Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอ CBL 1 21072562

งานนำเสนอ CBL 1 21072562

Published by รักษ์ สมรักษ์, 2019-07-22 03:08:04

Description: งานนำเสนอ CBL 1 21072562

Search

Read the Text Version

รายงานผลการฝึกปฏบิ ัตงิ านภาคสนาม โดยการเรียนร้แู บบ Community Based Learning (CBL) จัดทาโดย กลมุ่ ท่ี 1 อาเภอเมืองยะลา หลกั สตู รผ้บู ริหารการสาธารณสขุ ระดับกลางรนุ่ ท่ี 33 ประจาปี 2562 วิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธร จังหวดั ยะลา

อาจารย์ทป่ี รกึ ษาประจากล่มุ ดร.ปารฉิ ตั ร อุทยั พนั ธ์ ดร.อุบลทพิ ย์ ไชยแสง

สมาชกิ กล่มุ นางวรรณา วิจิตร นางปราณี เมืองแดง นายบญุ ถม ชัยญวน นางพมิ พบ์ ุญญา สมทุ รรัตน์ นางนันทยา อตุ ตมะกลุ นางชนิกา ทองอนั ตัง นายมะมสั ซกู ี สามะแอ นางสาวยอดสรอ้ ย วิเวกวรรณ นายกติ ติ ใจสมุทร นายพนมศกั ดิ์ จันปาน นางนรศิ า ตปิ ยานนท์ นายสมรกั ษ์ ไหมทอง

บทท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไป

พนื ที่ศกึ ษา : อาเภอเมอื งยะลา วดั ถาสวย รวยไม้ยางพารา ลาคา่ หินอ่อน กระทอ้ นรสดี

ขอ้ มูลทวั่ ไป เปน็ ท่ีราบลุ่มและทร่ี าบเชิงเขา มภี เู ขาเตี้ยๆสลับซบั ซอ้ นบริเวณ ตอนเหนือส่วนใหญเ่ ป็นที่ราบลมุ่ บรเิ วณตอนใตเ้ ปน็ ป่าเขาเนินสูง ตง้ั อยทู่ างทิศเหนอื ของศาลากลางจงั หวัดยะลา อย่หู า่ งจากศาลา กลางจงั หวัดยะลา ประมาณ 100 เมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถไฟ 1,039 กิโลเมตร มเี น้ือทป่ี ระมาณ 264.24 ตาราง กิโลเมตร หรอื ประมาณ 165,255 ไร่ มีอาณาเขตตดิ ต่อดงั นี้ ทศิ เหนือ ติดต่อกบั อาเภอยะรัง อาเภอแม่ลาน และอาเภอโคกโพธ์ิ จังหวัดปัตตานี ทศิ ใต้ ติดต่อกับ อาเภอกรงปินัง จงั หวดั ยะลา ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อ กบั อาเภอรามนั จงั หวัดยะลา ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอยะหา จงั หวดั ยะลา

ขอ้ มูลทวั่ ไป ประชากร การปกครอง มปี ระชากรรวมทงั้ ส้นิ 140,166 คน 14 ตาบล 80 หมู่บ้าน และ 40 ชมุ ชน ชาย 66,730 คน หญงิ 73,436 คน 20 17.15 16.94 17.91 47,951 ครัวเรอื น 18 ความหนาแนน่ 530.47 คน/ตารางกโิ ลเมตร 16 4.49 4.04 6.17 14 1.27 1.29 ปิรามิดประชากร อาเภอเมืองยะลา 12 ปี 2559 ปี 2560 1.17 10 17.15 16.94 ปี 2561 4.49 4.04 17.91 8 1.27 1.29 6.17 6 1.17 4 2 0 อตั ราการเกดิ (ต่อพนั ประชากร) อตั ราการตาย(ต่อพนั ประชากร)2 อตั ราเพม่ิ ธรรมชาต(ิ รอ้ ยละ) ท่ีมา : ขอ้ มลู บญั ชสี าธารณสุข ณ 30 กนั ยายน 2561

ขอ้ มูลทวั่ ไป อัตรากาลัง สสอ.เมืองยะลา อัตรากาลัง รพ.สต เจา้ พนกั งาน เจา้ พนักงานทันต เจา้ พนกั งานเภสชั แพทยแ์ ผนไทย , 1 นกั วชิ าการ ธุรการ , 1 สาธารณสุข , 6 กรรม , 1 สาธารณสขุ , 44 เจ้าพนักงานทันต เจา้ พนกั งาน สาธารณสขุ , 1 สาธารณสขุ , 16 เจา้ พนกั งาน นกั วชิ าการ สาธารณสขุ , 1 สาธารณสขุ , 5 ขอ้ มูลทรพั ยากรสาธารณสขุ พยาบาลวชิ าชีพ/ เวชปฏิบตั ิ , 49 พยาบาลวิชาชีพ ผ่านการอบรมหลกั สตู ร เวชปฏบิ ตั ิทว่ั ไป 100 %

ขอ้ มูลทวั่ ไป ความครอบคลมุ การเข้าถงึ หลักประกันสุขภาพ 9% 1% 11% 79% UC ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ประกนั สังคม อื่น ทมี่ า : ข้อมลู HDC 8 กรกฎาคม 2562

ขอ้ มูลทวั่ ไป ขอ้ มูลสุขภาพประชาชน 5 อนั ดับกลมุ่ โรคทีผ่ ูป้ ว่ ยมารบั บริการ ปี 2559 - 2561 5 อันดับโรคทตี่ อ้ งเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา ปี 2559 - 2561 1000 1600 900 800 1400 700 1200 600 1000 500 800 400 600 300 200 400 100 200 0 โรคระบบหายใจ โรคเก่ยี วกบั ต่อมไรท้ อ่ โรคระบบกลา้ มเน้อื 0 ปอดบวม ตาแดง ไขห้ วดั ใหญ่ อสี ุกอใี ส โรคระบบย่อยอาหาร โรคระบบไหลเวยี นเลอื ด 516.32 387.98 257.78 อจุ จาระร่วง 266.6 91.1 11.39 30.81 540.04 437.22 308.68 461.92 104.44 11.38 38.83 ปี 2559 489.94 528.63 723.92 621.84 545.08 ปี 2559 621.21 722.39 179.71 215.8 179.01 ปี 2560 555.65 ปี 2560 584.24 577.14 ปี 2561 1453.98 ปี 2561 857.64 798.15 ทีม่ า : ศูนยข์ อ้ มลู เครอื ขา่ ยอาเภอเมอื งยะลา ท่ีมา : ศูนยข์ อ้ มลู เครอื ขา่ ยอาเภอเมอื งยะลา

ขอ้ มลู ทวั่ ไป แผนภูมิแสดงจานวนผู้ปว่ ยโรคไขเ้ ลือดออก จาแนกรายเดือน อ.เมืองยะลา จ.ยะลา เปรยี บเทยี บข้อมลู ปี 2562 กับค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง 30 27 25 20 15 14 12 12 12 12 10 9 9 7 7 6 7 5 5 5 54 5 0 มค. กพ. มคี . เมย. พค. มยิ . กค. สค. กย ตค. พย. ธค median ปี 2562 ที่มา : ศูนย์ระบาด อ.เมืองยะลา ณ 8 กรกฎาคม 2562

ผลการดาเนินงานตามตวั ช้ีวดั ท่ยี งั ไม่ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละหญิงตง้ั ครรภท์ ่ไี ดร้ ับการดูแลกอ่ นคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑค์ ุณภาพ (รอ้ ยละ75) 100 67.01 69.68 90 80 ปี 2561 ปี 2562(รอบ 9 เดอื น) 70 58.71 60 50 40 30 20 10 0 ปี 2560 ทม่ี า : ข้อมูล HDC 8 กรกฎาคม 2562

ผลการดาเนินงานตามตวั ช้ีวดั ท่ยี งั ไม่ผ่านเกณฑ์ ความครอบคลมุ ของเด็กท่ีไดร้ ับวัคซนี ในเด็กอายุครบ 1 ปี (รอ้ ยละ 95) 100 85.38 77.17 90 ปี 2561 ปี 2562 83.81 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ปี 2560 ทมี่ า : ขอ้ มลู HDC 8 กรกฎาคม 2562

ผลการดาเนินงานตามตวั ช้ีวดั ท่ยี งั ไม่ผ่านเกณฑ์ ความครอบคลมุ การไดร้ บั วคั ซีน ในเดก็ อายุครบ 5 ปี (รอ้ ยละ 90) 100 90 80.08 77.53 80.35 ปี 2562 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ปี 2561 ปี 2560 ท่มี า : ขอ้ มูล HDC 8 กรกฎาคม 2562

ผลการดาเนินงานตามตวั ช้ีวดั ท่ยี งั ไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละของเด็กกลมุ่ อายุ 3 ปี มฟี นั ผุในฟนั นา้ นม (ไม่เกนิ รอ้ ยละ 37) 100 33.47 22.93 90 80 ปี 2561 ปี 2562(รอบ 9 เดอื น) 70 60 50 44.25 40 30 20 10 0 ปี 2560 ที่มา : ข้อมูล HDC 8 กรกฎาคม 2562

ผลการดาเนินงานตามตวั ช้ีวดั ท่ยี งั ไม่ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละของผูป้ ่วยโรคเบาหวานทีค่ วบคมุ นา้ ตาลไดด้ ี (มากกวา่ 40%) ที่มา : ขอ้ มลู HDC 8 กรกฎาคม 2562

การจัดลาดับความสาคญั ของปัญหาสาธารณสขุ ปี 2562 หลักเกณฑ์ ขนาดของกลุ่ม ความรุนแรง ความเปน็ ไปได้ใน ความร่วมมอื ของ รวม ลาดับที่ คนที่ไดร้ ับ (นาหนกั 2) การแกไ้ ขปญั หา ชมุ ชน(นาหนกั 3) คะแนน ของ ผลกระทบ ทไี่ ด้ ปญั หา (นาหนัก 2) น้าหนกั คะแนน (นาหนัก 3) น้าหนกั คะแนน น้าหนกั คะแนน น้าหนัก คะแนน 1.แมต่ าย 3 6 5 10 2 6 3 9 31 3 2.เดก็ ปว่ ยตายดว้ ยโรคที่ 3 6 5 10 3 9 3 9 34 1 สามารถป้องกนั ได้ 3.พัฒนาการล่าช้า 3 6 3 6 4 12 2 6 30 4 4.ควบคุมระดบั นาตาล/ ความดันโลหิตสงู ไม่ได้ 4 8 4 8 2 6 3 9 33 2 5.ฟันผุในเด็กปฐมวยั , 5 10 3 6 2 6 3 9 31 3 วัยเรยี น 6. ไข้เลอื ดออก 3 6 3 6 3 9 3 9 30 4

กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา CBL ข้อมลู ปฐมภูมิ ปัญหา SWOT Analysis / กลยุทธ์ แผนงาน/ ขอ้ มูล ทุติยภูมิ สาธารณสุข TOWS Matrix โครงการ

บทที่ 2 การวิเคราะหอ์ งคก์ ร

การวเิ คราะหอ์ งคก์ ร

จดุ แข็ง (Strengths) 1. มีโครงสรา้ งการบริหารงานชัดเจน 2. มสี ถานบรกิ ารสาธารณสุขทุกพืนท่ี (4 มุมเมือง มีผู้รับผิดชอบชดั เจน) 3. มรี ะบบการสอ่ื สารท่ดี ี เช่น มกี ารใช้ HOSxP ในการสง่ ต่อขอ้ มลู และ มีระบบฐานข้อมูลรว่ มกัน 4. โรงพยาบาลผ่านการประเมนิ คณุ ภาพ (HA) 5. บคุ ลากรเพียงพอ 6. มรี ะบบการสง่ ตอ่ ท่ีดี Fast Tract จาก รพ.สต. มา รพศ.ยะลา 7. มงี บประมาณสนับสนุนมาก 8. นโยบายของ สสจ.ยะลา และ เครอื ขา่ ยบรกิ ารสุขภาพอาเภอเมืองยะลา (Contracting Unit for Primary Care : CUP) ชัดเจน

จดุ อ่อน (Weaknesses) 1. บุคลากรขาดขวัญกาลงั ใจในการทางาน 2. การถา่ ยทอดยุทธศาสตร์ยังไม่ถงึ ผู้ปฏบิ ัติ 3. บุคลากรขาดการถอดบทเรียน (KM) และทกั ษะรองรับการพัฒนา ตาม Service plan 4. ตัวชีวดั งาน ANC WBC NCD และทีมเฝ้าระวงั สอบสวนเคลอ่ื นที่เรว็ ระดับอาเภอ ไมผ่ ่านตามเกณฑ์ทีก่ าหนด 5. มแี ผนดาเนนิ งานแต่ไมม่ กี ารประเมนิ ผลอยา่ งต่อเน่อื ง

โอกาส (Opportunities) 1. มนี โยบาย พชอ. Service Plan นโยบายหลักประกันสุขภาพ 2. มจี านวนภาคเี ครอื ข่ายสขุ ภาพมาก 3. การเข้าถึงเทคโนโลยี ความรวดเรว็ ของการสอื่ สาร 4. มีงบประมาณสนับสนนุ หลายแห่ง 5. ผู้สงู อาย/ุ ผู้พิการ ไดร้ ับการดแู ลโดย(ศนู ย์ Day care) โรงพยาบาล, รพ.สต.,เทศบาล,CMU 6. จานวนเด็กคลอดนอ้ ยลง 7. ประชาชนเชื่อฟงั ผู้นาชมุ ชน / ผู้นาทางศาสนา 8. ประชาชนมีรายไดผ้ ่านเกณฑ์ 9. มีหน่วยงานศนู ยอ์ านวยการบริหารงานจังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ในพนื ที่

อปุ สรรค (Threats) 1. สภาพแวดล้อมภมู ิประเทศไมเ่ ออื อานวย 2. สถานการณค์ วามไม่สงบในพืนที่ 3. ความเช่อื ทางวฒั นธรรมในชมุ ชนเฉพาะกลุ่ม (วัคซนี และ การคมุ กาเนดิ ) 4. ผู้นาทางศาสนาบางสว่ นตคี วามเร่ืองสขุ ภาพ แตกต่างกัน

SWOT Matrix SO ST S1,S8 O1 พฒั นาระบบบริหารงานให้ตอบสนองนโยบายดา้ นสุขภาพ S2,S8 T3 พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพให้ครอบคลุมใน S2 O2,O4 สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของภาคเี ครอื ขา่ ย องค์กรภาครัฐ ชุมชน พนื ทีโ่ ดยใช้เทคโนโลยี และภาคเอกชน ในการให้บรกิ ารสาธารณสขุ S1 T3,T5,T6 กาหนดโครงสร้างการบริการสุขภาพโดยมี S2 O3 สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการให้บริการสาธารณสขุ ทกุ พืนที่ ผ้นู าทางศาสนามสี ่วนร่วม S3 O3,O5 พฒั นาระบบสารสนเทศกับระบบบรกิ ารสขุ ภาพชุมชน S2 O2,O7 สร้างการมสี ว่ นร่วมของผู้นาชมุ ชนในการกาหนดทิศทาง สุขภาพของประชาชน S6 O2,O3 พัฒนาศกั ยภาพภาคเี ครือข่ายดา้ นระบบสง่ ต่อ (Fast Tract) S4 O2 พัฒนาเครอื ขา่ ยสขุ ภาพใหไ้ ดม้ าตรฐานคุณภาพบรกิ าร S5 O5 พัฒนาศักยภาพบคุ ลากรในการดูแลสุขภาพประชาชนทกุ กลมุ่ วัย

SWOT Matrix WO WT W1 O1,O9 มีนโยบายสรา้ งขวญั กาลังใจบุคลากรโดยใชห้ ลกั ธรรมาภิบาล W1 T2 เสรมิ สร้างความเข้าใจในการรบั บรกิ าร ANC WBC NCD ใน W2 O1,O2,O3 สง่ เสรมิ นโยบายการถา่ ยทอดยทุ ธศาสตรส์ ู่ผปู้ ฏบิ ตั แิ ละ ชมุ ชนทมี่ ีความเชื่อทางวฒั นธรรม ภาคีเครือข่ายโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ W4,W3 O2,O5,O7 พัฒนาระบบบริการปฐมภมู ใิ หไ้ ดม้ าตรฐานโดยชุมชน มสี ว่ นร่วม

SWOT Analysis O 3.2 4 2.35 3.5 3.45 W 3 S 2.5 2 1.5 1 0.5 0 2.6 T รูปแบบยุทธศาสตรเ์ ชิงรุก SO Strategies “ภายนอกเอือ้ และภายในเดน่ ” สถานการณ์ดาวรุ่ง (Public sector star)

ความสัมพันธ์ SWOT Analysis รวม=S เฉลีย่ = 3.45 SO (จุดแขง็ และโอกาส) 11.04 รวม=S เฉลยี่ = 3.45 รวม=O เฉลี่ย=3.2 8.97 รวม W เฉล่ีย=2.35 ST (จุดแข็งและภยั คุกคาม) 7.52 รวม W เฉลย่ี =2.35 รวม T เฉลี่ย= 2.60 6.11 WO (จุดออ่ นและโอกาส) รวม=O เฉลี่ย=3.2 WT (จดุ อ่อนและภัยคุกคาม) รวม T เฉลยี่ = 2.60

การวเิ คราะหท์ างเลอื กยทุ ธศาสตร์ เกณฑก์ ารพจิ ารณา (คะแนน 1-5) ยุทธศาสตร์ ขนาด ความ ความยาก ความ ผล คะแนน ปัญหา รนุ แรง/ /ง่าย รว่ มมือ กระทบ รวม S1 ส่งเสรมิ การสรา้ งสุขภาพ R w=4 เรง่ ด่วน R W=2 และพฒั นาการมีส่วนร่วมของ R*W ภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ น (SO) 4 16 R W=3 R W= R W= 36 S2 พฒั นาระบบบรกิ ารปฐมภูมิ 5 5 71 ให้ไดม้ าตรฐาน (WO) 3 12 48 S3 เสริมสร้างขวญั กาลงั ใจของ 3 12 3 9 4 20 4 20 36 67 บุคลากร (WO) 28 5 10 62 S4 สง่ เสริมการบรหิ ารจดั การ 4 12 4 20 3 15 62 โดยใช้หลักธรรมาภบิ าล (SO) 3 9 3 15 4 20 3 9 3 15 4 20

บทท่ี 3 แผนยทุ ธศาสตร์

จากการวิเคราะห์ขอ้ มูล พบวา่ ส่งิ ทีจ่ ะส่งเสรมิ ความเข้มแขง็ ของอาเภอเมอื งยะลา คือ เพิม่ ประเด็นส่งเสรมิ การสร้างสขุ ภาพและพัฒนาการมสี ว่ นร่วมของภาคี เครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ น - สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้าน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และ คุ้มครองผบู้ ริโภคเปน็ เลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence) ในแผนงานที่ 1 : การพฒั นาคณุ ภาพ ชีวติ คนไทยทุกกล่มุ วยั (ดา้ นสขุ ภาพ) -สอดคล้องกบั PA สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั ยะลา ปงี บประมาณ 2562 ตามเข็มมุ่ง 4x5=20 ยุทธศาสตร์ PP&P Excellence (5 ประเดน็ 8 kpi) ขอ้ ที่ 1 Smart Mom & Kids

การดาเนนิ การวางแผนยุทธศาสตร์ โดยใช้กระบวนการกล่มุ CBL วิสยั ทัศน์ “ประชาชนสขุ ภาพดี บรกิ ารได้มาตรฐาน ภาคเี ขม้ แข็ง เจา้ หนา้ ที่มีความสุข ยึดหลกั ธรรมาภบิ าล” พันธกิจ 1. สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของภาคีเครือขา่ ยในการแก้ไขปญั หาสาธารณสขุ 2. จัดระบบบริการปฐมภูมิที่ได้มาตรฐาน 3. เสรมิ สรา้ งขวัญกาลงั ใจเจ้าหนา้ ท่ี 4. บรหิ ารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 1. ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดีและมีสว่ นร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคส่วน 2. พฒั นาระบบบรกิ ารปฐมภมู ใิ ห้ไดม้ าตรฐาน 3. เสรมิ สรา้ งขวญั กาลงั ใจของบุคลากร 4. สง่ เสรมิ การบรหิ ารจัดการโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล

การกาหนดประเด็นยทุ ธศาสตร์และเปา้ ประสงค์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ S1 ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มของภาคี G1 ภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการจดั การปญั หา เครือข่ายทกุ ภาคส่วน สขุ ภาพ G2 ประชาชนทุกกลุ่มวยั ได้รับการดูแลสขุ ภาพครอบคลุมทกุ มติ ิ S2 พฒั นาระบบบริการปฐมภูมใิ หไ้ ด้ G1 สถานบริการผ่านการรบั รองคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน มาตรฐาน S3 เสรมิ สรา้ งขวัญกาลังใจของบคุ ลากร G1 บุคลากรมีสมรรถนะที่เหมาะสมในการปฏบิ ัตริ าชการ มี ความพงึ พอใจและมีความสุขในการปฏบิ ตั ิงาน S4 สง่ เสรมิ การบรหิ ารจัดการโดยใชห้ ลกั G1 มีการบรหิ ารจัดการทม่ี ีประสิทธภิ าพ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ธรรมาภบิ าล G2 สถานบรกิ ารผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ITA

การวางแผนงานโครงการตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สง่ เสรมิ การสรา้ งสขุ ภาพและพฒั นาการมีส่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคส่วน เปา้ ประสงคท์ ่ี 1 เครอื ขา่ ยสุขภาพมสี ่วนรว่ มในการจดั การปัญหาสุขภาพ ยทุ ธวธิ ี 1.ขับเคลอ่ื นการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือขา่ ยในการแก้ปัญหาสุขภาพ 2.เยยี่ มเสรมิ พลัง และตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน ตัวชวี ัด ระดับความสาเร็จในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตอาเภอ เป้าประสงคท์ ี่ 2ประชาชนทกุ กล่มุ วยั ได้รับการดแู ลสุขภาพครอบคลมุ ทุกมติ ิ ยทุ ธวธิ ี 1.สร้างเสริมภมู คิ มุ้ กนั ในทุกกลุ่มวยั ตามเกณฑม์ าตรฐาน 2.กาหนดนโยบายและสรา้ งมาตรการป้องกันปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ตวั ชวี ัด 1.ความครอบคลุมการไดร้ บั วัคซีนในเด็กอายคุ รบ 1 และ 5 ปี อยา่ งน้อย รอ้ ยละ 90 (ยกเวน้ MMR อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 95) 2. ร้อยละหญิงต้ังครรภไ์ ดร้ ับการฝากครรภ์ครบ 5 ครงั้ ตามเกณฑ์ มากกวา่ หรือเท่ากบั ร้อยละ 60

G1 เครือขา่ ยสขุ ภาพมีส่วนร่วมในการจัดการปญั หาสุขภาพทส่ี าคัญในพนื ท่ี ช่อื โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค์ ตัวชีวดั กจิ กรรม พัฒนาคุณภาพชีวติ ระดบั 1.เพื่อสร้างกลไกขบั ระดับความสาเรจ็ การ 1.แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ อาเภอ (พชอ.เมอื งยะลา) เคลอื่ นทเ่ี ชอื่ มโยงระบบ ดาเนินงานของ พชอ. ภายใตแ้ นวคดิ บรกิ ารปฐมภมู กิ บั ชมุ ชน คณะกรรมการ พชอ.ตาม 2.สนับสนนุ การมสี ว่ นร่วม “คนยะลาไมท่ อดทิงกัน” และท้องถิน่ อย่างมี ประเดน็ ปัญหาท่สี าคญั ใน ของภาคีเครอื ขา่ ย คุณภาพ พน้ื ท่ี ระดบั 3 ข้ึนไป 2.1 ประชุม วเิ คราะห์ 2.เพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวติ (UCCARE) กาหนดประเด็น ระดับอาเภออย่างมสี ่วน 2.2 จัดทาแผน ร่วม 3.ดาเนินการตามแผน 3.เพอื่ เสริมสรา้ งศกั ยภาพ 4.จดั เวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้ คณะกรรมการ พชอ. และศึกษาดงู าน 5.สรปุ บทเรียนผลการ ดาเนนิ งานตามสภาพ ปญั หาของพน้ื ท่ี

G2 ประชาชนทุกกล่มุ วยั ได้รบั การดแู ลสขุ ภาพครอบคลมุ ทกุ มติ ิ ชือ่ โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ ตัวชีวดั กจิ กรรม โครงการสง่ เสริมการ เพื่อปอ้ งกันการเกดิ ร้อยละ 95 ของ ไดร้ บั วัคซนี พนื ฐาน โรคทีป่ ้องกนั ไดด้ ว้ ย กลุ่มวัยทไ่ี ด้รับ 1) สารวจกล่มุ เป้าหมาย/ฐานขอ้ มลู วัคซนี พ้ืนฐานตาม 2) จัดระบบบริการ วัคซีนพื้นฐาน เกณฑ์ 2.1 ให้บริการเชิงรกุ - สรา้ งความเข้าใจกบั ผูน้ าทางศาสนา - จัดคาราวานสุขภาพลงในพ้ืนทเี่ พ่อื ใหค้ วามรู้และ ให้บรกิ ารวคั ซีน - รณรงคใ์ หค้ วามรู้เรอ่ื งวัคซีนในโรงเรียนสอนศาสนา และผู้ปกครอง - ติดตามกลุ่มเปา้ หมายโดย อสม. 2.2 ใหบ้ รกิ ารเชิงรับ - การเบิกจา่ ยวคั ซนี - การบรหิ ารจัดการระบบลกู โซ่ความเย็น - จัดระบบบรกิ ารให้กลมุ่ เปา้ หมายเขา้ ถึงได้ง่าย 3) ติดตามประเมินผลในทปี่ ระชมุ ประจาเดอื นของ สสอ. ทุกเดือน/CUP/เวทกี ารประชมุ หวั หนา้ สว่ น ราชการ,ผูน้ าชุมชน

G2 ประชาชนทกุ กลุ่มวยั ได้รับการดแู ลสุขภาพครอบคลุมทุกมิติ ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ ตวั ชวี ดั กิจกรรม โครงการสง่ เสริม เพื่อลดอัตราตาย สุขภาพหญิงตงั ครรภ์ ของหญิงตงั้ ครรภ์ 1.อตั ราสว่ นการตายมารดาไม่ 1.สารวจและทาทะเบียนหญงิ วยั เจรญิ พนั ธ์ุ อาเภอเมืองยะลา ขณะคลอด และ เกนิ รอ้ ยละ 17 ตอ่ แสนการเกดิ 2.รณรงคใ์ หม้ กี ารฝากครรภต์ ั้งแตร่ วู้ ่าตงั้ ครรภ์ มารดาหลงั คลอด มชี ีพ กอ่ น 12 สปั ดาห์ 2.ร้อยละการฝากครรภ์ 5 ครั้ง 3.คัดกรองความเส่ยี งหญิงต้ังครรภ์ คุณภาพ 4.พัฒนาคลินิกการให้บริการฝากครรภแ์ ละหอ้ ง 3.รอ้ ยละของหญิงตง้ั ครรภท์ ่ีพบ คลอดให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน ความเสยี่ งไดร้ บั การดแู ล/สง่ ตอ่ / 5.มรี ะบบการสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ระหว่างเอกชนและ พบแพทย์ รอ้ ยละ 100 สถานบรกิ ารของรฐั 4.ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธ์ุ 6.สรา้ งเครือข่ายการติดตามหญงิ ตง้ั ครรภ์และ ท่มี ีโรคทางอายรุ กรรม (ทอ่ี าการ มารดาหลังคลอด ของโรคยงั ไม่สงบ) มกี ารปอ้ งกัน 7.นิเทศติดตามประเมนิ ผล การตง้ั ครรภ์ รอ้ ยละ 100 - ตดิ ตาม นิเทศงาน รพ.สต.ทกุ 3 เดอื น 5.รอ้ ยละของหญิงต้งั ครรภไ์ ดร้ บั - ควบคมุ / ประเมินผลใน คปสอ. การฝากครรภค์ รง้ั แรกก่อน 12 - ใช้ HDC กากบั งานทุกเดอื น สปั ดาห์ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60

บทที่ 4 อภิปรายผล

จดุ เด่นในการดาเนนิ งานของสานกั งานสาธารณสขุ อาเภอเมืองยะลา 1. ผู้นามกี ารติดตามงานอย่างตอ่ เน่อื งทงั แบบเปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ เช่น การใช้ เทคโนโลยี กลมุ่ ไลน์ และ ติดตามผลการดาเนินงานในที่ประชมุ คปสอ.และ ทีป่ ระชมุ สาธารณสุขอาเภออย่เู สมอ 2. มกี ารแบง่ ปันทรพั ยากร เชน่ จดั สรรงบประมาณใหก้ บั รพ.สต. ทกุ แหง่ ๆละ 20,000 บาท เพ่อื ใช้ในการจา้ งพน่ หมอกควันเพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออกในพนื ที่ 3. มกี ารใช้ระบบเย่ยี มบา้ นออนไลน์ ในการส่งตอ่ และ เยีย่ มบ้าน 4. มรี ะบบ fast tract สง่ ตัวผปู้ ่วยจาก รพ.สต. ถึง โรงพยาบาลโดยตรง 5. มแี พทย์ Family Medicine และทีมงานออกตรวจ PCC 4 มุมเมืองและออกตรวจ รพ. สต. เดอื นละ 1 ครงั 6. ทอ้ งถ่ินสนับสนุนงบประมาณในการจดั กิจกรรมดา้ นสาธารณสขุ เช่น Day care สาหรับ ผู้สงู อายุ 7. มีระบบบัญชีสาธารณสุขที่สามารถดูข้อมูลภาพรวมอาเภอไดท้ ันที 8. จานวนของพยาบาลวชิ าชพี ในโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลมีเพียงพอ รวมทังได้ ผ่านการอบรมหลักสูตรเวชปฏิบตั ทิ ่ัวไปครบทุกคน

โอกาสในการพัฒนา 1. การนายุทธศาสตรถ์ ่ายทอดสู่ผปู้ ฏบิ ตั ิ 2. ควรพัฒนาคุณภาพระบบการสง่ ตอ่ ผู้ป่วยกลับโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลให้ รวดเรว็ ขึน 3. เจ้าหน้าท่ีควรได้รบั การพฒั นาศักยภาพการใชเ้ ทคโนโลยีทีท่ นั สมัย

ขอ้ เสนอแนะ 1. ขยายประเดน็ การขับเคลื่อนของคณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (พชอ.) โดยเฉพาะประเด็นงานอนามัยแม่และเด็ก โดยมีกจิ กรรมดงั นี - การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม - ส่งเสริมใหเ้ กดิ ชุมชนตน้ แบบดา้ นอนามยั แม่และเด็ก - พฒั นาชุมชนใหม้ เี วทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ตงั อนกุ รรมการเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นประเดน็ พชอ. งานอนามยั แม่และเด็ก 2. รณรงค์ให้ความร้กู ารใหว้ ัคซนี ในเด็กในโรงเรยี นสอนศาสนา และกาหนด Immunization Day ของอาเภอ เพ่อื ให้เด็กสามารถเข้ารบั วคั ซีนทใี่ ดก็ได้ในอาเภอ เมอื งยะลา 3. ควรส่งเสรมิ ใหม้ กี ารศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือแกไ้ ขปญั หาและดแู ลสขุ ภาพ ประชาชนในพืนที่

สวสั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook