Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน

Published by elizabethpo12, 2022-03-03 18:33:16

Description: แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน

Search

Read the Text Version

Mae Hoi Ngoen TOURISM MARKETING STRATEGY

บทสรุปผู้บริหาร แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน แม่ฮ้อยเงินเป็นตำบลหนึ่ งของ การอบ นวด สมุนไพรซึ่งจะจัดขึ้นบ่อย อำเภอดอยสะเก็ดจังหวัดเชียงใหม่ห่าง ครั้ง ปัจจุบันอยู่ในช่วงพักทำกิจกรรม จากที่ว่าการอำเภอดอยสะเก็ด เนื่ องจากสถานการณ์โควิด-19 และ ประมาณ 13 กิโลเมตร ห่างจากตัว สุดท้ายกิจกรรมปั่ นจักรยานชมวิว เมืองจังหวัดเชียงใหม่ประมาณ 28 ทิวทัศน์ ทุ่งนา ปั่ นชมบรรยากาศสบาย กิโลเมตร ใช้เวลาประมาณ 45 นาที ตา และเย็นสบายช่วงพระอาทิตย์ จำนวนพื้นที่ทั้งหมด 5,600 ไร่ เนื้ อที่ ตกดิน โดยประมาณ 9.00 ตารางกิโลเมตร โดยมีทั้งหมด 6 หมู่บ้านได้แก่ บ้านฮ้อ จากการสำรวจ และศึกษาข้อมูล ยเงินเหนื อ, บ้านแม่ฮ้อยเงินใต้, บ้าน ของกลุ่มเยาวชนของตำบลแม่ฮ้อยเงิน สันทราย, บ้านม่วงโตน, บ้านหนอง พบว่าต้องการที่จะพัฒนาชุมชนให้มี แฝก และบ้านม่วงโตนใต้ พื้นที่ทั้งหมด แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ และส่ง ส่วนใหญ่ ร้อยละ 99.25 ของพื้นที่ เสริมภูมิปัญญาของชุมชนให้เป็นที่รู้จัก ทั้งหมด เป็นที่ราบลุ่ม ที่นา เหมาะ อย่างกว้างขวาง เพื่อที่จะเป็นการสร้าง สำหรับอาชีพเกษตรกรรม ส่วนอีกร้อย รายได้ให้กับประชาชนภายในตำบล ละ 0.75 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นพื้นน้ำ 42 ไร่ และเป็นที่อยู่อาศัย มีความอุดม สมบูรณ์ มีแม่น้ำ ลำคลองไหลผ่าน น้ำ ไม่ท่วมขัง ภายในตำบลแม่ฮ้อยเงินมีแหล่ง ท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นวัด ได้แก่ วัดแม่ ฮ้อยเงิน, วัดหรัญญาวาส, วัดถาวรรังสี และวัดศรีทรายมูล สถาปัตยกรรมเป็น แบบศิลปะล้านนาจุดเด่นคือ มีหน้ าบัน ที่กว้าง ภายในตำบลยังมีกิจกรรมที่น่ า สนใจอีกมากมาย ได้แก่ การทำโคม ล้านนาจากพ่อครู ที่มีความรู้การทำโคม ที่หลากหลายรู ปแบบ 1

แผนที่ตำบลแม่ฮ้อยเงิน แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน หมู่ที่ 1 บ้านฮ้อยเงินเหนื อ วิสัยทัศน์ หมู่ที่ 2 บ้านแม่ฮ้อยเงินใต้ หมู่ที่ 3 บ้านสันทราย ตำบลแม่ฮ้อยเงิน เป็นตำบลที่มีการ หมู่ที่ 4 บ้านม่วงโตน พัฒนาแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่ อง หมู่ที่ 5 บ้านหนองแฝก บนรากฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน หมู่ที่ 6 บ้านม่วงโตนใต้ ตรา และคำขวัญประจำตำบล ประวัติความเป็นมา กระเทียมหอมหัวใหญ่ ผลแตงไทยฉ่ำหวาน งานจักสานท้องถิ่น ชมถิ่นวัดพัฒนา ตำบลแม่ฮ้อยเงินได้สร้างขึ้นบนฝั่ ง แม่น้ำห้วยแม่โป่ง ตรงช่วงนั้ นเรียกกัน ว่าท่าเดื่อด้วยตรงนั้ นมีต้นเดื่อขึ้นอยู่บน ทางท่าน้ำนั้ นเป็นจำนวนมากและเข้าใจ ว่าคงจะมีผู้คนยกย้ายเข้ามาอยู่บนที่ข้าง น้ำต้นเดื่อนี้ ระหว่างปีพ.ศ. 2306 – 2312 ซึ่งเป็นช่วงที่ทางการพม่า ปกครองเชียงใหม่อยู่ในเวลานั้ นภายใน ตำบลแม่ฮ้อยเงินมีแม่น้ำไหลผ่านสอง สาย คือ สายหน้ าวัด และหลังวัด ตรง กลางเป็นที่เนิ นสูงสร้างเป็นวัดท่าเดื่อ มีเรื่องเล่าว่า มีพระยาเมืองได้ เลี้ยงช้าง และปล่อยช้างออกมาหากินเรื่อย จนได้ ไปกินพืชผลขอชาวบ้านๆ ก็พากันล้อม จับช้าง แล้วเรียกร้อง ค่าเสียหายเป็น เงิน พระยาเมืองได้เอา \"เงินฮ้อย\" จ่าย เป็นค่าเสียหาย ตั้งแต่นั้ นมาก็เรียกว่า \"แม่ฮ้อยเงิน\" เป็นต้นมา 2

ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน เนื้อที่ การเดินทาง ประมาณ 9.00 ตารางกิโลเมตร การสั ญจรไปมาสะดวกเป็นเขต หรือ ประมาณ 5,625 ไร่ ติดต่อถนนสายหลัก บ่อสร้าง- ดอยสะเก็ด สภาพการคมนาคมโดย อาณาเขต ทั่วไปอยู่ในสภาพดีสภาพการ คมนาคมระหว่าหมู่บ้านต่างๆ ของ ทิศเหนื อติดกับ ตําบลป่าป้อง , ตําบลส่ วนใหญ่เป็นถนน ตําบลแม่โป่ง อําเภอดอยสะเก็ด คอนกรีตเสริมเหล็ก ถนนลาดยาง ทิศใต้ติดกับ ตําบลตลาดใหญ่ และถนนหินคลุก มีรถโดยสาร อําเภอดอยสะเก็ด , ตําบลแม่ปูคา ประจำทางผ่าน 1 สาย อําเภอสั นกําแพง ทิศตะวันออกติดกับ ตําบลห้วย ทราย อําเภอสันกําแพง ทิศตะวันตกติดกับ ตําบลสง่าบ้าน , ตําบลตลาดใหญ่ อําเภอดอย สะเก็ด ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ทั้งหมดส่วนใหญ่ (ร้อยละ 99.25 ของพื้นที่ทั้งหมด) เป็นที่ราบ ลุ่ม ที่นา เหมาะสำหรับอาชีพ เกษตรกรรม เป็นพื้นน้ำ 42 ไร่ (ร้อยละ 0.75 ของพื้นที่ทั้งหมด) และเป็นที่อยู่อาศัย มีความอุดม สมบูรณ์ มีแม่น้ำ ลำคลองไหลผ่าน น้ำไม่ท่วมขัง 3

แหล่งท่องเที่ยว แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน วัดหิรัญญาวาส ทั้งนี้ ก็เพื่อให้ตรงกับชื่อของหมู่บ้าน คือ แม่ฮ้อยเงินเหนื อ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนื อ วัดหิรัญญาวาส เดิมเป็นวัดร้าง เพราะ ของบ้านแม่ฮ้อยเงินเดิม บ้านแม่ฮ้อยเงิน จากคำบอกเล่าผู้เฒ่าผู้แก่ คนสูงอายุ เดิมที่เป็นที่เลี้ยงช้างของเจ้าผู้ครองนคร ประจำหมู่บ้านบอกเล่าสืบต่อๆ กันมา ว่า ลำพูน ซึ่งได้มาติดต่อขอซื้อที่ดินของชาว ได้มี ครูบาญาณะ ซึ่งไม่มีใครทราบว่า บ้านบริเวณนี้ ซึ่งเป็นป่าละเมาะเพื่อที่จะ ท่านมาจากไหน ท่านได้ก่อตั้งวัดขึ้นเมื่อปี เอาไว้เลี้ยงช้าง ในราคาเงินหนึ่ งฮ้อย จึง พ.ศ. 2440 และตั้งชื่อวัดว่า “ ต้นโชค เรียกชื่อ วัดแม่ฮ้อยเงินเหนื อ ตั้งแต่นั้ น ทรายมูล ” เพราะตั้งตามต้นไม้โชคที่ขึ้น มาต่อมาได้มีการพัฒนาขึ้นตามลำดับ บริเวณที่ตั้งวัด ซึ่งการก่อตั้งวัดครั้งแรก เหตุที่ได้นามว่า “วัดหิรัญญาวาส” ๆ นั้ นคงมีสิ่ งก่อสร้างคือ กุฏิสงฆ์เล็ก ๆ ในปี 2491 ทางคณะสงฆ์คือ พระครู เพียงแค่หลังเดียวเท่านั้ น ต่อมากาลเวลา รัตนปัญญาญาณ (เจ้าคุณโพธิรังษี) วัด ได้ผ่านพ้นไป ครูบาญาณะ อายุได้ 76 เชตุพน เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่สมัย พรรษา ได้มรณภาพลง ต่อมา ครูบาสิทธิ นั้ น มาตรวจการคณะสงฆ์อำเภอ ก็ได้เป็นเจ้าอาวาสต่อจาก ครูบาณาณะ ดอยสะเก็ดจึงเปลี่ยนชื่อ “ วัดแม่ฮ้อย และก็ได้สร้างพระวิหารสร้างขึ้นเมื่อ ปี เงินเหนื อ ” เป็น วัดหิรัญญาวาส มาน พ.ศ. 2519 กุฏิสงฆ์หลังใหม่ และศาลา ถึงทุกวันนี้ และได้รับพะราชทาน บาตร นอกจากนี้ ครูบาสิทธิได้เปลี่ยนชื่อ วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. วัดเสียใหม่ จากชื่อเดิม “ วัดต้นโชค 2512 แลมีพัฒนาจนเจริญรุ่งเรืองตาม ทรายมูล ”เปลี่ยนเป็น “ วัดแม่ฮ้อยเงิน ลำดับมาจนถึงปัจจุบัน เหนื อ ” 4

