกณฑก์ ารประเมนิ 0 – 49 คะแนนไดเ้ กรด 0 50 – 54 คะแนนได้เกรด 1 55 – 59 คะแนนไดเ้ กรด 1.5 60 – 64 คะแนนได้เกรด 2 65 – 69 คะแนนได้เกรด 2.5 70 – 74 คะแนนไดเ้ กรด 2 75 – 79 คะแนนไดเ้ กรด 3.5 80 – 100 คะแนนไดเ้ กรด 4
14.อปุ กรณ์/สือ่ การสอน 14.1 หนงั สอื เรยี นรำยวชิ ำฟิสกิ สเ์ พ่มิ เตมิ เลม่ 1 14.2 ชุดกำรทดลอง 14.3 อินเทอร์เนต็ 14.4 วิดโิ อ 14.5 Power Point
โครงการสอน รายวิชาฟิสกิ สเ์ พิ่มเติม รหัสวิชา ว31211 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 2.0 หนว่ ยกิต เวลา 80 ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 ครผู สู้ อน : นางธิดารตั น์ เดชพละ สัปดาห์ที่ ชัว่ โมงที่ หน่วยการเรียนรู้/ กจิ กรรม/เนอื้ หาสาระ เวลา แผนการจดั การเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) 1 1 2-3 ปฐมนิเทศ 1 2 4-7 2 3 8 บทนำ 1. บทนำฟิสิกส์ 4 4 9-10 (10 ช่วั โมง) 2. ปรมิ ำณทำงกำยภำพและหนว่ ย 1 5 11-16 3. กำรทดลองทำงฟิสิกส์ 2 10 17-24 6 6 25-32 4. ควำมไมแ่ น่นอนในกำรวดั 8 7 33-39 8 8 40 5. ปริมำณต่ำงๆ ของกำรเคลอ่ื นท่ี 7 9 41-48 1 20 49-56 กำรเคลอื่ นทแ่ี นวตรง 6. อัตรำเรว็ และควำมเร็ว 8 57-64 (30 ช่วั โมง) 7. ควำมเร่ง 8 65-71 8. กรำฟควำมสัมพนั ธป์ รมิ ำณตำ่ งๆของกำรเคลื่อนที่ 8 72-79 7 80 สอบกลำงภำค 8 1 9. แรงและแรงลพั ธ์ แรงและกฎกำร 10. แรงเสียดทำน เคลือ่ นท่ี 11. กฎกำรเคลือ่ นทข่ี องนิวตัน (40 ชว่ั โมง) 12. น้ำหนกั 13. กฎแรงดึงดดู ระหวำ่ งมวลของนวิ ตัน สอบปลำยภำค
บทนำ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชื่อรายวชิ า ฟิสกิ สเ์ พิม่ เติม รหสั วิชา ว 31211 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง บทนา ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 แผนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง บทนาฟสิ ิกส์ ผูส้ อน นางธดิ ารัตน์ เดชพละ เวลา 10 ชั่วโมง เวลา 2 ชว่ั โมง อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวัง อธิบายเกี่ยวกบั ธรรมชาติของวชิ าฟสิ กิ ส์ ปริมาณกายภาพ และหน่วยในระบบเอสไอ สาระสาคญั ฟิสิกส์เป็นสาขาวิชาท่ีศึกษากฎเกณฑ์ต่างๆ เพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ โดยกาหนดปริมาณ กายภาพและหน่วยข้ึนมา ตลอดจนเลขนัยสาคัญที่วัดได้จากการทดลองทางฟสิ ิกส์มาเพ่ืออธบิ ายปรากฏการณ์ ธรรมชาติ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ความเข้าใจ (Knowledge) 1. อธบิ ายธรรมชาติของฟิสิกสไ์ ด้ (L) ดา้ นทักษะกระบวนการ (Process) 2. สามารถเปลี่ยนประโยคให้เป็นตัวเลขได้ (N) ดา้ นคุณลกั ษณะ (Attitude) 3. มีจติ วทิ ยาศาสตร์ (R) ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) - ทักษะการสงั เกต (Observation) - ทักษะการคานวณ (Using Number)
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ 1 ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน 1.1 ถามนักเรยี นเก่ียวกบั ความแตกตา่ งของวิชาฟิสกิ ส์ เคมี และชวี วทิ ยา ตามความเขา้ ใจของนักเรียน ไมเ่ น้นถกู -ผดิ 1.2 อธบิ ายเอกลักษณ์ของวชิ าฟิสิกส์ท่ีแตกต่างจากสาขาวชิ าอ่นื และอธบิ ายการต่อยอดจากวชิ า ฟสิ กิ สไ์ ปยังสาขาวิชาอนื่ ๆ เช่น วศิ วกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เปน็ ตน้ ข้นั ท่ี 2 ขั้นดาเนนิ การสอน 2.1 ใหน้ กั เรยี นคน้ หาความหมายของวชิ าฟิสิกสจ์ าก Internet และจากในหนงั สอื แล้วอธิบายตาม ความเข้าใจ (บรู ณาการค่านิยมหลกั ของคนไทย ข้อท่ี 4 ; ใฝห่ าความรู้ ) 2.2 อธบิ ายการแปลงประโยคทีเ่ ป็นตวั อกั ษรให้เป็นตวั เลข เชน่ รถจอดติดไฟแดง ประมาณคร่งึ ชว่ั โมง หมายความว่า ความเรว็ (���⃑���) เท่ากับ 0 และเวลา(t) เท่ากบั 30 นาทีคณู กับ 60 วินาที เท่ากับ 1800 วินาที เปน็ ต้น ขั้นท่ี 3 ขั้นสรปุ ผล 3.1 ใหน้ กั เรยี นฝกึ ทาโจทย์เก่ยี วกับการแปลงประโยคเป็นตวั เลข 3.2 ใหน้ กั เรยี นวาดแผนผังส่งิ ทเี่ ขา้ ใจเกี่ยวกับธรรมชาตขิ องฟสิ ิกสล์ งในกระดาษ 3.3 ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ หค้ รอบคลุมด้านความรู้ (K) ด้านทกั ษะกระบวนการ(P) และ ด้านคุณลกั ษณะ(A) และ STEM Education ประเดน็ การ 54 ระดับคณุ ภาพ 2 1 ประเมิน 3 (พอใช้) (ปรบั ปรุง) (ดีมาก) (ดี) อธบิ ายเก่ียวกับ อธบิ ายเก่ยี วกับ ด้านความรู้ (K) (ปานกลาง) ธรรมชาติของ ธรรมชาตขิ อง อธิบายเกีย่ วกับ อธบิ ายเกี่ยวกบั อธิบายเกยี่ วกับ ฟสิ กิ ส์ลงใน ฟสิ กิ ส์ลงใน ด้านทกั ษะ ธรรมชาติของ แผนผงั ไดไ้ ม่ แผนผังได้ไม่ กระบวนการ(P) ธรรมชาตขิ อง ธรรมชาตขิ อง ฟิสิกส์ลงใน ถกู ต้องเป็นสว่ น ถกู ต้อง แผนผังได้ถกู ตอ้ ง ใหญ่ ฟสิ กิ ส์ลงใน ฟสิ กิ สล์ งใน เปน็ บางประเด็น แปลงประโยค แปลงประโยค เปน็ ตวั เลขได้ไม่ เป็นตวั เลขได้ไม่ แผนผังได้ แผนผังไดถ้ ูกตอ้ ง แปลงประโยค ถกู ตอ้ งเป็นส่วน ถกู ต้อง เปน็ ตวั เลขได้ ใหญ่ ถูกต้องครบถว้ น เปน็ ส่วนใหญ่ ถูกตอ้ งเปน็ บาง ประเด็น แปลงประโยค แปลงประโยค เป็นตวั เลขได้ เปน็ ตัวเลขได้ ถูกตอ้ งครบถว้ น ถูกต้องเปน็ ส่วน ใหญ่
มกี ารสังเกต มีการสังเกต และ มกี ารสังเกต และ มกี ารสังเกต มีการสงั เกต ดา้ นคุณลักษณะ(A) และคานวณได้ คานวณไดถ้ กู ตอ้ ง คานวณไดถ้ กู ตอ้ ง และคานวณได้ และคานวณได้ ไมถ่ ูกตอ้ ง ถูกตอ้ งครบถว้ น เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางประเดน็ ไมถ่ กู ต้องเปน็ สว่ นใหญ่ ส่อื การเรยี นรู้ 1. Internet 2. หนงั สือเรยี น 3. กระดาษ
บันทึกผล ลัง อน รอื การจดั กิจกรรม ราย ิชา ฟิ ิก ์เพมิ่ เติม ร ั ชิ า 31211 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี าร กึ า 2565 1. การใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ดา้ นค ามรู้………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ด้านทกั ะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. ดา้ นเจตคติ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ปญั า/อปุ รรค .............................................................................................................................................................................. 2. ข้อเ นอแนะ/แน ทางแกไ้ ข ............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .................................................. (นางธดิ ารัตน์ เดชพละ) ตาแ นง่ ครู 3. ค ามคิดเ ็นของ ั น้ากลมุ่ าระ ..........เ....น.....แ...ผ...น....ก...า..ร......ด....ก....า..ร...เ....ย...น...ก...า...ร..ส...อ...น......................ใ..บ.....ง..า..น............อ...........า...ส...น...ใ..จ.............................. ลงชื่อ...............๗................................... (นาง า ริ ินันท์ จนั ใด) ตาแ นง่ ครู 4. ข้อเ นอแนะของ ั น้า ถาน ึก า รอื ผ้ทู ไี่ ด้รับมอบ มาย (ตร จ อบ/นเิ ท /เ นอแนะ/รบั รอง) ะ เปน็ แผนการจดั การเรียนที่ดี รปู แบบถกู ต้อง ะ จุดประ งค์การเรยี นรู้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานตั ช้ี ัด และเรอื่ งที่ อน กิจกรรมการเรยี นรู้เปน็ ลาดบั ขั้นตอนและ การ ดั ประเมนิ ผล อดคลอ้ งกบั ตั ถปุ ระ งค์ เน้นผู้เรียนเป็น าคัญ อื่นๆ................................................................ พูลงชื่อ................ส.......น........................... ผนู้ ิเท (นางพุทธธดิ า ุ รรณโ ภณ) ตาแ นง่ ครู ่น่ีท่ืสีมีมีด่ีทีรัจ็ป
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชอ่ื รายวชิ า ฟิสิกสเ์ พ่มิ เตมิ รหสั วิชา ว 31211 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง บทนา เวลา 10 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง ปริมาณทางกายภาพและหน่วย เวลา 4 ช่ัวโมง ผ้สู อน นางธดิ ารตั น์ เดชพละ อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง อธิบายเกยี่ วกบั ธรรมชาตขิ องวชิ าฟิสิกส์ ปริมาณกายภาพ และหน่วยในระบบเอสไอ สาระสาคญั ปรมิ าณทางกายภาพ คือ ปริมาณที่สามารถวดั ไดด้ ว้ ยเคร่อื งมือต่างๆ ซึ่งจะประกอบไปด้วย ค่าทวี่ ัดได้ และหน่วยกากับ ซึ่งหน่วยที่ใช้ในระบบเอสไอ (International System of Units) ที่ใช้เป็นหน่วยมาตรฐาน เหมือนกนั ท่ัวโลก มดี งั นี้ ปริมาณกายภาพ หน่วย สญั ลักษณ์ ระยะทาง เมตร m มวล กิโลกรมั kg เวลา วินาที s กระแสไฟฟา้ แอมแปร์ A อุณหภูมิ เคลวนิ K ปรมิ าณสาร โมล mol แคนเดลา cd ความเข้มแสง ในหน่วยในระบบเอสไอจะประกอบไปด้วยหน่วยฐาน 7 หนว่ ย (base units) เชน่ เมตร, กโิ ลกรัม, วินาที, แอมแปร์, เคลวนิ , โมล, แคนเดลา เปน็ ต้น และหน่วยอนุพทั ธ์ (derived units) เปน็ การนาหน่วยฐาน มาคูณหรอื หารกนั เช่น เมตรตอ่ วินาที ( m / s ) กโิ ลกรมั เมตรกาลังสอง (k g m 2) เป็นต้น บางหนว่ ยจะมีคาอุปสรรค (Prefix) อยู่หน้าหนว่ ย ดงั นี้
c สญั ลักษณ์ ค่าตัวเลข 1018 E เอกซะ 1015 P เพตะ 1012 T เทระ 109 G จกิ ะ 106 M เมกะ 103 k กโิ ล 102 h เฮกโต 10 da เดคา 10-1 d เดซิ 10-2 c เซนติ 10-3 m มิลลิ 10-6 μ ไมโคร 10-9 n นาโน 10-12 p พโิ ค 10-15 f เฟมโต 10-18 a อัตโต จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ (Knowledge) 1. อธิบายปรมิ าณกายภาพได้ (L) 2. อธบิ ายหน่วยในระบบเอสไอได้ (L) ด้านทกั ษะกระบวนการ (Process) 3. สามารถเปลีย่ นหน่วยต่างๆในระบบเอสไอได้ (N) ดา้ นคณุ ลักษณะ (Attitude) 4. มีจิตวิทยาศาสตร์ (R) ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) - ทกั ษะการสงั เกต (Observation) - ทักษะการคานวณ (Using Number)ชขกจิ กรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั ที่ 1 ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น 1.1 ให้นักเรียนนึกถงึ คานามและคาสรรพนามทีน่ ักเรยี นเรียกแทนส่ิงของต่างๆในชีวิตประจาวนั เชน่ รถยนต(์ คัน), บ้าน(หลงั ), เงิน(บาท) เปน็ ตน้ (บรู ณาการกับวชิ า ภาษาไทย) ขน้ั ที่ 2 ขน้ั ดาเนนิ การสอน 2.1 อธิบายใหน้ ักเรยี นเข้าใจหน่วยวดั ความยาวของไทยเป็นคืบหรือเป็นศอก ที่ต่างประเทศความยาว เปน็ ฟตุ เพ่ือไม่ใหส้ บั สนและเขา้ ใจตรงกันจึงไดค้ ิดหนว่ ยสากลเพื่อใช้ใหถ้ ูกตอ้ งและตรงกัน 2.2 ให้นกั เรียนสบื ค้นหนว่ ยวัดในระบบเอสไอใน internet หรอื หนังสอื และใบความรโู้ ดยฝึกแปลจาก ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาไทย (บรู ณาการอาเซียน) และบนั ทึกลงสมดุ (บูรณาการค่านิยมหลักของ คนไทย ขอ้ ที่ 4 ; ใฝ่หาความรู)้ 2.3 ฝกึ ให้นกั เรียนเปลีย่ นประโยคเป็นตัวเลข เช่น เวลาครึ่งช่ัวโมง เทา่ กับ 1,800 วนิ าที เป็นต้น ขัน้ ท่ี 3 ขนั้ สรุปผล 4.1 ใหน้ กั เรยี นออกมาเติมหน่วยหรอื ปรมิ าณทางกายภาพในชอ่ งวา่ งท่ีครยู กตัวอย่างให้บนกระดาน หนา้ ชน้ั เรียน 4.2 ให้นกั เรียนเปลย่ี นประโยคเป็นตวั เลขจากโจทย์ทค่ี รูกาหนดให้บนกระดาน 4.3 ใหน้ กั เรียนเขียนแผนผงั สรปุ องคค์ วามรู้ 4.4 ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้ครอบคลมุ ด้านความรู้ (K) ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) และ ดา้ นคณุ ลักษณะ(A) และ STEM Education ประเดน็ การ 54 ระดบั คุณภาพ 21 ประเมิน 3 (ดมี าก) (ดี) (พอใช)้ (ปรับปรงุ ) ด้านความรู้ (K) (ปานกลาง) เตมิ ปริมาณทาง เตมิ ปรมิ าณทาง เติมปรมิ าณทาง เติมปริมาณทาง เติมปรมิ าณทาง ด้านทกั ษะ กายภาพหรอื กระบวนการ(P) กายภาพหรอื กายภาพหรือ หน่วยในช่องว่าง กายภาพหรือ กายภาพหรอื หนว่ ย ได้ถูกต้อง เปน็ หน่วยในช่องวา่ ง หน่วยในชอ่ งว่าง บางประเด็น หน่วยในช่องว่าง ในชอ่ งวา่ งไดไ้ ม่ แปลงประโยค ได้ถูกต้อง ไดถ้ กู ตอ้ งเป็น เปน็ ตัวเลขได้ ไดไ้ ม่ถกู ตอ้ งเปน็ ถกู ต้อง ถกู ตอ้ งเปน็ บาง ครบถว้ น สว่ นใหญ่ สว่ นใหญ่ แปลงประโยค แปลงประโยค แปลงประโยค แปลงประโยคเปน็ เปน็ ตวั เลขได้ เป็นตัวเลขได้ เปน็ ตัวเลขได้ไม่ ตวั เลขไดไ้ มถ่ ูกต้อง ถูกต้องครบถว้ น ถกู ต้องเปน็ สว่ น ถกู ต้องเป็นสว่ น
ด้านคณุ ลักษณะ มีการสงั เกต ใหญ่ ประเด็น ใหญ่ มีการสังเกต และ (A) และคานวณได้ มกี ารสงั เกต และ มีการสังเกต และ มกี ารสงั เกต คานวณได้ไม่ ถูกตอ้ งครบถว้ น คานวณไดถ้ กู ตอ้ ง คานวณไดถ้ กู ตอ้ ง และคานวณได้ ถกู ตอ้ ง เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางประเด็น ไมถ่ กู ตอ้ งเป็น ส่วนใหญ่ ส่ือการเรียนรู้ 1. Internet 2. หนงั สือเรยี น 3. กระดาษ 4. ใบความรู้ เรือ่ ง International System of Units
International System of Units In 1960, an international committee agreed on asset of definitions and standard to describe the physical quantities. The system that was established is called the System International (SI). Due to the simplicity and convenience with which the units in this system are amenable to arithmetical manipulation, it is in universal use by the world’s scientific community and by most nations. The system international (SI) is built up from three kinds of units: base units, supplementary units and derived units. Physical Quantity SI Unit Symbol metre m Length kilogram kg Mass second s Time ampere A Electric current kelvin K Thermodynamic temperature candela cd Intensity of light mole mol Amount of substance
บันทึกผล ลัง อน รอื การจดั กจิ กรรม ราย ชิ า ฟิ กิ เ์ พิม่ เติม ร ั ิชา 31211 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการ ึก า 2565 1. การใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ ดา้ นค ามรู้………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ด้านทกั ะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. ดา้ นเจตคติ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ปัญ า/อุป รรค .............................................................................................................................................................................. 2. ขอ้ เ นอแนะ/แน ทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................. (นางธิดารตั น์ เดชพละ) ตาแ นง่ ครู 3. ค ามคิดเ น็ ของ ั นา้ กลมุ่ าระ .................อ....ก...า..ร...ส...อ..น.........า...ส..น...ใ..จ..............จ...ก...ร..ร..ม....ก..า..ร...เ...ย..น...ก..า..ร..ส...อ..น.......ก...ร..ะ.....น....ค..ว..า..ม...ส...น..ใ..จ...ข..อ..ง......เ....ย...น.ไ.........เ น อ าง ลงช่ือ............๗...................................... (นาง า ริ ินันท์ จนั ใด) ตาแ น่ง ครู 4. ข้อเ นอแนะของ ั น้า ถาน ึก า รอื ผทู้ ี่ได้รับมอบ มาย (ตร จ อบ/นิเท /เ นอแนะ/รบั รอง) ะ เปน็ แผนการจัดการเรียนทดี่ ี รปู แบบถกู ต้อง ะ จุดประ งค์การเรยี นรู้ อดคล้องกับมาตรฐานตั ช้ี ัด และเรือ่ งท่ี อน กจิ กรรมการเรยี นรเู้ ปน็ ลาดับขน้ั ตอนและ การ ัดประเมินผล อดคล้องกับ ตั ถุประ งค์ เน้นผเู้ รียนเป็น าคญั อืน่ ๆ................................................................ พุลงชอ่ื ...............๗................................... ผู้นเิ ท (นางพุทธธดิ า ุ รรณโ ภณ) ตาแ นง่ ครู ีด่ย็ป้ดีรู้ผุ้ต่ีทีริกีม่น่ีท่ืสีม
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชอื่ รายวชิ า ฟสิ กิ สเ์ พ่ิมเติม รหัสวิชา ว 31211 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง บทนา เวลา 10 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ เรือ่ ง การทดลองทางฟิสิกส์ เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางธิดารตั น์ เดชพละ อิสลามวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง อธบิ ายความสาคญั ของการทดลอง การวดั ปรมิ าณกายภาพตา่ งๆ และการบนั ทกึ ผลการวัด สาระสาคัญ การทดลองทางฟิสิกส์ คือ การหาคาตอบเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เป็นการทดลอง สิ่งต่างๆ โดยเอาตัวเลขเข้ามาพิสูจน์ให้เห็นผลการทดลอง การทดลองจาเป็นต้องมีหน่วยซึ่งต้องแปลงให้เป็น หน่วยเอสไอ โดยใช้วิธีการจา เพ่มิ หารลดคูณ หากตอ้ งการเพ่ิมคาอุปสรรคให้นาค่านั้นไปหาร หากตอ้ งการลด คาอุปสรรคหรือเอาคาอุปสรรคออกให้เอาค่านัน้ ไปคณู จุดประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ (Knowledge) 1. อธิบายการทดลองทางฟสิ กิ สไ์ ด้ (L) ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (Process) 2. ทาการทดลองเร่อื ง การวัดได้ (N) ดา้ นคุณลกั ษณะ (Attitude) 3. มีจติ วิทยาศาสตร์ (R) ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) - ทักษะการสังเกต (Observation) - ทกั ษะการวดั (Measuring) - ทักษะการคานวณ(Using Number) - ทกั ษะการทดลอง (Experimenting)
กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ที่ 1 ขั้นนาเข้าส่บู ทเรยี น 1.1 ใหน้ กั เรียนบอกการทดลองที่เคยทามากอ่ น พรอ้ มอธิบายวธิ ีการทดลอง 1.2 ในการทดลองท่นี ักเรียนกล่าวมามีการวัดหรือไม่ 1.3 แจกใบคนั่ หนังสือเรอ่ื ง คาอุปสรรค ให้นกั เรียนทอ่ งจา ขัน้ ท่ี 2 ข้ันดาเนนิ การสอน 2.1 ให้นกั เรยี นคน้ หาความหมายของคาว่าคาอุปสรรคจาก Internet หรือหนงั สือเรยี น (บรู ณาการ ค่านยิ มหลักของคนไทย ขอ้ ที่ 4 ; ใฝ่หาความรู้ 2.2 สอนนักเรยี นเกีย่ วกับการเปลย่ี นหนว่ ยต่างๆให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอ และการใช้คาอุปสรรค ต่างๆ 2.3 ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่มใหไ้ ด้ 6 กลุ่มคละชายหญิง พรอ้ มเลือกหัวหน้ากลมุ่ รองหัวหน้า และ เลขานกุ าร ประจากล่มุ (บูรณาการประชาธิปไตย) 2.4 ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทาการทดลองเรือ่ งการวดั โดยเวยี นฐาน 6 ฐาน โดยวดั จากความเปน็ จริง และไม่ปัดหน่วยใดๆท้งั สนิ้ (บูรณาการค่านิยมหลักของคนไทย ข้อท่ี 2 ; ซ่ือสัตย์) 2.5 ให้นักเรียนบันทกึ ผลการวัดผลการวัดโดยเปน็ หน่วยเอสไอ ขั้นที่ 3 ขั้นสรปุ ผล 3.1 นกั เรียนท่เี ปน็ ตัวแทนกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการวัดในกลมุ่ ของตัวเองหนา้ ชนั้ เรยี น 3.2 ประเมนิ ผลจากกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้ครอบคลมุ ด้านความรู้ (K) ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) และ ด้านคุณลกั ษณะ(A) และ STEM Education ประเดน็ การ ระดับคุณภาพ ประเมิน 5 4 3 21 (ดมี าก) (ด)ี (ปานกลาง) (พอใช)้ (ปรบั ปรงุ ) ดา้ นความรู้ (K) นาเสนอผลการ นาเสนอผลการ นาเสนอผลการวดั นาเสนอผลการ นาเสนอผลการ ได้ถูกต้อง เป็น วดั ไดไ้ ม่ถกู ต้อง วดั ได้ไมถ่ กู ต้อง ดา้ นทกั ษะ วดั ไดถ้ กู ต้อง วดั ในชอ่ งวา่ งได้ บางประเดน็ เป็นส่วนใหญ่ กระบวนการ(P) คานวณหนว่ ยการ คานวณหนว่ ย คานวณหน่วย ครบถว้ น ถูกตอ้ งสว่ นใหญ่ วัดได้ถกู ตอ้ งเป็น การวัดได้ไม่ การวัดได้ไม่ บางประเดน็ ถูกตอ้ งเปน็ ส่วน ถกู ตอ้ ง คานวณหน่วย คานวณหน่วย ใหญ่ การวัดได้ การวดั ได้ถกู ต้อง ถูกต้องครบถว้ น เป็นส่วนใหญ่
มีการสงั เกต วัด มีการสังเกต วดั มกี ารสังเกต วดั มกี ารสงั เกต วัด มกี ารสงั เกต วดั ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A) และเปลี่ยน และเปล่ยี นหน่วย และเปลี่ยนหน่วย และเปลี่ยน และเปล่ยี น หน่วยได้ถูกต้อง ได้ถูกต้องเป็น ได้ถูกต้องเป็นบาง หน่วยได้ไม่ หนว่ ยได้ไม่ ครบถว้ น ส่วนใหญ่ ประเด็น ถกู ตอ้ งเป็นสว่ น ถูกต้อง ใหญ่ ส่อื การเรยี นรู้ 1. Internet 2. หนงั สือเรยี น 3. การทดลอง 6 ฐาน 4. ใบคนั่ หนังสอื เร่อื ง คาอุปสรรค
ชอื่ ฐาน การทดลอง เร่อื งการวดั 6 ฐาน วิธีการเปล่ยี นหน่วย ฐานท่ี 1 : บีกเกอรใ์ ส่น้า 55 ml ลด m (คูณ 10-3) ผลการวดั เพ่มิ k (หาร 103) 0.055 l ลด c (คูณ 10-2) ลด c (คณู 10-2) ฐานท่ี 2 : เคร่อื งชั่งสปรงิ วดั ถงุ ทราย 500 g 0.5 kg ลด m (คูณ 10-3) ลด m (คณู 10-3) ฐานท่ี 3 : ไมบ้ รรทดั วัดดนิ สอ 11.25 cm 0.1125 m (ไมบ้ รรทัดความละเอียดมิลลเิ มตร) 0.107 m ฐานท่ี 4 : ไมบ้ รรทดั วัดดินสอ 10.7 cm 0.075 l (ไมบ้ รรทัดความละเอียดเซนติเมตร) ฐานที่ 5 : บกี เกอรใ์ ส่น้า 75 ml ฐานที่ 5 บีกเกอรใ์ ส่นา้ 55 ml 0.055 l
บนั ทกึ ผล ลัง อน รอื การจดั กิจกรรม ราย ิชา ฟิ กิ ์เพิ่มเติม ร ั ิชา 31211 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี าร ึก า 2565 1. การใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ด้านค ามรู้………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ดา้ นทัก ะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. ดา้ นเจตคติ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ปญั า/อปุ รรค .............................................................................................................................................................................. 2. ข้อเ นอแนะ/แน ทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................. (นางธดิ ารัตน์ เดชพละ) ตาแ น่ง ครู 3. ค ามคิดเ น็ ของ ั นา้ กลุ่ม าระ ......เ.....น...แ...ผ...น....ก..า..ร......ด....ก..า..ร...เ...ย...น..ก...า..ร..ส...อ..น.........า......ใ...จ........................................................................................... ลงชือ่ .............๗..................................... (นาง า ิรินันท์ จนั ใด) ตาแ นง่ ครู 4. ขอ้ เ นอแนะของ ั นา้ ถาน กึ า รือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบ มาย (ตร จ อบ/นิเท /เ นอแนะ/รับรอง) = เป็นแผนการจัดการเรยี นทดี่ ี รปู แบบถูกต้อง i จุดประ งค์การเรยี นรู้ อดคล้องกบั มาตรฐานตั ชี้ ัด และเร่อื งที่ อน กจิ กรรมการเรียนรเู้ ป็นลาดบั ขน้ั ตอนและ การ ัดประเมนิ ผล อดคล้องกับ ตั ถุประ งค์ เน้นผเู้ รยี นเปน็ าคญั อืน่ ๆ................................................................ 7ลงชอ่ื .................................................. ผ้นู ิเท (นางพุทธธิดา ุ รรณโ ภณ) ตาแ น่งครู ีด่น่ีทีรัจ็ป
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชือ่ รายวชิ า ฟสิ ิกส์เพ่ิมเติม รหัสวิชา ว 31211 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง บทนา เวลา 10 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรยี นรู้ เร่ือง ความไม่แนน่ อนในการวัด เวลา 2 ชั่วโมง ผูส้ อน นางธิดารตั น์ เดชพละ อิสลามวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง อธบิ ายความสาคัญของการทดลอง การวัดปรมิ าณกายภาพตา่ งๆ และการบนั ทึกผลการวัด สาระสาคญั ทุกการทดลองย่อมมีความไมแ่ นน่ อนในการวดั นน่ั คือมีคา่ ความคลาดเคล่ือนในการวดั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ด้านความรคู้ วามเข้าใจ (Knowledge) 1. อธิบายความไม่แน่นอนในการวดั ได้ (L) ด้านทกั ษะกระบวนการ (Process) 2. ทาการทดลองเรื่อง ความไม่แน่นอนในการวดั ได้ (N) ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (Attitude) 3. มีจติ วทิ ยาศาสตร์ (R) ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) - ทักษะการสงั เกต (Observation) - ทกั ษะการวดั (Measuring) - ทักษะการคานวณ(Using Number) - ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นท่ี 1 ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน 1.1 ถามนักเรยี นเก่ียวกับขนาดทด่ี ินทีต่ วั เองอาศยั อยู่
ขั้นท่ี 2 ขน้ั ดาเนนิ การสอน 2.1 ให้นกั เรียนกลับไปวัดความกว้าง ความยาวของพ้ืนทบ่ี า้ น แลว้ หาพน้ื ท่ีของบ้านในหน่วยตาราง เมตร และบวกค่าความคลาดเคลื่อนมาด้วย 2.2 จากนั้นให้นกั เรยี นศกึ ษาเกย่ี วกบั การจดั สรรพ้นื ท่ีในบ้านตามเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวฯ จาก Internet และหนังสือในห้องสมดุ 2.3 ให้นกั เรียนคานวณแบง่ พ้ืนทบี่ ้านตัวเองตามสัดส่วน สระกกั เก็บนา้ 30%, ปลกู ข้าว 30%, ปลกู ผกั ผลไม้ 30% และท่ีอย่อู าศัย 10% ขน้ั ที่ 3 ข้ันสรปุ ผล 3.1 ใหน้ กั เรียนวาดแบบการจดั สรรพน้ื ท่บี ้านตามทฤษฎเี ศรษฐกิจพอเพยี ง 3.2 นกั เรยี นแต่ละคนออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น 3.3 ประเมินผลจากกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ดา้ นทกั ษะกระบวนการ(P) และ ดา้ นคุณลกั ษณะ(A) และ STEM Education ประเดน็ การ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ 5 4 3 21 (ดมี าก) (ด)ี (ปานกลาง) (พอใช้) (ปรบั ปรุง) นาเสนอผลการ นาเสนอผลการ นาเสนอผลการวัด นาเสนอผลการ นาเสนอผลการ ดา้ นความรู้ (K) วัดและคา่ ความ วัดและคา่ ความ และคา่ ความ วัดและค่าความ วดั และคา่ ความ คลาดเคลือ่ นได้ คลาดเคลอ่ื นใน คลาดเคล่ือนได้ คลาดเคลือ่ นได้ คลาดเคลื่อนได้ ถูกตอ้ งครบถ้วน ช่องวา่ งไดถ้ ูกต้อง ถูกตอ้ ง เป็นบาง ไม่ถกู ตอ้ งเป็น ไมถ่ ูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ ประเดน็ ส่วนใหญ่ คานวณหน่วย คานวณหนว่ ย คานวณหน่วย คานวณหน่วย คานวณหน่วย ดา้ นทักษะ เปอรเ์ ซ็นต์การ เปอรเ์ ซน็ ตก์ าร เปอร์เซ็นต์การ เปอรเ์ ซ็นต์การ เปอร์เซน็ ตก์ าร กระบวนการ(P) จดั สรรพน้ื ทไ่ี ด้ จัดสรรพนื้ ท่ีได้ จดั สรรพนื้ ท่ีได้ จัดสรรพ้นื ท่ีได้ จดั สรรพ้ืนท่ีได้ ถกู ตอ้ งครบถ้วน ถูกตอ้ งเป็นสว่ น ถกู ต้องเปน็ บาง ไม่ถกู ต้องเปน็ ไม่ถกู ตอ้ ง ใหญ่ ประเด็น สว่ นใหญ่ มกี ารสงั เกต วัด มีการสงั เกต วัด มกี ารสังเกต วดั มกี ารสงั เกต วัด มีการสังเกต วัด ด้านคุณลักษณะ(A) และเพ่ิมค่า และเพ่ิมค่าความ และเพ่ิมคา่ ความ และเพม่ิ คา่ และเพ่ิมคา่ ความเคล่อื นได้ เคลื่อนได้ถกู ตอ้ ง เคลอ่ื นได้ถูกตอ้ ง ความเคลอ่ื นได้ ความเคลอ่ื นได้ ถกู ต้องครบถ้วน เปน็ สว่ นใหญ่ เป็นบางประเดน็ ไมถ่ ูกต้องเปน็ ไมถ่ ูกตอ้ ง สว่ นใหญ่
ส่อื การเรยี นรู้ 1. Internet 2. หนงั สือ 3. กระดาษ
บันทึกผล ลงั อน รือการจัดกิจกรรม ราย ิชา ฟิ ิก เ์ พ่ิมเตมิ ร ั ิชา 31211 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ กึ า 2565 1. การใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ด้านค ามรู้………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ด้านทกั ะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. ด้านเจตคติ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ปัญ า/อุป รรค .............................................................................................................................................................................. 2. ข้อเ นอแนะ/แน ทางแกไ้ ข ............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................. (นางธิดารตั น์ เดชพละ) ตาแ นง่ ครู 3. ค ามคิดเ น็ ของ ั นา้ กลุ่ม าระ ..........ใ...บ.....ง..า..น..............อ....ก...า..ร....ส..อ...น.........า...ส..น...ใ..จ..................................................................................................... ลงชอื่ .................................................. (นาง า ริ ินันท์ จนั ใด) ตาแ นง่ ครู 4. ขอ้ เ นอแนะของ ั น้า ถาน กึ า รอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบ มาย (ตร จ อบ/นเิ ท /เ นอแนะ/รบั รอง) ะ เป็นแผนการจดั การเรียนทด่ี ี รปู แบบถูกต้อง -จดุ ประ งค์การเรียนรู้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานตั ชี้ ัด กจิ กรรมการเรยี นร้เู ปน็ ลาดับข้ันตอนและ และเรอื่ งท่ี อน เน้นผู้เรียนเป็น าคญั - การ ดั ประเมินผล อดคล้องกับ ตั ถปุ ระ งค์ อนื่ ๆ................................................................ ทุ นลงชือ่ .................................................. ผนู้ เิ ท (นางพุทธธิดา ุ รรณโ ภณ) ตาแ น่งครู ๊ม่น่ีท่ืสีมีม
หน่วยการเรียนรู้ที่ แกนารวเตครลื่งอนที่ 2
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชอ่ื รายวชิ า ฟสิ กิ ส์เพม่ิ เติม รหัสวิชา ว 31211 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เร่อื ง การเคล่อื นท่แี นวตรง เวลา 30 ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ปริมาณตา่ งๆของการเคลื่อนที่ เวลา 6 ช่วั โมง ผู้สอน นางธดิ ารตั น์ เดชพละ อสิ ลามวิทยาลยั แห่งประเทศไทย ผลการเรยี นรู้สาหรบั รายวิชาเพิม่ เติม อธิบายความสาคญั ของการทดลอง การวดั ปรมิ าณกายภาพตา่ งๆ และการบันทึกผลการวัด สาระสาคัญ การเคลือ่ นท่ขี องวัตถุเกี่ยวข้องกบั ระยะทาง การกระจดั อัตราเรว็ และความเร็ว ระยะทาง คอื ความ ยาวที่วดั ตามแนวทางการเคลือ่ นท่ีของวตั ถจุ ากตาแหนง่ เร่ิมตน้ ถงึ สุดทา้ ย การกระจัด คอื เวกเตอร์ ท่ชี ี้ ตาแหนง่ สดุ ท้ายของวัตถเุ ทียบกบั ตาแหนง่ เรม่ิ ต้น จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ด้านความรู้ความเขา้ ใจ (Knowledge) 1. อธิบายความหมายของปริมาณตา่ งๆของการเคล่อื นท่ีได้ (L) ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (Process) 2. คานวณหาปริมาณตา่ งๆของการเคลือ่ นท่ีได้ (N) ด้านคุณลักษณะ (Attitude) 3. มีจิตวทิ ยาศาสตร์ (R) ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) - ทกั ษะการสังเกต (Observation) - ทกั ษะการคานวณ(Using Number) - ทกั ษะการทดลอง (Experimenting)
กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 ขั้นตง้ั คาถาม (Learning to Question) 1.1 ครใู ห้นกั เรยี นสงั เกตภาพการเดนิ ทางจากบ้านมาโรงเรยี นของนักเรยี นคนหนงึ่ จากนนั้ นกั เรียน ร่วมกันพจิ ารณาภาพดังกล่าว 1.2 นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นในแต่ละกลุ่ม พรอ้ มทง้ั บนั ทึกความเห็นของกลุม่ (เปดิ โอกาสให้ นักเรียนไดแ้ สดงความคดิ เห็นโดยยงั ไม่เนน้ ถกู ผดิ ) 1.3 ตวั แทนนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอความเห็นของกล่มุ 1.4 นักเรยี นอภิปรายและลงขอ้ สรุปได้วา่ ความยาวตามแนวเสน้ ทาง C และ B มกี ารเปลย่ี นทิศทางไป โดยไม่เป็นเสน้ ตรง สว่ นความยาวตามแนวเส้นทาง A เป็นเส้นตรงและสัน้ สดุ 1.5 ครถู ามกระตุ้นวา่ ความยาวตามแนวเส้นทางที่ส้ันสดุ คือปรมิ าณใด? และความยาวตามแนวเสน้ ทาง ทีเ่ ปลีย่ นทิศทางไปและมีความยาวมากกว่าเสน้ ทาง A คอื ปรมิ าณใด?เพือ่ เชือ่ มโยงไปสู่บทเรียนเรื่อง ระยะทาง และการกระจัด ขน้ั ที่ 2 ขั้นแสวงหาสารสนเทศ (Learning to Search) 2.1 นกั เรียนแบ่งกล่มุ กล่มุ ละ่ 4-5 คน ค้นควา้ หาความรู้เกยี่ วกบั ปริมาณต่าง ๆ เกย่ี วกับการเคลือ่ นที่ ในแนวตรง จากหนังสือเรียน อินเตอรเ์ นต็ เปน็ ตน้ 2.2 นักเรยี นทาการสรุปสาระสาคัญ จดบนั ทกึ ลงในสมดุ งานของนกั เรียน ข้นั ท่ี 3 ขัน้ สรา้ งความรู้ (Learning to Construct) (15 นาท)ี 3.1 นกั เรียนนาขอ้ มลู จากขนั้ การสบื ค้น ข้อมูล มาอภปิ รายรว่ มกบั ครู 3.2 ครูอธิบายเพ่มิ เตมิ เกี่ยวกับปรมิ าณท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การเคลอื่ นท่แี นวตรง เพื่อให้นกั เรยี นสรปุ สาระสาคัญ ขนั้ ที่ 4 ขั้นสือ่ สาร (Learning to Communicate) (10 นาที) 4.1 นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ทาแบบฝึกหดั ทีค่ รยู กตวั อย่างใหเ้ กีย่ วกบั ความหมายของการเคลอ่ื นทแ่ี นวตรง 4.2 ตวั แทนนักเรียนนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรียน แล้วครูชมเชยนักเรยี นทใ่ี ห้ความร่วมมือ
ข้นั ที่ 5 ขั้นตอบแทนสังคม (Learning to Serve) (10 นาที) 5.1 ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปรายและสรปุ ผลการเรียน โดยมีแนวสรปุ ดังนี้ - ระยะทาง คอื ความยาวทีว่ ัดตามแนวทางการเคล่ือนทข่ี องวัตถุจากตาแหน่งเดมิ ไปยังตาแหน่งสดุ ทา้ ย - การกระจัด คอื ระยะทางท่ีวดั ได้ตามแนวตรงจากจดุ เริ่มต้นไปยงั จดุ สุดท้ายของการเคล่อื นท่ี 5.2 ครูสงั เกต ความสนใจเรยี น ความเป็นคนชา่ งสังเกต ชา่ งคิด ช่างสงสัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการ เสาะแสวงหาความรู้ โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ 5.3 ครูตรวจสมุดบนั ทึกนักเรยี น 9. การวดั และประเมินผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี าร เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน (ผ่าน/ไม่ผ่าน) 1. ระบคุ วามหมายของ ตรวจสมุด แบบฝกึ หัด ได้คะแนนไม่ ระยะทาง และการกระจัดได้ แบบฝึกหดั น้อยกวา่ 70 ถอื ว่า ผ่าน 2. คานวณหาระยะทางและ ไดค้ ะแนนไม่ นอ้ ยกว่า 70 การกระจดั ได้ ตรวจสมุด ถอื วา่ ผ่าน 3. แสดงความเป็นคนชา่ ง สังเกตคนช่างคดิ ช่าง แบบสงั เกต ระดบั คณุ ภาพ 3 สงั เกต ช่างคิด ช่างสงสยั ใฝ่ สงั เกต ใฝ่เรียนรู้และมุ่งม่ัน ด้านความรู้ –ความคิด ผ่านเกณฑ์ เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ ในการเสาะ แสวงหาความรู้ ในการทางาน 10. สือ่ การเรียนการสอน 10.1.หนังสือเรียน 10.2 อนิ เทอรเ์ น็ต
บันทกึ ผล ลัง อน รอื การจัดกิจกรรม ราย ชิ า ฟิ ิก ์เพิ่มเติม ร ั ชิ า 31211 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี าร ึก า 2565 1. การใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ดา้ นค ามรู้………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ดา้ นทกั ะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. ดา้ นเจตคติ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ปัญ า/อุป รรค .............................................................................................................................................................................. 2. ข้อเ นอแนะ/แน ทางแกไ้ ข ............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................. (นางธิดารตั น์ เดชพละ) ตาแ นง่ ครู 3. ค ามคิดเ ็นของ ั นา้ กลุ่ม าระ .....เ....น....แ...ผ...น....ก..า..ร.....ด...ก...า..ร...เ...ย...น..ก...า..ร..ส...อ...น........า...ส...น..ใ..จ............................................................................................ ลงชอื่ .................................................. (นาง า ิรนิ นั ท์ จนั ใด) ตาแ น่ง ครู 4. ขอ้ เ นอแนะของ ั น้า ถาน กึ า รือผ้ทู ่ีได้รับมอบ มาย (ตร จ อบ/นเิ ท /เ นอแนะ/รับรอง) I= กเปิจน็ กแรผรมนกกาารรเจรดั ียกนารรู้เเปรน็ยี ลนาทดด่ี บั ี รขปูนั้ แตบอบนถแกูลตะอ้ ง จุดประ งคก์ ารเรียนรู้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานตั ชี้ ัด และเรอื่ งท่ี อน เน้นผ้เู รยี นเป็น าคญั การ ัดประเมนิ ผล อดคล้องกบั ตั ถปุ ระ งค์ อนื่ ๆ................................................................ ลงช่อื .......พ........................................... ผนู้ เิ ท (นางพุทธธิดา ุ รรณโ ภณ) ตาแ นง่ ครู ๊ม่น่ีทีรัจ็ป
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช่ือรายวชิ า ฟสิ กิ สเ์ พม่ิ เตมิ รหสั วิชา ว 31211 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอื่ ง การเคลอ่ื นท่แี นวตรง เวลา 30 ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง อตั ราเร็ว และความเรว็ เวลา 8 ชวั่ โมง ผ้สู อน นางธดิ ารัตน์ เดชพละ อสิ ลามวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย ผลการเรียนรู้สาหรับรายวิชาเพิ่มเติม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการเคลื่อนท่ีของวัตถุในแนว ตรงทีม่ คี วามเร่งคงตัว สาระสาคัญ อตั ราเร็วสามารถหาไดจ้ าก ระยะทางทเ่ี คล่อื นทีไ่ ด้เทียบกับเวลาที่ใชใ้ นการเคลื่อนที่ ดังสมการ v = ������ ������ สว่ นความเร็วสามารถหาไดจ้ าก การกระจัดเทยี บกบั เวลาที่ใชใ้ นการเคลื่อนที่ ดังสมการ ���⃑��� = ���⃑��� ������ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ด้านความรู้ความเข้าใจ (Knowledge) 1. อธบิ ายความหมายของอตั ราเรว็ และความเร็วได้ (L) ด้านทักษะกระบวนการ (Process) 2. คานวณหาอตั ราเร็ว และความเรว็ ได้ (N) ด้านคณุ ลกั ษณะ (Attitude) 3. มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ (R) ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) - ทกั ษะการสังเกต (Observation) - ทักษะการวดั (Measuring) - ทกั ษะการคานวณ(Using Number)
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นที่ 1 ข้นั นาเขา้ สู่บทเรยี น 1.1 ใหน้ กั เรยี นบอกความกว้างความยาวของหอ้ งเรียนว่ามีพน้ื เทา่ ใด นักเรียนใชว้ ธิ กี ารใดในการคดิ ขัน้ ที่ 2 ขนั้ ดาเนินการสอน 2.1 ให้นกั เรียนกลบั ไปวัดความกวา้ ง ความยาวของพ้ืนทบี่ า้ น แลว้ หาพ้นื ที่ของบา้ นในหนว่ ยตาราง เมตร และบวกค่าความคลาดเคล่อื นมาดว้ ย 2.2 จากนน้ั ให้นักเรียนศึกษาเก่ยี วกบั การจดั สรรพ้นื ทใี่ นบา้ นตามเศรษฐกจิ พอเพยี งของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ฯ จาก Internet และหนังสือในห้องสมดุ 2.3 ใหน้ กั เรยี นคานวณแบ่งพน้ื ทบี่ ้านตวั เองตามสัดส่วน สระกักเก็บนา้ 30%, ปลกู ข้าว 30%, ปลกู ผกั ผลไม้ 30% และทีอ่ ยอู่ าศยั 10% ขนั้ ที่ 3 ขั้นสรุปผล 3.1 ให้นักเรยี นวาดแบบการจดั สรรพนื้ ทบี่ า้ นตามทฤษฎเี ศรษฐกิจพอเพยี ง 3.2 นักเรยี นแต่ละคนคานวณหาเดนิ รอบพืน้ ทแ่ี ต่ละส่วนด้วยอัตราเร็วคงที่ 2.0 เมตรตอ่ วินาที จะเดนิ ดว้ ยอตั ราเรว็ เฉล่ีย และความเร็วเฉล่ยี เท่าใด แล้วออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรียน 3.3 ประเมินผลจากกจิ กรรมการเรยี นรู้ใหค้ รอบคลุมด้านความรู้ (K) ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) และ ด้านคุณลักษณะ(A) และ STEM Education ประเด็นการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน 5 4 3 21 ดา้ นความรู้ (K) (ดมี าก) (ดี) (ปานกลาง) (พอใช้) (ปรับปรงุ ) ดา้ นทกั ษะ กระบวนการ(P) นาเสนอผลการ นาเสนอผลการ นาเสนอผลการวัด นาเสนอผลการ นาเสนอผลการ วดั และคา่ ความ วดั และค่าความ และค่าความ วดั และคา่ ความ วดั และคา่ ความ คลาดเคล่ือนได้ คลาดเคลอื่ นใน คลาดเคลื่อนได้ คลาดเคล่ือนได้ คลาดเคลือ่ นได้ ถูกต้องครบถ้วน ช่องวา่ งไดถ้ ูกตอ้ ง ถกู ต้อง เป็นบาง ไม่ถกู ต้องเป็น ไม่ถูกต้อง เปน็ ส่วนใหญ่ ประเด็น สว่ นใหญ่ คานวณหน่วย คานวณหน่วย คานวณหนว่ ย คานวณหน่วย คานวณหนว่ ย เปอร์เซ็นต์การ เปอร์เซ็นตก์ าร เปอรเ์ ซ็นต์การ เปอรเ์ ซ็นต์การ เปอรเ์ ซน็ ต์การ จดั สรรพน้ื ทีไ่ ด้ จัดสรรพ้นื ที่ได้ จัดสรรพนื้ ที่ได้ จัดสรรพน้ื ที่ได้ จดั สรรพ้ืนที่ได้ ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเปน็ ส่วน ถกู ตอ้ งเป็นบาง ไมถ่ ูกตอ้ งเปน็ ไม่ถูกต้อง ใหญ่ ประเดน็ ส่วนใหญ่
มกี ารสงั เกต วดั มกี ารสงั เกต วดั มกี ารสงั เกต วัด มีการสงั เกต วัด มกี ารสงั เกต วดั และเพิ่มค่าความ และเพิ่มคา่ และเพม่ิ คา่ ดา้ นคุณลักษณะ(A) และเพม่ิ ค่า และเพ่มิ คา่ ความ เคลื่อนได้ถกู ต้อง ความเคลอ่ื นได้ ความเคลอื่ นได้ ความเคล่ือนได้ เคลื่อนได้ถกู ต้อง เป็นบางประเดน็ ไมถ่ กู ต้องเปน็ ไมถ่ กู ต้อง สว่ นใหญ่ ถกู ตอ้ งครบถ้วน เป็นส่วนใหญ่ ส่อื การเรยี นรู้ 1. Internet 2. หนังสอื 3. กระดาษ
บันทกึ ผล ลงั อน รือการจัดกจิ กรรม ราย ิชา ฟิ ิก ์เพ่มิ เตมิ ร ั ิชา 31211 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการ ึก า 2565 1. การใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ ด้านค ามรู้………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ดา้ นทกั ะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. ด้านเจตคติ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. .............................................................................................................................................................................. ปัญ า/อปุ รรค .............................................................................................................................................................................. 2. ข้อเ นอแนะ/แน ทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................. (นางธิดารตั น์ เดชพละ) ตาแ น่ง ครู 3. ค ามคิดเ ็นของ ั นา้ กลุ่ม าระ .......เ....น...แ..ผ...น...ก..า.ร.....ด...ก..า..ร...เ...ย...น....................ใ...บ....ง..า..น............อ...ก..า..ร...ส..อ..น........า...ส...น..ใ..จ..................................................... ลงชื่อ.................................................. (นาง า ิรินันท์ จันใด) ตาแ น่ง ครู 4. ข้อเ นอแนะของ ั น้า ถาน กึ า รือผู้ทไ่ี ด้รบั มอบ มาย (ตร จ อบ/นิเท /เ นอแนะ/รับรอง) ะ เปน็ แผนการจัดการเรียนท่ดี ี รปู แบบถกู ตอ้ ง ะ จุดประ งคก์ ารเรียนรู้ อดคล้องกบั มาตรฐานตั ช้ี ัด และเรอื่ งที่ อน กิจกรรมการเรยี นรเู้ ปน็ ลาดับขั้นตอนและ การ ัดประเมนิ ผล อดคลอ้ งกับ ตั ถปุ ระ งค์ เน้นผเู้ รยี นเป็น าคัญ อน่ื ๆ................................................................ พุลงชือ่ ...................๗............................... ผู้นเิ ท (นางพุทธธิดา ุ รรณโ ภณ) ตาแ น่งครู ๊ศ่น่ีท่ืสีมีมีด่ีทู้รีรัจ็ป
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 7 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชือ่ รายวชิ า ฟิสกิ สเ์ พม่ิ เติม รหัสวิชา ว 31211 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง บทนา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรือ่ ง ความเร่ง ผูส้ อน นางธดิ ารัตน์ เดชพละ เวลา 30 ชั่วโมง เวลา 8 ช่ัวโมง อิสลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ผลการเรยี นรู้สาหรบั รายวชิ าเพิม่ เติม อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการกระจัด ความเร็ว และความเรง่ ของการเคลื่อนที่ของวตั ถใุ นแนว ตรงที่มคี วามเรง่ คงตัว สาระสาคัญ การเคล่ือนทีแ่ นวตรงเปน็ การเคล่อื นท่ีในแนวใดแนวหนงึ่ เชน่ แนวราบหรอื แนวดง่ิ ท่ีมีการกระจดั ความเร็ว ความเร่ง อยใู่ นแนวเส้นตรงเดยี วกัน โดยความเร่งของวตั ถุหาไดจ้ ากความเร็วท่เี ปล่ียนไปในหนง่ึ หน่วยเวลา จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ (Knowledge) 1. อธิบายธรรมชาตขิ องความเร่งได้ (L) ด้านทกั ษะกระบวนการ (Process) 2. สามารถคานวณหาความเรง่ ได้ (N) ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (Attitude) 3. มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ (R) ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process Skills) - ทักษะการสงั เกต (Observation) - ทักษะการคานวณ (Using Number)
กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ข้นั นาเขา้ สู่บทเรยี น 1.1 ถามนักเรียนเกยี่ วกับความเรง่ ในนิยามของนักเรียนเอง ขน้ั ที่ 2 ข้ันดาเนนิ การสอน 2.1 ให้นกั เรียนค้นหาความหมายของความเรง่ จาก Internet และจากในหนงั สอื แล้วอธบิ ายตาม ความเขา้ ใจ 2.2 ฝึกนกั เรยี นคานวณหาความเร่งจากสมการ a = (v-u)/t ข้นั ที่ 3 ขน้ั สรุปผล 3.1 ให้นักเรยี นฝกึ ทาโจทย์เกีย่ วกบั การหาความเรง่ 3.2 ให้นักเรียนวาดแผนผงั สงิ่ ท่เี ข้าใจเก่ยี วกบั ความเร่งลงในกระดาษ 3.3 ประเมนิ ผลจากกิจกรรมการเรยี นรูใ้ ห้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) และ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A) และ STEM Education ประเด็นการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน 5 4 3 21 (ดีมาก) (ด)ี (ปานกลาง) (พอใช)้ (ปรบั ปรุง) อธิบายเกยี่ วกบั อธบิ ายเกีย่ วกับ อธบิ ายเก่ียวกับ อธบิ ายเกี่ยวกบั อธิบายเกยี่ วกบั ด้านความรู้ (K) ความเร่งลงใน ความเรง่ ลงใน ความเรง่ ลงใน ความเร่งลงใน ความเรง่ ลงใน แผนผังได้ แผนผังไดถ้ ูกต้อง แผนผังได้ถูกตอ้ ง แผนผงั ไดไ้ ม่ แผนผงั ได้ไม่ ถกู ตอ้ งครบถ้วน เปน็ ส่วนใหญ่ เป็นบางประเดน็ ถูกตอ้ งเปน็ ส่วน ถกู ตอ้ ง ใหญ่ คานวณหา คานวณหา คานวณหา คานวณหา คานวณหา ด้านทกั ษะ ความเร่งได้ ความเรง่ ได้ ความเรง่ ได้ ความเรง่ ได้ไม่ ความเรง่ ได้ไม่ กระบวนการ(P) ถกู ต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วน ถกู ตอ้ งเป็นบาง ถูกตอ้ งเปน็ ส่วน ถกู ต้อง ใหญ่ ประเด็น ใหญ่ มีการสังเกต มกี ารสังเกต และ มีการสงั เกต และ มกี ารสังเกต มกี ารสงั เกต ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A) และคานวณได้ คานวณได้ถูกต้อง คานวณได้ถกู ตอ้ ง และคานวณได้ และคานวณได้ ถูกตอ้ งครบถว้ น เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางประเดน็ ไมถ่ กู ตอ้ งเป็น ไม่ถูกตอ้ ง สว่ นใหญ่
Search