แหล่งท่องเที่ยว แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน วัดแม่ฮ้อยเงิน “วัดแม่ฮ้อยเงิน”ตามที่มีผู้เล่าสื บต่อกัน มา ว่าได้สร้างขึ้นมาบนฝั่ งแม่น้ำห้วยแม่ ได้รับการแต่งตั้ง (หลักฐานหาย) และ โป่ง ตรงช่วงที่เรียกกันว่าท่าเดื่อด้วยมี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา (หลัก ต้นเดื่อขึ้นอยู่บนทางท่าน้ำนั้ น และ ฐานหาย) มีเอกสารที่ดินเป็นโฉนดเลข เข้าใจว่าคงจะมีผู้คนยกย้ายเข้ามาอยู่บน ที่ 22850 เล่มที่ 229 ออก ณ วันที่ 16 ที่น้ำข้างต้นเดื่อนี้ ระหว่างปี พ.ศ. 2306 ตุลาคม 2533 มีเนื้ อที่ประมาณ 6 ไร่ 3 –2312 ซึ่งเป็นช่วงที่ทางการพม่า งาน 33 ตารางวา ปกครองเชียงใหม่ อยู่ในเวลานั้ นกำลัง เริ่มมีการเปลี่ยนแปลง กฎเกณฑ์ เป็นวัดที่มีอายุเก่าแก่กว่าวัดอื่นๆ ใน วัฒนธรรมต่างๆ แบบล้านนา ให้เป็น ตำบลนี้ ประวัติการสร้างนั้ น ไม่มีลาย แบบพม่าด้วยกำลังฮึกเหิมที่ สามารถ ลักษณ์อักษรจารึกไว้ หรือมีหลักฐาน ถล่มทำลายกรุงศรีอยุธยาลงได้ใหม่ๆ อื่นใดที่พอจะสื บทราบได้ว่ามีการ เมื่อ พ.ศ. 2310 นั้ นก็เลยถือโอกาสคิด ก่อสร้างขึ้นเมื่อใด แต่ตามที่สันนิ ษฐาน บัญชีที่ตกค้างกับผู้คนชาวล้านนาที่ตก ดูแล้วลักษณะสถาปัตยกรรมละม้าย อยู่ใต้การปกครองของพม่ามาตั้งแต่ คล้าย ไปทางศิลปะพม่าเป็นส่วนใหญ่ ปีพ.ศ. 2101 แต่ทางกรุงอังวะพึ่งมารู้สึก และเพิ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ตัวว่าที่แท้ก็ได้แต่แผ่นดิน หาได้จิตใจ ไปเป็นแบบไทยล้านนาประยุค และยัง ผู้คนชาวล้านนาด้วยไม่ ด้วยยังมีการ สร้างเป็นแบบศิ ลปะแบบพม่าอยู่ในช่วง แบ่งแยกเรียกขานกันว่า “เป็นคนม่าน หลังๆ มาเมื่อ พ.ศ. 2395 อีกก็คือองค์ (พม่า)” กับ “คนเมือง” อยู่ตลอดเวลา พระธาตุที่ยังมีอิทธิพลของพม่า หลง กว่า 200 ปีที่ผ่านไปนั้ นดังนั้ นทางกรุง เหลือมาปรากฏให้เห็นอยู่ถึงทุกวันนี้ อังวะจึงได้จัดขุนพลผู้เคร่งประเพณี คือ และที่แล้วๆมาก็เป็นการก่อสร้าง โป่มะยุง่วน หรือ ชาวพื้นเมืองเรียกว่า เอกลักษณ์แบบเดิมมาให้มีการต่อเนื่ อง โป่หัวขาว ด้วยที่มักจะใช้ผ้าสีขาวโพกหัว มาจนถึงที่สุด โดยเท่าที่ทราบสืบมา อยู่ตลอดเวลาเข้ามาเมื่อปี พ.ศ. 2312เมื่อ แม้แต่นายช่างที่ก่อสร้างก็ยังเป็นเชื้อ โป่มะยุง่วนเข้ามาสู่ เมืองแม่ของชาวล้าน สายทางพม่าอยู่จนถึงปีพ.ศ. 2467 แล้ว นาคือเมืองเชียงใหม่แล้ว จึงค่อยๆ มาเป็นนายช่างชาวพื้นเมือง และก็เป็นการเริ่มเปลี่ยนแปลงของเก่า ให้หมดสิ้ นไปด้วยตนเอง 5

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน ก็เริ่มตั้งกฎระเบียบการปกครองต่างๆ ประวัติก่อนที่เป็น “วัดแม่ฮ้อยเงิน” นั้ น ให้ชาวพื้นเมืองทำตาม เช่น ให้ชายชาว ในหมู่บ้านมีแม่น้ำไหลผ่านสองสายคือ พื้นเมืองทุกคนสั กขาด้วยหมึกสี ดำ สายหน้ าวัด และหลังวัด ตรงกลางเป็น เหมือนกับชายชาวม่าน (พม่า) กระทำ ที่เนิ นสูงสร้างเป็นวัดท่าเดื่อ มีเรื่องเล่า กัน ส่วนผู้หญิงก็ให้ขวากรูหูให้ใหญ่ใส่ ว่ามีพระยาเมืองได้เลี้ยงช้างและปล่อย ตุ้มหูสอดแบบหญิงชาวพม่าเหมือนกัน ช้างออกกินมาเรื่อยๆ จนไปกินพืชผล หมดตั้งแต่รุ่นสาวขึ้นไปถึงแก่ วัดวา ของชาวบ้านๆ ก็พากันล้อมจับช้าง แล้ว อารามทั้งสร้างเก่าใหม่ก็ให้นำรูปหงส์ เรียกร้องค่าเสียหาเป็นเงิน พระยาเมือง ซึ่งเป็นสั ญญาลักษณ์ ของกรุ งอังวะ ก็ได้เอา “เงินฮ้อย” จ่ายเป็นค่าเสียหาย ผู้คนส่วนหนึ่ งมุ่งมาสู่บ้านท่าเดื่อแห่งนี้ ตั้งแต่นั้ นมาก็เรียกว่าแม่ฮ้อยเงิน (วัด พร้อมกับสร้างกุฏิหลังน้ อย (คงจะ แม่ฮ้อยเงิน) เป็นต้นมา และสืบทอดกัน เป็นการก่อสร้างที่ใช้ไม้ที่มีอยู่ตาม มาถึงปัจจุบัน ละแวกนั้ น) เพื่อถวายและมอบให้พี่น้ อง ชาวบ้านท่าเดื่อ ได้บำเพ็ญกุศลด้วย สถานะที่อันพอจะเรียกได้เต็มปากว่า “เป็นวัด” (ด้วยมีพระประธานองค์ใหญ่ ที่ผู้ใจบุญกลุ่มนั้ นออกทุนปั้ นให้พร้อม กับสร้างอุโบสถ์มุงหลังคาคุมแดดคุม ฝนได้ดีกว่าแต่ก่อนๆ มา) และเรียกว่า “วัดท่าเดื่อ” นั บแต่นั้ นมา 6

แหล่งท่องเที่ยว แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน วัดศรีทรายมูล ในปี 2481 ทางคณะสงฆ์คือพระครูรัตน ปัญญาญาณ(เจ้าคุณโพธิรังษี) วัดเชตุพน เริ่มแรกนั้ นศรัทธาสาธุชน ในสมัยก่อนได้ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่สมัยนั้ น มา เดินทางไปทำบุญที่วัดแม่ฮ้อยเงินซึ่งเป็นวัด ตรวจการคณะสงฆ์อำเภอดอยสะเก็ดตาม ที่ตั้งอยู่ก่อนเดิม ครั้นต่อมาหมู่บ้าน วัดต่าง ๆพิจารณาเห็นว่าวัดต่าง ๆ ใน สันทรายแห่งนี้ ได้มีประชาชนมาอาศัยอยู่ อำเภอดอยสะเก็ดสมควรเปลี่ยนชื่อเสี ย จำนวนมากขึ้น เห็นสมควรว่าควรสร้างวัด ใหม่ จึงเปลี่ยนชื่อจากเดิม “ วัด ประจำหมู่บ้านขึ้นเพื่อที่จะสะดวกต่อการ สันทรายมูลทุ่งล้อม ” เป็น “วัดศรี เดินทางโดยไม่ต้องเดินทางไปทำบุญที่วัด ทรายมูล ”และได้รับพระราชทาน แม่ฮ้อยเงิน ซึ่งระยะทางอยู่ไกลไม่สะดวก วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. ในการเดินทางจึงทำเรื่องยื่นหนั งสือต่อ 2512 กว้าง 30 เมตร ยาว 40 เมตรวัดศรี เจ้าคณะตำบลและเจ้าคณะอำเภอ ทรายมูลได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ องจน ดอยสะเก็ด ตามลำดับ และยื่นต่อ เจริญรุ่งเรืองในบวรพระพุทธศาสนา มา ศึกษาธิการอำเภอดอยสะเก็ด ในสมัยนั้ น จนถึงทุกวันนี้ เพื่อขออนุญาตตั้งวัดขึ้นมาใหม่เมื่อได้รับ อนุญาตให้สร้างวัดแล้ว ได้มีการสำรวจ บริเวณสถานที่สร้างวัดก็พบว่าบริเวณเนิ น ทรายเป็นสถานที่กว้างจึงเห็นพ้องกันว่าจะ สร้างวัดขึ้นบริเวณเนิ นทรายนั้ นเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๐และได้ตั้งชื่อวัดขึ้นชื่อว่า“วัด สันทรายมูลทุ่งล้อม”เพราะที่ตั้งวัดเป็นเนิ น ทราย และ มีทุ่งนาล้อมรอบ จากนั้ นได้ นิ มนต์พระภิกษุสงฆ์จากวัดแม่ฮ้อยเงิน มา จำพรรษา 1 รูปพร้อมกับนำ พระพุทธรูป มาด้วย 1 องค์ เพื่อให้ชาวบ้านบูชากราบ ไหว้ 7

แหล่งท่องเที่ยว แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน วัดถาวรรังษี (วัดม่วงโตน) ตามหลักธรรมดานิ สัยของคนผู้นั บถือ พระพุทธศาสนาไปไหนก็มีศาสนาติดตาม เดิมที่บ้านม่วงโตนแห่งนี้ เคยเป็นป่ารก ไปด้วย เมื่อพ่อเฒ่าสุข แม่มูลมาอยู่ในป่า มีป่าไม้สั กขึ้นมากมายตั้งแต่เทือกเขาบ้าน นานมา จึงพบวัดร้างแห่งหนึ่ ง จึงดีใจอยาก สันเข้าแคบกลาง ถึงบ้านแม่จ้อง แต่ จะสร้างเป็นวัดถาวรขึ้น วัดนี้ ไม่ปรากฏขึ้น เทือกเขาด้านเหนื อบ้านป่าไผ่ แม่โป่ง จด มีรากฐานอิฐเรี่ยราด มีรูปฐานกว้างเพียง สันกำแพง มีสัตว์ใหญ่ขนาดเสือโคร่งก็ 6 ศอก ยาว 8 ศอก เป็นรูปวิหาร ก็พอดี อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เพราะเป็นป่ารก เวลานั้ นมีพระเดินทางป่ามาจากเมืองพะเยา เต็มไปด้วยป่าไม้ไผ่และเคลือเถาวัลย์ 2 รูปคือ พระสุรินท์ กับพระมูล และได้มา นานาชนิ ด จึงมีสัตว์อาศัยอยู่มากมายทาง ร่วมกับพ่อเฒ่าสุขสร้างวัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. เดินผ่านป่านี้ ต้องเสียเวลาพักนอนกลาง 2343 และได้สร้างกุฏิเล็กกับกลองบูชาไว้ ทางหลายคืน เพราะทางคดเคี้ยวเลี้ยวไป ปรากฏจนทุกวันนี้ ตามป่าใหญ่ มูลเหตุที่ได้นามว่า \"วัดม่วงโตน\" และ คนที่มาตั้งบ้านม่วงโตนทีแรก คือ พ่อ บ้านม่วงโตน เนื่ องจากวัดถาวรรังสีเดิมชื่อ เฒ่าสุข แม่มูล บ้านแม่ก๊ะใต้ ต.ตลาดใหญ่ ว่า “วัดม่วงโตน” ตามชื่อบ้านเหตุที่ได้นาม มาตั้งรากฐานทำไร่ใส่ สวนอยู่ด้านใต้วัด ว่า “ม่วงโตน” เพราะมีต้นมะม่วงโตนใหญ่ ประมาณ 150 วา ต่อมาก็มีผู้มาอาศัยอยู่ อยู่ต้นหนึ่ ง มีขนาดใหญ่หลายคนโอบ จาก เรื่อยๆ ประมาณ 7 หลังคาเรือน แล้วก็ โคนถึงค่าคบ 10 กว่าเมตรมีกิ่งใหญ่ 2 - 4 เจริญขึ้นเป็นลำดับ ตลอดป่าก็ถูกแผ้วถาง ด้านละ 10 กว่าเมตร มีผสมหลายรส กิ่ง เป็นไร่นาโดยเชื้อพระวงศ์ ของเจ้านคร หนึ่ งก็มีรสหลาย รสชาติไม่เหมือนกัน ต้น เชียงใหม่เป็นผู้จัดขายให้ราษฎร ป่าไม้ เดิมอยู่ตรงประตูวัดด้านตะวันตก (ใกล้ๆ เลยถูกล้มเป็นที่นาราบโล่งเตียน และที่ กับเจดีย์ปัจจุบัน) เหตุที่ไม้ตายเพราะถูกไฟ ว่างเกินประโยชน์ ทำนารายได้ข้าวปีหนึ่ ง เผาเนื่ องจากมีนกเค้าแยกอาศัยอยู่มาก ประมาณหลายล้านถัง เต็มไปด้วยบ้าน เนื่ องจากข้างในต้นไม้เป็นโพลง พระเณร ผู้คนจนแทบหาที่อยู่ไม่ได้ เพราะการ เบื่อเสียงนก จึงได้เอาไฟเผาให้นกหนี ทำให้ วิวัฒนาการของโลกปัจจุบันนี้ เกิดมีวัดขึ้น ไฟไหม้ต้นมะม่วงหมด 8

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน จึงไม่เหลือหลักฐานให้เราเห็นในปัจจุบัน คำขวัญประจำวัด จากการสอบถามปรากฏว่าต้นมะม่วงนี้ ถูก ปลูกขึ้นเพื่อหมายทางเดินของช้างเจ้าผู้ วัดสวยงามตา องค์พระปฏิมางามเลิศ ครองนครเชียงใหม่สมัยก่อน และทางช้าง ถิ่นกำเนิ ดเจ้าคุณสิงห์ ยิ่งด้วยวัฒนธรรมประเพณี เดินก็มีปรากฏอยู่บางแห่งในปัจจุบันนี้ เหตุ ที่ได้นามว่า “วัดถาวรรังษี” เพราะในปี ศีลธรรมนำประชา ศรัทธาสามัคคี 4 หมู่บ้าน 2481 ทางคณะสงฆ์คือ พระครูรัตนปัญญา เรื่องลือนาม \"ถาวรรังษี\" ดุจดัง \"รัศมีแห่งความ ญาณ (เจ้าคุณโพธิรังษี)เจ้าคณะจังหวัด เชียงใหม่สมัยนั้ น มาตรวจการคณะสงฆ์ได้ มั่นคง\" เห็นวัดนี้ สะอาดเรียบร้อยดี เป็นหนึ่ งใน อำเภอดอยสะเก็ด และมั่นคงถาวรดี เห็นจะ เจริญต่อไปในวันข้างหน้ า จึงเปลี่ยนชื่อวัด ม่วงโตน (ไม้ม่วงใหญ่ต้นเดียว) เป็นวัด ถาวรรังสี แปลว่า(รัศมีแห่งความมั่นคง) วัด นี้ ตั้งอยู่ในเขตติดต่อระหว่างอำเภอ สันกำแพงและดอยสะเก็ด คือ จาก อ.ดอยสะเก็ดมาถึงราว 9 กม. จากอำเภอ สันกำแพงมาถึงราว 6 กม. นั บว่าสถานที่ แห่งนี้ ถึงความเจริญตามลำดับ 9

กิจกรรมท่องเที่ยว แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน ปั่นจักรยานริมทุ่งนา โคมล้านนา 10

กิจกรรมการเกษตร แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน การทำนา การทำปุ๋ย 11

กิจกรรมท่องเที่ยว แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน การนวดสมุนไพร ผลิตภัณฑ์จากไม้ 12

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน การวิเคราะห์ SWOT Analysis จุดแข็ง จุดอ่อน ภายในชุมชนมีผลิตภัณฑ์สินค้าที่โดดเด่น เช่น ชุมชนยังไม่เป็นที่รู้จักในวงกว้าง การทำโคม การทำปุ๋ยจากผักตบชวาและมูลวัว มีสถานที่ท่องเที่ยวภายในชุมชนน้ อย ผลิตภัณฑ์จากไม้ ขาดการประชาสั มพันธ์ที่ไม่ทั่วถึง ภายในชุมชนมีพื้นที่ในการทำการเกษตร ภายในชุมชนมีผลิตภัณฑ์สิ นค้าที่โดดเด่น จำนวนมาก แต่ไม่ได้มีการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ มีสถานที่ท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี เป็นส่ วนมาก อุปสรรค โอกาส ชุมชนมีความห่างไกลจากตัวเมือง เข้าถึงได้ ลำบาก มีความช่วยเหลือจากโครงการ 1 ตำบล 1 เกิดสถานการณ์ การระบาดของไวรัสโควิด มหาวิทยาลัย (U2T) ในการพัฒนาตำบล ทำให้ 19 ทำให้กิจกรรมทางการท่องเที่ยวและ เกิดอาชีพเสริมแก่คนในชุมชน จำนวนนั กท่องเที่ยวลดน้ อยลง ในช่วงฤดูฝน ทำให้ชุมชนมีกิจกรรมต่างๆ เช่น ในช่วงฤดูร้อนไม่มีกิจกรรมทางการท่อง การปลูกข้าว การปั่ นจักรยานชมพระอาทิตย์ เที่ยวที่เกี่ยวกับการเกษตร ขึ้นและพระอาทิตย์ตกดิน สภาพเศรษฐกิจที่ซบเซา แนวโน้มตลาดทางการท่องเที่ยว ปี 2565 พฤติกรรมนั กท่องเที่ยวยุคใหม่ที่เปลี่ยนไปสู่วิถีใหม่ (New Normal) มากขึ้น ทำให้มองเห็นเทรนด์ ที่น่ าขับเคลื่อนอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในปีนี้ ซึ่งถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ และสามารถนำไปใช้วางเป้า หมายเพื่อให้ทิศทางการทำงานชัดเจนยิ่งขึ้น ข้อมูลการตลาดเกี่ยวกับพฤติกรรมนั กท่องเที่ยวยุคใหม่ นั้ น ททท. ได้เสนอ Tourism Trends that will Shake Up 2022 and Beyond 7 แนวโน้ มท่องเที่ยวที่น่ า สนใจ ได้แก่ 1.) The Grand Reunion – ออกเดินทางเพื่อกลับมาเจอกัน 2.) Sincerely Green – แบรนด์ต้องตั้งใจจริงกับความยั่งยืน 3.) Welcome to the Metaverse – โอกาสในโลกเสมือนจริง 4.) Innovation for a Betterment – นวัตกรรมที่เปลี่ยนให้โลกน่ าอยู่ 5.) Crypto Tripo – เที่ยวด้ายคริปโต 6.) Workationer – งานได้ เที่ยวดี 7.) Collab not Combat - ร่วมคิด ร่วมขาย 13

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน 14

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน แผนพัฒนาตำบล แม่ฮ้อยเงิน จุดประสงค์ กลยุทธ์ เพื่อสร้างรายได้ให้กับคนชุมชน ส่ งเสริมการประกอบอาชีพของคนในชุมชน เพื่อทำให้ชุมชนเป็นที่รู้จัก โปรโมทและประชาสั มพันธ์เกี่ยวกับการท่อง เพื่อดึงดูดนั กท่องเที่ยวให้เข้ามาในชุมชน เที่ยวและสิ นค้าผลิตภัณฑ์ของตำบล เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการท่องเที่ยว ส่ งเสริมการตลาดพัฒนาการผลิตสิ นค้าและ ภายในชุมชน พัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นให้มีคุณภาพมาตรา เพื่ออนุรักษ์ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น ฐาน ภายในชุมชน เสริมสร้างการอนุรักษ์ประเพณี และวัฒนธรรม เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแปรรูปได้ ของชุมชนการทำโคม โดยการที่เวลาที่นั กท่อง รับรองมาตารฐาน เที่ยวมาเยี่ยมชมชุมชน จะมีการสาธิต การทำ โคม และจะให้นั กท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการทำ ด้วย ส่วนของที่ระลึกจะเป็นโคมจิ๋วที่สามารถนำ ไปเป็นของฝาก เสริมสร้างด้านการเกษตร เช่น การปลูกข้าว และ การทำปุ๋ย โดยการที่เวลาที่นั กท่องเที่ยวมา เยี่ยมชมชุมชน จะมีการสาธิตการดำนาปลูกข้าว การทำปุ๋ยจากผักตบชวากับมูลสัตว์(วัว) และให้ นั กท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการทำด้วย พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ เช่น วัดต่างๆภายในชุมชน จัดทำกิจกรรมการท่องเที่ยวในชุมชน การปั่ น จักรยานชมนาชมพระอาทิตย์ขึ้นและ พระอาทิตย์ตก ในเส้นทางตำบลแม่ฮ้อยเงิน 15

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน กลยุทธ์ ผลิตภัณฑ์ ปุ๋ยออร์แกนิค โคม ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยจากผักตบชวากับมูลสั ตว์(วัว) ผลิตภัณฑ์โคม ชื่อว่า ปุ๋ยออร์แกนิ ค ชื่อว่า โคมล้านนา ปริมาณ 5 10 20 กิโลกรัม ราคา 25 49 95 แบบกระดาษ ราคาเริ่มต้นที่ 20 บาท บาท ตามลำดับ แบบผ้า ราคาเริ่มต้น 35 บาท จำหน่ ายสินค้าผลิตภัณฑ์ทั้งช่องทาง จำหน่ ายสินค้าผลิตภัณฑ์ทั้งช่องทางออนไลน์ ออนไลน์ และออฟไลน์ เช่น Shopee และออฟไลน์ เช่น Shopee Lazada Lazada เพจFacebook ส่งออกโดยรถ เพจFacebook ขายปลีก - ส่ง ขนส่งไปที่ร้านจัดจำหน่ ายพ่อค้าคนกลาง มีการจัดแสดงสิ นค้าและออกบูธตามงานต่างๆ ทั่วจังหวัดเชียงใหม่ ฝากจำหน่ ายร้าน การเกษตร 16

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน เทศกาล และประเพณี การประดิษฐ์โคมล้านนาในชุมชนแม่ฮ้อ ยเงินที่ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่ รุ่น ซึ่งชาวบ้านมักจะนำโคมที่ได้ทำแล้วไป ใช้ในงานประเพณี วันเพ็ญเดือนสิ บสอง (ยี่เป็ง) หรืองานลอยกระทงของไทย โดยเล็งเห็นว่าโคมล้านนาถือเป็นสิ่ งที่มี ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ มีความ สวยงามและประณีต มีรูปแบบที่หลาก หลาย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน รูปแบบอื่นๆได้ การทำโคมดังกล่าวเพื่อส่ งเสริมให้ คนในชุมชนมีรายได้แก่ตนเองและ ครอบครัว สามารถทำเป็นอาชีพหลัก หรืออาชีพเสริมได้ เพราะมีการลงทุนที่ ไม่มาก แต่มีผลตอบแทนสูง และยังมี การส่ งออกผลิตภัณฑ์ไปยังชุมชนและ จังหวัดอื่นๆ อย่างแพร่หลาย 17

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน แนวทางการ ประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมายหลัก เจน Y อายุระหว่าง 24-35 ปี คนเจนนี้ จะ ให้ความสำคัญกับการเรียนรู้วัฒนธรรมท้อง ถิ่น ชอบกิจกรรมกลางแจ้ง ชอบออกเดิน ทางไปในสถานที่ที่ ‘ไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก’ ผู้ที่มีพฤติกรรมที่ชื่นชอบท่องเที่ยวในพื้นที่ แหล่งชุมชน วัฒนธรรมและธรรมชาติ กลุ่มเป้าหมายรอง นั กท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาวิถีชีวิต เป็นการเดินทางโดยมี วัตถุประสงค์ หลักเพื่อการเรียนรู้และศึกษาการดําเนิ น ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในท้องถิ่นต่างๆ ที่แตกต่างไปจาก ท้องถิ่นของตน ใน ขณะเดียวกันก็ถือโอกาสท่องเที่ยวไปใน ที่นั้ นๆ ด้วย 18

แผนการตลาดตำบลแม่ฮ้อยเงิน อ้างอิง พ่อสอน แม่ อำไพ ชัยแก่น. ความรู้เกี่ยวกับโคม (19/02/65) Rabbit P. (2021) แผนที่ตำบลแม่ฮ้อยเงิน[ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : https://www.google.com/maps Tong Nutthakhorn. รูปภาพจากพี่ U2T (24/02/2022) (28/02/2022) TOP CHIANGMAI. ตำบลแม่ฮ้อยเงิน [ระบบออนไลน์ ]. Rabbit P. (2021) แผนที่ท่องเที่ยวแม่ฮ้อยเงินเส้นทางปั่ น แหล่งที่มา : https://www.topchiangmai.com/ จักรยาน[ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : (28/02/2022) https://www.google.com/maps (28/02/2022) มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. (2014) วัดถาวรรังสี [ระบบ แผนที่ท่องเที่ยวแม่ฮ้อยเงิน[ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : ออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : http://www.templethailand.org/ https://www.canva.com/ (28/02/2022) (28/02/2022) รูปภาพต่างๆในแม่ฮ้อยเงิน[ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. (2014) วัดศรีทรายมูล [ระบบ https://drive.google.com/ (28/02/2022) ออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : http://www.templethailand.org/ (28/02/2022) Editor. (2017) Gen ไหน ? เที่ยวแบบไหน ? [ระบบ ออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : https://marketeeronline.co/ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. (2017) วัดแม่ฮ้อยเงิน [ระบบ (03/03/2022) ออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : http://www.templethailand.org/ (28/02/2022) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมนั กท่องเที่ยว (Basic of tourist) [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. (2017) วัดหิรัญญาวาส [ระบบ http://61.7.151.244/moodle/pluginfile.php/34974/mod ออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : http://www.templethailand.org/ _resource/content/ (03/03/2022) (28/02/2022) ผู้จัดการออนไลน์ . (2022) 7 เทรนด์ท่องเที่ยวมาแรง ปี เทศบาลตำบลแม่ฮ้อยเงิน. ประวัติความเป็นมา/ข้อมูลพื้น 2565 [ระบบออนไลน์ ]. ฐาน [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : https://mgronline.com/ (28/02/2022) แหล่งที่มา : http://www.maehoingoen.go.th/ (28/02/2022) 19

สมาชิก นางสาววชิรญาณ์ จงเจริญ 62541303022-6 นายสุรวิศิษฏ์ ตุ้ยหน้ อย 62541303033-3 นางสาวชนั ดดา ไกรวิชัย 62541303041-6 นางสาวรุ่งทิวา จันตาเงิน 62541303068-9 นางสาวสู่ขวัญ แตงเลี่ยน 62541303069-7 นางสาวนิ รชา พิทักษ์เจริญวงศ์ 62541303080-4

ก ร ะ เ ที ย ม ห อ ม หั ว ใ ห ญ่ ผ ล แ ต ง ไ ท ย ฉ่ำ ห ว า น ง า น จั ก ส า น ท้ อ ง ถิ่น ช ม ถิ่น วั ด พั ฒ น า ตำ บ ล แ ม่ ฮ้ อ ย เ งิ น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook