Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ของโรงเรียนบ้านทุ่งโพ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ของโรงเรียนบ้านทุ่งโพ

Published by นายมนตรี นาคีย์, 2023-08-07 07:39:15

Description: แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) ของโรงเรียนบ้านทุ่งโพ

Search

Read the Text Version



ข คำนำ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ได้จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) เพ่ือเป็นเครื่องมือในการกากับทิศทางการปฏิบัติของโรงเรียน โดยน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาใน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และสืบสานพระราชปณิธานในหลวงรัชกาลท่ี 9 ดา้ นการศึกษามาใช้เป็นกรอบการดาเนินงาน เพื่อสร้างผลผลติ ผลลัพธ์ใหเ้ กิดกับผู้เรียนได้อยา่ งมีความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2579) นโยบายสาคัญของกระทรวงศึกษาธิการ สานักคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ซ่ึงได้ ระบุวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ประเด็นนโยบาย ประเด็นเป้าประสงค์ ประเด็นกลยุทธ์ ตัวชี้วัด จึงได้จัดทา แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) ขน้ึ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ ขอขอบคุณคณะทางานทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) ของโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ จนสาเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี ขอให้ ผู้เกี่ยวช้องได้พิจารณานาแผนพัฒนาการศึกษาไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการบริหารการศึกษา และหวังเป็น อย่างย่ิงว่าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาใหด้ ียงิ่ ขึน้ ตอ่ ไป โรงเรยี นบา้ นทุง่ โพธ์ิ 2566

สำรบญั ค ส่วนที่ 1 ข้อมูลพนื้ ฐำนโรงเรยี นบ้ำนทงุ่ โพธิ์ หน้ำ ข้อมูลพน้ื ฐานโรงเรยี นบ้านท่งุ โพธ์ิ 1 ภารกจิ อานาจหนา้ ที่ของโรงเรียนบา้ นทุง่ โพธิ์ 1 ขอ้ มลู พื้นฐานทางการศึกษา 3 ผลการดาเนนิ งานที่ผ่านมา 5 7 สว่ นที่ 2 กฎหมำยและนโยบำยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 16 ศาสตร์พระราชา 16 พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาในหลวงรชั กาลที่ 10 19 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 20 ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) 21 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 26 แผนการปฏิรูปประเทศ 27 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 – 3 (พ.ศ.2565 – 2569) 28 นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติ พ.ศ.2562 – 2565 32 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2560 – 2579) 33 แผนปฏิบตั ริ าชการของกระทรวงศึกษาธกิ าร (ระยะ 5 ปี พ.ศ.2566 – 2570) 38 จดุ เนน้ การขับเคล่ือนนโยบายสานกั คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2566 – 2570) ของสานักงานคณะกรรมการ 40 การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 42 แผนยทุ ธศาสตรส์ านักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดสกลนคร ปี พ.ศ.2566 – 2570 45 นโยบายสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 47 63 สว่ นท่ี 3 ทิศทำงกำรพัฒนำกำรศึกษำโรงเรยี นบ้ำนทุง่ โพธิ์ 63 วิสยั ทัศน์ (Vision) พันธกจิ (Mission) เปา้ ประสงค์ (Goals)

อัตลกั ษณ์ ง เอกลักษณ์ ผลผลติ 63 นโยบายโรงเรยี นบ้านทงุ่ โพธ์ิ 33 กลยทุ ธใ์ นการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ประจาปี พ.ศ.2566 – 2570 63 กลยุทธ,์ ค่าเปา้ หมาย โรงเรยี นบา้ นทงุ่ โพธ์ิ 64 ส่วนที่ 4 กำรวเิ ครำะหส์ ภำพแวดล้อมองคก์ ร 64 64 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมองค์กร 76 สว่ นท่ี 5 กลไกกำรขับเคลื่อนแผนพฒั นำกำรศึกษำสกู่ ำรปฏบิ ตั ิ 86 86 แนวทางการบริหารแผนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 86 เงอื่ นไขสูค่ วามสาเร็จ 86 ภำคผนวก 88

จ สำรบญั ตำรำง ตำรำง 1 แสดงอาคารเรยี น และอาคารประกอบ (ข้อมูล 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2565) ตำรำง 2 แสดงจานวนนกั เรียน ห้องเรยี น (ข้อมลู 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2565) ตำรำง 3 แสดงจานวนผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา แยกตามวฒุ ิทางการศึกษา ตำรำง 4 แสดงผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์และจติ ใจ สังคม และสติปัญญา ของเดก็ ปฐมวัย ปีการศึกษา 2565 (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 เมษายน 2566) ตำรำง 5 ขอ้ มลู ผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน(Reading Test : RT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 30 เมษายน 2566) ตำรำง 6 แสดงข้อมูลพัฒนาผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน (ReadingTest : RT) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 – 2565 (ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 เมษายน 2566) ตำรำง 7 แสดงข้อมลู ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น (National Test : NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565 (ข้อมูล ณวนั ท่ี 30 เมษายน 2566) ตำรำง 8 แสดงผลการเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพของผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563- 2565 ระดบั โรงเรยี น (ข้อมูล ณ วันท่ี 30 เมษายน 2566) ตำรำง 9 แสดงข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา2565 ตำรำง 10 แสดงข้อมลู พัฒนาการผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 – 2565 ตำรำง 11 แสดงขอ้ มลู ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา2565 ตำรำง 12 แสดงข้อมลู พัฒนาการ ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 – 2565 ตำรำง 13 ร้อยละของผสู้ าเรจ็ การศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 ตำรำงท่ี 14 แสดงความเชื่อมโยงเป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ ตำรำงที่ 15 สรปุ ผลการวเิ คราะหส์ ถานภาพของสภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP) แตล่ ะประเด็นตัวช้วี ัด ตำรำงท่ี 16 สรปุ ผลการวิเคราะห์สถานภาพของสภาพแวดลอ้ มภายใน (2S4M) แต่ละประเดน็ ตวั ช้วี ดั

๑ สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐำน สภาพทวั่ ไปของสถานศึกษา 1)ช่อื สถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นทุง่ โพธ์ิ ตง้ั อยเู่ ลขที่ 188 หมู่ 9 ตาบล หนองสนม อาเภอวานรนวิ าส จงั หวดั สกลนคร รหัสไปรษณีย์ 47120 โทรศพั ท0์ 85-7453169 e-mail : [email protected] facebook :https://www.facebook.com/Thungpho1 website : https://data.bopp-obec.info/web/home.php?School_ID=1047540278 2. ประวตั ิโดยย่อ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ ตั้งข้ึนเมื่อวันท่ี 22 กันยายน พ.ศ. 2472 โดยนายโลน เผ่าวงศ์ษา เป็นครูใหญ่คนแรก สิบตรีสอน ปานประเสริฐ เป็นสารวัตรศึกษา นายสา บุตรสา เป็นผู้ใหญ่บ้าน จัดโรงเรียนข้ึน โดย อาศยั ศาลาวดั เป็นทีเ่ รียน ตัง้ ช่อื ว่า “โรงเรียนวัดทุ่งโพธ์ิ” พ.ศ. 2497 ย้ายจากศาลาวัดมาสรา้ งโรงเรียนในบริเวณสถานที่แห่งใหม่ซึง่ จบั จองไว้ จานวน 63 ไร่ 79 ตารางวา อาคารเรียนท่ีสร้างข้ึนใหม่ได้รับงบประมาณจากทางราชการ จานวน 30,000 บาท ชาวบ้านได้ จัดหาไม้และวัสดุในการก่อสร้างเพิ่มเติม เงินเดือนของครูได้รับจากเงินจัดการประถมศึกษา เปิดเรียน 6 วัน ตอ่ สัปดาห์ หยุดแฉพาะวนั พระ เวลาเรียนตงั้ แต่ 09.00 - 15.00 น. พ.ศ. 2500 โรงเรียนได้เปล่ียนวนั หยุดจากวันพระ เปน็ วันเสาร์และอาทิตย์ เปดิ เรียนเร่มิ แรกมีนักเรยี น จานวน 5 คน สอนจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และได้ขยายจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 ต่อมาในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2517 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ ป. 1 ซ. ขนาด 3 ห้องเรียน รวมมีอาคารเรียน จานวน 2 หลัง 5 ห้องเรียน วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2520 อาคารเรียนหลังแรกถูกวาตภัยเสียหายมาก ไม่สามารถที่จะซ่อมแซมให้ใช้การได้ ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ ป.1 ฉ. พิเศษ ทดแทนหลังเดิม จานวน 3 ห้องเรียน งบประมาณ 250,000 บาท จึงมีอาคารเรี ยน เปน็ 2 หลัง 6 ห้องเรียน วันท่ี 16 มกราคม พ.ศ. 2527 ไดด้ าเนินการสรา้ งซมุ้ ประตูโรงเรียน ใช้งบประมาณ 3,000 บาท และ เสาธงเหล็ก งบประมาณ 4,550 บาท จากเงินบารุงการศึกษาของโรงเรียน วันท่ี 6 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ชาวบ้านและคณะครูได้บริจาคเงิน จานวน 3,079 บาท เพื่อจัดซ้ืออุปกรณ์ต่อไฟฟ้าเข้าโรงเรียน และได้รับ งบประมาณ จานวน 27,000 บาท เพื่อต่อระบบไฟฟา้ เข้าบา้ นพกั ครูและอาคารเรยี น วันท่ี 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 ได้รับงบประมาณจากทางราชการ จานวน 200,000 บาท สร้างอาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช. 202/2526 จานวน 1 หลัง และได้ยกระดับตาแหน่งผู้บริหารโรงเรียน จากครูใหญ่เป็นอาจารย์ใหญ่ ในวันที่ 1 ตุลาคม ในปีเดียวกัน วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2532 ได้รับงบประมาณ ก่อสร้าง ถังน้าซีเมนต์ แบบ ฝ.33 จานวน 1 ชุด งบประมาณ 45,000 บาท ในปีต่อมาได้รับเพิ่มเติมอีก 1 ชุด เป็นแบบ ฝ.30 พเิ ศษ เปน็ เงิน 65,000 บาท วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2537 ได้รับงบประมาณจากสถานีประมงน้าจืด จังหวัดสกลนคร ขุดบ่อเลี้ยงปลา ตามโครงการประมงในเขตล้าหลัง ขนาด 1 ไร่ งบประมาณ 150,000 บาท และได้กันพ้ืนท่ี บริเวณโรงเรยี นด้านทิศใต้ จานวน 6 ไร่ 3 งาน เปน็ ท่ีก่อสร้างสถานีอนามัยบ้านทุ่งโพธ์ิ และได้ขออนุญาตใช้ไปยัง สานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ ตามลาดบั วันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2537 ได้รับผ้าป่าการศึกษา เพ่ือนาเงินมาก่อสร้างห้องสมุดให้กับโรงเรียน จานวน 100,000 บาท ตอ่ มาได้จัดเปน็ สหกรณ์ร้านคา้ ในโรงเรียน

๒ ปีการศึกษา 2537 ได้ขยายการศึกษาเพิ่มข้ึนอีกหน่ึงระดับ คือระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ของสานักงานคณ ะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ตามคาสง่ั ท่ี 636/2537 ปีงบประมาณ 2539 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม แบบ สปช. 105/2529 จานวน 1 หลัง 4 ห้องเรียน งบประมาณ 168,400 บาท และได้รับงบประมาณต่อเติมช้ันล่างอีก จานวน 2 ห้องเรียน ในปงี บประมาณ 2542 ปีงบประมาณ 2540 ได้สร้างสนามบาสเกตบอล จานวน 1 แห่ง งบประมาณ 128,000 บาท โรงเรยี นได้เขา้ สโู่ รงเรยี นในโครงการปฏริ ปู การศกึ ษาในปนี ้ี ปีงบประมาณ 2541 ได้รับงบประมาณซ่อมแซมไฟฟ้าเนื่องจากใช้การมานาน จานวน 65,400 บาท ซ่อมแซมอาคารเรียนแบบ ป.1ฉ พิเศษ ปละ ป.1 ซ จานวน 58,000 บาท ได้รับงบประมาณก่อสร้างส้วม แบบ สปช. 601/2526 จานวน 1 หลัง 4 ที่ งบประมาณ 124,000 บาท รั้วโรงเรียน จานวน 150 เมตร เป็นเงนิ 55,000 บาท นบั ว่าเป็นปที รี่ บั งบประมาณมากท่ีสุด ปีงบประมาณ 2542 ได้รับงบประมาณ ติดต้ังประปา จานวน 20,000 บาท ถังนา้ ซีเมนต์แบบ ฝ.30 พิเศษ ตามโครงการกระตุน้ เศรษฐกิจ จานวน 1 ชุด ราคา 98,000 บาท 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ได้รับอนุมัติให้เลื่อนตาแหน่งผู้บริหารโรงเรียนจากอาจารย์ใหญ่ เปน็ ผู้อานวยการโรงเรียน ปีการศึกษา 2546 โรงเรียนได้เปลี่ยนมาใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เป็นปีแรก ได้ดาเนินการสอนในช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ได้รับงบประมาณ จากสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสกลนคร สร้างอาคารเรียนแบบ สปช.102/2526 จานวน 1 หลัง 3 ห้องเรยี น งบประมาณ 695,070 บาท วันท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 เปลี่ยนสังกัดเป็นสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และ มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีการปรับโครงสร้างภาระงาน จาก 6 งาน เหลือ 4 งาน คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานบคุ คล การบรหิ ารงานการเงินและพสั ดุ และการบริหารงานทั่วไป วันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 คณะศิษย์เก่า นาผ้าป่าการศึกษามาให้โรงเรียน เพ่ือปูกระเบื้อง พื้นห้องเรยี น สมทบสร้างร้ัวดา้ นหน้าโรงเรยี น เป็นเงิน 70,000 บาท ปกี ารศกึ ษา 2548 ได้รับคอมพิวเตอรจ์ ากองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดสกลนคร จานวน 2 เครือ่ ง ปกี ารศึกษา 2549 ได้รับคอมพิวเตอรจ์ ากองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั สกลนครอีก จานวน 2 เครือ่ ง ปีการศึกษา 2553 ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2553 ได้รับจัดสรรคอมพิวเตอร์ cl10 จานวน 10 เครื่อง และโรงเรียนได้ปรับปรุงจาก ทีม่ ีคอมพวิ เตอรอ์ ย่เู ดิมมารวมจัดทาเป็นห้องคอมพิวเตอร์ รวมมีคอมพิวเตอร์ในหอ้ ง จานวนรวม ทงั้ สิ้น 20 เครอ่ื ง ปีการศึกษา 2553 ไดใ้ ช้หลกั สูตรสถานศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 10 เมษายน พ.ศ. 2554 ได้ยกอาคารเรียน แบบ ป.1 ซ ให้สูงข้ึน เนื่องจากใต้ถุนอาคารเรียนน้าท่วม ขัง โดยใช้งบประมาณของโรงเรียน และใชเ้ งนิ บรจิ าคจากชุมชน รวมเปน็ เงนิ 120,000 บาท ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนรับบริจาคเคร่ืองคอมพิวเตอร์ จากโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง จานวน 15 ชดุ

๓ ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนได้ยกอาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช.202/2526 เน่ืองจากตั้งอยู่ในที่ต่า มีน้าขังในหน้าฝน เลื่อนถอยออกไปด้านหลัง จานวน 3 เมตร ใช้งบประมาณจากศิษย์เก่า จานวน 50,000 บาท จากนั้นได้ทาการต่อเติมใหม้ ีพื้นท่ีมากขนึ้ เพ่ือรองรับในการจัดกิจกรรม จัดทาเป็นหอประชมุ ยกเวทีขึ้น มุงหลังคา และปูพืน้ กระเบอ้ื งใช้งบประมาณทง้ั สนิ้ 120,000 บาท ปีงบประมาณ 2558 โรงเรียนได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ ป.1ฉ พิเศษ เปล่ียนหลังคาสังกะสี เปล่ียนประตูหน้าต่างและฝา จานวน 180,000 บาท อาคาร แบบ ป.1ซ เปล่ียนหลังคา สังกะสี เปล่ียนประตูหน้าต่างและฝา จานวน 200,000 บาท ได้รับงบประมาณก่อสร้างส้วม แบบ สพฐ.4 จานวน 1 หลัง 4 ที่ งบประมาณทั้งสิ้น 275,000 บาท งบประมาณจัดซื้อครุภัณฑ์โรงเรียนดีศรีตาบล จานวน 200,000 บาท คณะครูบริจาคเพื่อจัดทาที่จอดรถ จานวน 30,000 บาท ทาที่จอดรถให้กับนักเรียน จานวน 15,000 บาท ต่อเติมหอประชุมอกี จานวน 50,000 บาท จากการบรจิ าคเงินของชุมชน ในปนี ้ี ได้มอบหมายให้ นายเสรี กุลอัก ครูศิลปะของโรงเรยี น ออกแบบตราสญั ลักษณ์ของโรงเรียน นาเสนอทปี่ ระชุมเพื่อทาการปรบั ปรุงแก้ไข จนได้เป็นตราสญั ลักษณจ์ นถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2559 โรงเรยี นไดร้ ับงบประมาณสรา้ งสนามกีฬา แบบ ฟ.1 งบประมาณ 800,000 บาท และได้ ทาการปรับปรุงต่อเติมใต้ถุนอาคารเรียน แบบ ป.1ซ เพื่อจัดทาเป็นห้องสมุดโรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และห้อง ธุรการโรงเรียน นอกจากนั้นยังได้รับบริจาคเคร่ืองกรองน้าจากบริษัทกรุงเทพประกันภัย จานวน 1 ชุด ราคา 80,000 บาท และได้จัดทาสนามตะกร้อจานวน 1 สนาม เพ่ือใช้รองรับแข่งขันกีฬา ใช้งบประมาณ 30,000 บาทจากการบริจาคเน่อื งในวนั เด็กแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 โรงเรียนได้ทาเรื่องจาหน่ายอาคารเรียน จานวน 2 หลัง คือ อาคารแบบ ป.1ซ และอาคารแบบ ป.1ฉ พิเศษ เม่ือจาหน่ายแล้วทาให้เกิดความขาดแคลน และได้รับการจัดสรรงบประมาณอาคาร เรียนแบบ สปช.102/2526 ในปีเดียวกัน ได้รับมอบรถตู้ จานวน 1 คัน จากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 บ้านทุ่งโพธ์ิ หมู่ที่ 9 ได้ทาการก่อสร้างถนนคอนกรีตให้กับโรงเรียน ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 80 เมตร งบประมาณทง้ั ส้ิน 250,000 บาท พ.ศ. 2561 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากทางราชการให้ก่อสร้างถนนคอนกรีต ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 120 เมตร งบประมาณ 307,900 บาท และได้ทาการกก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.102/2526 งบประมาณ 1,180,000 บาท พ.ศ. 2562 โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างบ้านพักครู จานวน 1 หลัง งบประมาณ 540,000 บาท ปัจจุบันโรงเรียนได้ทาการเปิดสอน 3 ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา ช้ันอนุบาลปีที่ 1 - 3 ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 รวม 12 ห้องเรียน จัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และหลักสูตรสถานศึกษา พทุ ธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง 2565) 3. สภำพและลกั ษณะชุมชน ชุมชนท่ีอยู่ในเขตบริการของโรงเรียน ประกอบด้วย 3 หมู่บ้าน คือ บ้านทุ่งโพธ์ิ หมู่ท่ี 9 บ้านทุ่งโพธ์ิ หมทู่ ี่ 17 และบา้ นโนนสวรรค์ หมทู่ ่ี 16 สภาพโดยทั่วไป เป็นชุมชนที่อยู่ในชนบทอยู่ห่างจากตัวเมือง การคมนาคมค่อนข้างลาบาก ประชากร มีอาชีพในการทาเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่การทานา เพาะปลูก ซ่ึงจะทาได้เฉพาะหน้าฝน ส่วนหน้าแล้ง ชาวบ้านส่วนใหญ่จะพากันเข้าไปหางานทาในกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่มักจะปล่อยให้ลูกหลานอยู่กับคนแก่ รายได้ของ ประชากรอยู่ในระดับต่าเกือบเป็นลาดับสุดท้ายของตาบลหนองสนม สภาพวัฒนธรรมแบบชนบท

๔ ยังมีให้เห็น การให้ความร่วมมือด้านแรงงานอยู่ในระดับดี แต่ด้านปัจจัยสนับสนุนด้านอ่ืนยังมีน้อยมาก ภาษาที่ใช้ กนั ในชมุ ชนคอื ภาษาถน่ิ (อสี าน) ศาสนาทีน่ ับถือคอื ศาสนาพุทธ มปี ระชากรแยกตามหมบู่ ้านในเขตบริการดังน้ี บ้านทุ่งโพธ์ิ หมู่ท่ี 9 จานวนครัวเรือน 175 ครอบครัว จานวนประชากร 810 คน เป็นชาย 427 คน เป็นหญงิ 383 คน โดยมี นายวรสิทธ์ิ พรมพนิ ิจ เป็นผู้ใหญ่บ้าน บา้ นทงุ่ โพธิ์ หมู่ท่ี 17 จานวนครวั เรือน 138 ครอบครวั จานวนประชากร 553 คน เปน็ ชาย 275 คน เป็นหญงิ 278 คน โดยมี นายภธู เนตร น้อยม่นั เป็นผใู้ หญบ่ า้ น บ้านโนนสวรรค์ หมู่ท่ี 16 จานวนครวั เรอื น 92 ครอบครัว จานวนประชากร 458 คน เป็นชาย 225 คน เป็นหญิง 233 คน โดยมี นายน่มิ นวลมณี แสงคา เปน็ ผใู้ หญ่บา้ น อำณำเขต ทศิ เหนอื ตดิ กบั บ้านนาคอย ทิศตะวันออก ตดิ กบั บา้ นก่อ ทิศใต้ ติดกับบ้านโนนสวรรค์ ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั บ้านโนนชนะสงั คม ขนบธรรมเนยี มประเพณี เนื่องจากประชากรนับถือศาสนาพุทธ ขนบธรรมเนียมประเพณีจึงเป็นเร่ืองราวเกี่ยวกับพุทธศาสนา ผสมกับลัทธิความเช่ือเก่ียวกับภูตผีปีศาจ วิญญาณบรรพบุรุษอย่างกลมกลืนโดยจะมี กิจกรรมตลอดทั้งปี ซึ่งภาษาถ่ินเรียกว่า ฮีต 12 ครอง 14 โดยประชากรในหมู่บ้านจะเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมหรือขนบธรรมเนียม ดังกล่าวตามโอกาส เช่นประเพณีเล้ียงผีประเพณีผูกแขนสู่ขวัญ ประเพณีแห่นางแมว แห่นางด้ง ประเพณีสาคัญ ทางพ ระพุทธศาสนา เป็นต้น ป ระเพณี บางอย่างได้ถูกยกเลิกและเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา และการเปลีย่ นแปลงของสงั คมโลกในยุคโลกาภิวฒั น์ จะมีใหเ้ หน็ บา้ งในบางโอกาสเทา่ นนั้

๕ แผนผังโรงเรยี นบ้ำนทุ่งโพธิ์ แผนท่ีและระยะทางจากสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ถึงโรงเรียนบา้ นทุ่งโพธ์ิ

6 อาคารเรยี นและอาคารประกอบ ตาราง 1 แสดงอาคารเรียน และอาคารประกอบ (ขอ้ มูล 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2565) ลำดบั รายการ จานวน อำคำรเรียน 1 หลัง 1 อาคารเรียนแบบ สปช105/29. 2 หลัง 2 อาคารเรียนแบบ สปช102/26. ห้องเรยี น/ห้องพเิ ศษ 3 หลัง 1 ห้องเรยี นระดับก่อนประถม 6 หลงั 2 ห้องเรยี นประถมศึกษา 3 หลงั 3 หอ้ งเรียนระดับมัธยม 1 หลงั 4 หอ้ งวิทยาศาสตร์ 1 หลงั 5 หอ้ งภาษาตา่ งประเทศ 1 หลงั 6 ห้องคณิตศาสตร์ 1 หลงั 7 หอ้ งสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 หลงั 8 ห้องดนตรี 1 หลงั 9 ห้องคอมพิวเตอร์ 1 หลงั 10 ห้องสมุด 1 หลงั 11 หอ้ งประชมุ ร่มโพธเิ์ งิน 1 หลัง 12 หอ้ งสุขศึกษา อำคำรประกอบ 1 หลงั 1 อาคารอเนกประสงค์ หอประชุม 1 หลงั 2 บ้านพักครู 4 หลงั 3 ส้วม ภารกิจอานาจหนา้ ทีข่ องโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธ์ิ 1. จดั ทานโยบายแผนพัฒนาการศกึ ษาดา้ นวิชาการ บุคคล งบประมาณ บริหารทวั่ ไป 2. จดั ตงั้ /รับผดิ ชอบการใช้จา่ ยงบประมาณ 3. พัฒนาหลกั สูตร/จัดการเรียนการสอน 4. ออกระเบยี บ ขอ้ บังคับ ประกาศ แนวปฏบิ ัติ 5. กากบั ตดิ ตามประเมนิ ผลตามแผนงานโครงการ 6. ระดมทรัพยากร ปกครอง ดแู ลบารุงรกั ษาทรัพย์สนิ ฯ 7. จดั ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 8. ส่งเสรมิ ความเข้มแข็งชุมชน วามสัมพนั ธส์ รา้ งค 9. ปฏิบัติหนา้ ทอี่ นื่ เกีย่ วกับกิจการภายในโรงเรยี นท่มี ไิ ด้ระบุเป็นหนา้ ทีข่ องหน่วยงาน หรือปฏิบตั งิ านอืน่ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

7 โครงสร้างการบริหารจัดการศกึ ษา

8

9

ขอ้ มูลพืน้ ฐานทางการศึกษา 10 ตาราง 2 แสดงจานวนนักเรียน ห้องเรยี น (ขอ้ มูล 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2565) รวม ชัน้ ท้งั หมด 21 ชาย หญงิ 22 อนุบาล 1 14 7 15 อนุบาล 2 15 7 58 อนุบาล 3 78 15 รวมอนบุ าล 36 22 15 ประถมศึกษาปีท่ี 1 10 5 26 ประถมศึกษาปีท่ี 2 69 33 ประถมศึกษาปีที่ 3 12 14 20 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 20 13 22 ประถมศึกษาปีที่ 5 9 11 131 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 12 10 22 รวมประถม 69 62 21 มัธยมศึกษาปีท่ี 1 13 9 25 มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 11 10 68 มัธยมศึกษาปที ี่ 3 14 11 257 รวมมัธยม 38 30 รวมทัง้ หมด 143 114

11 ตาราง 3 แสดงจานวนผู้บรหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา แยกตามวุฒทิ างการศกึ ษา ที่ ชอื่ -สกลุ ตาแหนง่ วทิ ยฐานะ เลขที่ วฒุ ิ วิชาเอก ตาแหน่ง การศกึ ษา 1 นายสัญญา วัฒนาเนตร ผอ.ร.ร. ชานาญการพเิ ศษ 3963 2 นางสุนนั ทา ก้อนแพง 5385 ศษ.ม บริหารการศึกษา 3 นางคาไพ ฮาบสุวรรณ ครู ค.ศ.3 ชานาญการพิเศษ 207 กศ.บ. ประถมศกึ ษา 4 นางอรสิ า ธรุ ะนนท์ 3964 ค.บ. เกษตรศาสตร์ 5 น.ส.ผ่องพรรณ เจินธรรม ครู ค.ศ.3 ชานาญการพิเศษ 7977 ค.ม บริหารการศกึ ษา 6 น.ส.สุปาณี ผากงคา 3971 ศษ.ม บริหารการศึกษา 7 น.ส.ปฏมิ าพร ไตรธเิ ลน ครู ค.ศ.3 ชานาญการพเิ ศษ 3966 ค.บ. คณิตศาสตร์ 8 น.ส.ณัฐภรณ์ สมั ฤทธ์ิ 3969 ค.บ. ภาษาไทย 9 น.ส.นา้ ฝน พรมภา ครู ค.ศ.3 ชานาญการพิเศษ 3968 ค.บ. วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป 10 น.ส.ศริ ินนั ท์ คาภนู อก 7533 ค.บ. คณติ ศาสตร์ 11 น.ส.ศริ นิ ภา นาหว้ ย ครู ค.ศ.2 ชานาญการ 7507 ค.บ. ภาษาอังกฤษ 12 น.ส.วนิดา สบิ เมีย่ ง 3967 ค.บ. การศกึ ษาปฐมวยั 13 น.ส.วรรณภิ า โยธี ครู คศ.1 - 3029 ค.บ. การศึกษาปฐมวยั 14 นายมนตรี นาคยี ์ 695 ค.บ. การศึกษาปฐมวยั 15 น.ส.สวุ นนั ท์ พรหมแสง ครูผู้ช่วย - 3970 ค.บ. นวตั กรรมและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา 16 นายชญา เพง็ โมดา 4011 ค.บ. ภาษาไทย 17 นายเจษฎาบดนิ ทร์ ฤทธิ์มหา ครู ค.ศ.1 - ค.บ. พลศกึ ษา 18 น.ส.สายใจ ศรีนวล - ศษ.ม บริหารการศกึ ษา 19 นายสมสนุก แก้วอุ่นเรือน ครู ค.ศ.1 - - บธ.บ. บรหิ ารธุรกจิ - ม.3 ครู ค.ศ.1 - ครู ค.ศ.1 - ครู ค.ศ.1 - ครู ค.ศ.1 - ครผู ูช้ ่วย - ครูผชู้ ่วย - พนักงาน - ธุรการ - นักการ -

12 ผลการดาเนินงานทีผ่ ่านมา 1. ด้านคุณภาพการศึกษา การประเมนิ พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณแ์ ละจิตใจสงั คม และสตปิ ัญญา ตาราง 4 แสดงผลการประเมินพัฒนาการดา้ นร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสตปิ ัญญาของเด็กปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2565 (ขอ้ มลู วนั ที่ ณ 30 เมษายน 2566) รำยกำร จำนวนนกั เรียนทผ่ี ่ำนเกณฑ์กำรประเมนิ พฒั นำกำร จำนวนนักเรยี นตำมเกณตม์ ำตรฐำน ร้อยละ รา่ งกาย 14 93.33 อารมณ์และจติ ใจ 14 93.33 สงั คม 14 93.33 สตปิ ัญญา 13 86.66 จากตาราง 4 การประเมินพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์และจิตใจสังคม แและสติปัญญาของเดก็ ปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2565 ในระดบั ชั้นอนบุ าล 3 ตาราง 5 ข้อมลู ผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test : RT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2566) ควำมสำมำรถ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ระดบั โรงเรยี น ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ กำรอ่ำนออกเสียง 92.85 77.24 77.38 กำรอำ่ นรู้เร่ือง 94.85 77.19 77.19 รวม 2 ด้ำน 93.85 77.22 77.28 ตาราง 6 แสดงข้อมูลพฒั นาผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของผูเ้ รียน (Reading Test : RT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 – 2565 (ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 เมษายน 2566) ควำมสำมำรถ ปกี ำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ รอ้ ยละของผลต่ำง 2563 2564 2565 ระหวำ่ งปกี ำรศึกษำ กำรอ่ำนออกเสียง 89.91 96.85 92.85 -4.00 กำรอำ่ นร้เู รือ่ ง 85.30 88.00 94.85 +6.85 รวม 2 ด้ำน 87.60 92.42 93.85 +1.43

13 ตาราง 7 แสดงขอ้ มูลผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (National Test : NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2565 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2566) ควำมสำมำรถ คะแนนเฉล่ียร้อยละ ระดบั โรงเรียน ระดับ สพฐ. ระดบั ประเทศ ด้านคณิตศาสตร์ 62.28 48.81 49.12 ดา้ นภาษาไทย 58.38 55.33 55.86 รวมควำมสำมำรถทง้ั 2 ด้ำน 60.33 52.07 52.50 ตาราง 8 แสดงผลการเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คณุ ภาพของผู้เรยี น (National Test : NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 - 2565 ระดบั โรงเรยี น (ขอ้ มลู ณ วันที่ 30 เมษายน 2566) ควำมสำมำรถ ปีกำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ ร้อยละของผลตำ่ ง 2563 2564 2565 ระหวำ่ งปีกำรศึกษำ ดา้ นคณติ ศาสตร์ 43.11 45.33 62.28 +16.95 ดา้ นภาษาไทย 37.61 46.86 58.38 +11.52 รวมควำมสำมำรถทัง้ 2 ดำ้ น 40.36 46.09 60.33 +14.24 ตาราง 9 แสดงขอ้ มูลผลการทดสอบระดับชาติ O - NET ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2565 รำยวิชำ คะแนนเฉล่ยี ระดบั โรงเรยี น ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 57.69 52.80 53.89 คณิตศาสตร์ 37.69 26.52 28.06 วิทยาศาสตร์ 41.25 37.90 39.34 ภาษาองั กฤษ 34.06 33.57 37.62 ตาราง 10 แสดงข้อมูลพัฒนาการผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 – 2565 คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ รำยวิชำ ปีกำรศึกษำ ปีกำรศกึ ษำ ปีกำรศกึ ษำ ระดับ ระดับ ระดบั 2563 2564 2565 จังหวัด65 ประเทศ65 เขตพื้นที่ 53.89 65 28.06 39.34 ภาษาไทย 53.61 49.55 57.69 49.65 52.50 37.62 คณิตศาสตร์ 31.46 36.22 37.69 24.09 26.16 วิทยาศาสตร์ 38.79 33.33 41.25 35.26 37.35 ภาษาอังกฤษ 36.67 32.59 34.06 31.22 33.14

14 ตาราง 11 แสดงขอ้ มลู ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2565 รำยวชิ ำ ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ระดับประเทศ ระดับ สพฐ. ภาษาไทย 54.37 53.91 52.95 คณิตศาสตร์ 22.33 24.66 24.39 วทิ ยาศาสตร์ 32.64 33.67 33.32 ภาษาองั กฤษ 24.06 31.75 32.05 ตาราง 12 แสดงขอ้ มูลพฒั นาการผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 – 2565 รำยวิชำ ปกี ำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ระดับ ระดบั 2563 2564 ปกี ำรศกึ ษำ ระดบั จงั หวัด65 ประเทศ65 ภาษาไทย 66.60 43.62 51.62 52.95 คณิตศาสตร์ 18.89 19.75 2565 เขตพืน้ ท6ี่ 5 วทิ ยาศาสตร์ 30.14 29.99 54.37 45.96 23.25 24.39 ภาษาอังกฤษ 27.36 27.63 22.33 20.79 32.64 30.23 32.77 33.32 24.06 25.69 29.61 32.05 ตำรำง 13 ร้อยละของผู้สำเรจ็ กำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ 2565 ระดบั ช้ัน จำนวนนักเรียน (คน) รวม คิดเปน็ รอ้ ยละ ชำย หญงิ 22 ประถมศึกษำปีท่ี 6 12 10 25 100 มธั ยมศึกษำปีที่ 3 14 11 47 100 26 21 100 รวม 2. ดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา ประชากรวัยเรียนในเขตพ้ืนทบี่ รกิ ารได้รับสิทธแิ ละโอกาสอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกนั ในการศกึ ษา 2.1 ปีการศึกษา 2565 ประชากรวัยเรียนในเขตบริการ จานวนทั้งหมด 15 คน เข้าเรียน ในช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 15 คน 2.2 ปีการศึกษา 2565 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่เรียนจบหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จานวน ทั้งหมด 22 คน เรียนจบภายในระยะเวลาที่กาหนด จานวน 22 คน คิดเป็น ร้อยละ 100

15 2.3 ปีการศกึ ษา 2565 นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ทเี่ รยี นจบหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 จานวนทง้ั หมด 25 คน เรียนจบภายในระยะเวลาทกี่ าหนด จานวน 25 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 2.4 ปีการศึกษา 2565 นักเรียนที่จบช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 22 คน เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา ปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรยี นบา้ นทงุ่ โพธ์ิ จานวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 86.36 2.5 ปีการศึกษา 2565 นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 25 คน เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทยี บเทา่ จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.6 นักเรียนออกกลางคนั รายละเอยี ด ดังนี้ ปีการศึกษา 2565 นักเรียนระดับชั้น ป.1 - ป.6 ต้นปี มีจานวน 131 คน ออกกลางคัน จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 ปีการศึกษา 2565 นักเรียนระดับช้ัน ม.1 - ม.3 ต้นปี มีจานวน 68 คน ออกกลางคัน จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.94 3. ดา้ นครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ได้รับรางวัลจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน รางวลั ระดบั ภาค ระดบั จังหวัด และระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา ดังน้ี ท่ี ช่อื กิจกรรมที่ได้รับรำงวัล ระดบั รำงวัล หน่วยงำนท่จี ดั 1 รำงวลั นักเรียน ระดบั ภำค บริษทั เอ็ดดูพลอยส์ เกมแอนด์ทอย จำกัด 1.ไดร้ ับรำงวัล อันดับที่ 1 คอร์สเวิร์ดเกม ระดับชำติ เกมตอ่ ศพั ท์ภำษำองั กฤษ รุ่นประถมศึกษำ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ รำยกำรแม็กซพ์ ลอยด์ เอ็ดดูเคชัน่ นอล ขัน้ พื้นฐำน สปอรต์ คอรส์ เวริ ด์ เกม เอแมท็ คำคม และซโู ดกุ ชงิ แชมป์ภำคตะวันออกเฉยี งเหนือ ปี พ.ศ. 2565 1.1 เดก็ ชายอธวิ ัฒน์ วัฒนาเนตร 1.2 เด็กหญิงปพิชญา นนั ทะเพชร์ 2.กำรแข่งขันศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ครั้งที่ 70 ปีกำรศึกษำ 2565 2.1 ระดับเหรยี ญทอง การแข่งขนั ต่อคาศัพท์ภาษาไทย (คาคมเดิม) ม.1-ม.3 2.1.1 นางสาวธาริณี มงั ครุดร 2.1.2 เดก็ หญงิ ประกายรุ้ง ผาสุวรรณ 2.2 ระดับเหรียญทอง การแขง่ ขนั เวทคณิต ป.4-ป.6 2.2.1 เดก็ ชายอธวิ ัฒน์ วฒั นาเนตร 2.3 ระดับเหรียญทอง การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์

ประเภททดลอง ม.1-ม.3 16 2.3.1 เดก็ หญงิ ศุภากรณ์ แกว้ เคน สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจังหวดั สกลนคร 2.3.2 เดก็ หญิงสายธาร พมิ แพง บรษิ ทั เอด็ ดูพลอยส์ 2.3.3 เดก็ ชายอภเิ ดช ผาสวุ รรณ เกมแอนด์ทอย จำกัด 2.4 ระดบั เหรยี ญทอง การประกวดการขับรอ้ งเพลงไทย สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำ ขนั้ พืน้ ฐำน ลูกทงุ่ ประเภทนักเรยี นท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ม.1-ม.3 2.4.1 นางสาวพราวพมิ ล ไตรทอง 3. ไดร้ ับรำงวัลเหรยี ญทอง รองชนะเลิศ ระดับจังหวัด อันดบั 2 สรภัญญะรณรงค์ต่อต้ำนยำเสพติด ในสถำนศกึ ษำ ประจำปี 2566 3.1 นางสาวมนสั วี ทาวงศษ์ า 3.2 นางสาวรตั ตกิ าลกลุ บญุ ไพโรจน์ 3.3 นางสาวจริ ะนนั ศรีวระษา 3.4 นางสาวนิรนิ ทิรา กลุ อกั 2 รำงวัลครู 1.ครูผสู้ อนนักเรียนไดร้ ับรำงวัล อนั ดับท่ี 1 ระดบั ภำค คอร์สเวริ ์ดเกม เกมตอ่ ศพั ท์ภำษำอังกฤษ ร่นุ ประถมศึกษำ รำยกำรแม็กซ์พลอยด์ เอด็ ดูเคช่ันนอล สปอร์ต คอรส์ เวิรด์ เกม เอแม็ท คำคม และซูโดกุ ชิงแชมปภ์ ำคตะวันออกเฉยี งเหนือ ปี พ.ศ. 2565 1.1 นางสนุ นั ทา กอ้ นแพง 1.2 นายมนตรี นาคีย์ 2.กำรแขง่ ขนั ศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดับชำติ ครงั้ ที่ 70 ปีกำรศกึ ษำ 2565 2.1 ครูผู้สอนนักเรยี นได้ระดับเหรียญทอง การแขง่ ขันต่อคาศพั ท์ภาษาไทย (คาคมเดิม) ม.1-ม.3 2.1.1 นางสนุ นั ทา กอ้ นแพง 2.1.2 นางอริสา ธุระนนท์ 2.2 ครูผสู้ อนนกั เรยี นได้ระดับเหรยี ญทอง การแข่งขันเวท คณติ ป.4-ป.6

17 2.2.1 นางสาวสปุ าณี ผากงคา 2.3 ครูผู้สอนนกั เรียนได้ระดับ เหรยี ญทอง การประกวด ระดบั จงั หวัด สำนักงำนศกึ ษำธกิ ำรจงั หวดั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง ม.1-ม.3 ระดบั ชำติ สกลนคร 2.3.1 นางอรสิ า ธุระนนท์ 2.3.2 นายมนตรี นาคีย์ ระดบั ชำติ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ 2.4 ครูผู้สอนนักเรียนได้ระดับ เหรยี ญทอง การประกวด ระดับ ขั้นพนื้ ฐำน การขับร้องเพลงไทยลูกทุง่ ประเภทนักเรยี นท่ีมคี วาม เขตพ้นื ที่ บกพร่อง สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำ ทางการเรียนรู้ ม.1-ม.3 ขัน้ พนื้ ฐำน 2.4.1 นายมนตรี นาคีย์ 3. ไดร้ บั รำงวลั เหรยี ญทอง รองชนะเลศิ สำนกั งำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำ อันดบั 2 สรภญั ญะรณรงค์ต่อตำ้ นยำเสพติด ประถมศึกษำสกลนคร เขต 3 ในสถำนศึกษำ ประจำปี 2566 3.1 นายมนตรี นาคีย์ 3.2 นางอริสา ธุระนนท์ 4.นวัตกรรมสร้ำงสรรคค์ นดี ปงี บประมำณ พ.ศ.2564 (ด้ำนกำรจดั กำรเรียนกำรสอน) (ระดบั ดเี ย่ยี ม) นางอรสิ า ธุระนนท์ (ระดับดี) นายมนตรี นาคยี ์ 5.ครุ ุชน คนคุณธรรม ปงี บประมำณ พ.ศ.2564 นายมนตรี นาคยี ์ 3 รำงวัลผู้บริหำรสถำนศึกษำ 1.นวัตกรรมสร้ำงสรรค์คนดี ปงี บประมำณ พ.ศ.2564 (ด้ำนกำรบริหำร) (ระดับดเี ยี่ยม) นำยสัญญำ วฒั นำเนตร 4 รำงวัลสถำนศึกษำ โรงเรียนบ้ำนทงุ่ โพธิ์ 1.ผลกำรประเมินคุณธรรมและควำมโปรง่ ใส ในกำรดำเนนิ งำนของหน่วยงำนภำครฐั ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ระดับ AA อันดับที่ 1 ของ สพป.สกลนคร เขต 3

18 2. ได้รบั รำงวัลเหรยี ญทอง รองชนะเลิศ ระดบั จังหวดั สำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวดั อนั ดับ 2 สรภญั ญะรณรงคต์ ่อต้ำนยำเสพติด สกลนคร ในสถำนศึกษำ ประจำปี 2566 3.ด้านประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการและการมสี ่วนรว่ ม โรงเรยี นบ้านทุง่ โพธิ์ มีบทบาทหน้าทใี่ นการจัดทานโยบาย แผนพฒั นาการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับ นโยบายและแผนของกระทรวงศึกษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สานักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ตลอดจนบริบทและความตอ้ งการของชุมชนและท้องถ่นิ จดั ตั้ง งบประมาณและรับผิดชอบการใชจ้ า่ ยงบประมาณของสถานศึกษา พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกับ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานและความต้องการของนกั เรียน ชุมชนและทอ้ งถนิ่ จัดการเรียนการ สอน สภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมและส่งเสริมกระบวนการเรียนร้ทู ่ีเนน้ ผูเ้ รยี น สาคญั ตลอดจนการปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาอยา่ งต่อเนื่องออกระเบียบ ขอ้ บงั คบั ประกาศและแนวปฏบิ ตั ติ ่าง ๆ ตามทีก่ ฎหมายกาหนด กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลตามแผนงานโครงการและ ประเมนิ แผนการปฏิบตั งิ าน ระดมทรัพยากรเพ่อื การศึกษา รวมทั้งปกครอง ดูแล บารงุ รักษาเคร่อื งใช้ จดั หาผลประโยชน์จากทรพั ย์สนิ ของสถานศกึ ษา จัดใหม้ ีระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา รวมท้ังการ รายงานผลการประเมินตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สกลนคร เขต 3 ส่งเสริมความเข้มแข็งใหก้ บั ชมุ ชน และสร้างความสมั พันธก์ บั สถานศึกษาและสถาบนั อืน่ ในชุมชนและท้องถ่นิ

19 4. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก สมศ รอบที่ 4 รายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓) การศึกษาปฐมวยั และระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน โรงเรยี นบา้ นท่งุ โพธิ์ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

20 บทสรปุ สาหรับผ้บู ริหาร โรงเรยี นบ้านทุ่งโพธ์ิ ตง้ั อยูเ่ ลขที่ ๑๘๘ บ้านทุ่งโพธ์ิ ตาบลหนองสนม อาเภอวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ เปิดสอนตัง้ แตช่ น้ั อนบุ าลปีท่ี ๑ ถึง ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ คณะผู้ประเมินไดต้ รวจเยย่ี มสถานศกึ ษา เม่ือวันท่ี ๑๑ - ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ โดยมีผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี ดงั นี้ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓) ๑. การศกึ ษาปฐมวัย ดา้ น ระดับคุณภาพ ๑. คณุ ภาพของเด็ก ดี ๒. กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี ๓. การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สาคญั ดี จดุ เดน่ ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก เด็กได้รับการพัฒ นาการทางด้านร่างกาย แข็งแรง เคล่ือนไหวได้อย่างคล่อง ช่วยเหลือตัวเองได้ หน้าตาย้ิมแย้มแจ่มใส รู้จักทักทาย การไหว้และย้ิมแย้มแจ่มใส สุภาพ อ่อนโยน และมีน้าใจ รู้จั กแบ่งปันของ เล่นให้เพ่ือนๆ เด็กรู้จักการอดทน รอคอย ในกิจกรรมที่ครูผู้สอนกาหนดให้ เช่น การเข้าแถวร่วมกิจกรรมต่างๆ การเข้าแถวส่งงานครู การเข้าแถวรับประทานอาหารกลางวัน อาหารเสริมนม การรอคอยการรับประทาน อาหารพร้อมกันตามเวลาท่ีครูผู้สอนกาหนด พร้อมจัดเก็บเช้าที่เม่ือรับประทานเสร็จ ปฏิบัติตามกติกาของ ส่วนรวมได้ เด็กส่วนมากใช้ภาษาไทยในการส่ือสารในชีวิตประจาวันอย่างง่ายๆ เหมาะสมกับวัย เมื่อเวลา ครูผู้สอนจัดกิจกรรม ไม่ใช้ภาษาถ่ิน เด็กได้รับการปลูกฝังให้ปฏิบัติตามระบอบประชาธิปไตยโดยมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และปฏิบัติตามระเบียบประเพณีวัฒ นธรรมของท้องถ่ิน เป็นสมาชิกท่ีดีของ ครอบครัว ชุมชนและสังคม ตามบริบทของท้องถิ่น จัดกิจกรรมวันไหว้ครู วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ มี ก า ร ส อ ด แ ท ร ก ก า ร ท า ค ว า ม ดี ให้ แ ก่ เด็ ก ให้ รู้ จั ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ใน ก า ร ท า ค ว า ม ดี แ ล ะ มี จิ ต สาธารณะและรจู้ กั การปฏิบตั ติ นในการทาความดี ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในองค ์กร มีข้อมูลสารสนเทศในการปรับปรุงแผนงาน มีสมรรถนะหลักในการบริหารงาน มุ่งผลสัมฤทธิ์ จิตใจบริการพัฒนา คนทางานเปน็ ทมี ผูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้องมคี วามพงึ พอใจ ดา้ นการจัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสาคญั ครผู ้สู อนสามารถจดั กิจกรรมการให้เด็กเป็นผนู้ า ผู้ตามในการเดินแถว การให้เด็กมีส่วนร่วมกับครผู สู้ อน ออกคาส่ังในการจัดระเบียบแถว การอดทน การรอคอย

21 ในการเขา้ แถวในการรบั ประทานอาหาร การอดทน รอคอยเพอื่ นในการรอรับประทานอาหารพร้อมกันได้ทกุ คน ไมพ่ ูดคุยในขณะรับประทานอาหาร เด็กมี ความสามารถอยู่รว่ มกนั กบั ผอู้ ื่นได้อยา่ งมีความสุข ใหไ้ ด้รับคาชมเชยผู้ปกครอง ชุมชน มีความไวว้ างใจ ในตวั ครูผสู้ อน ครูผสู้ อนได้รับรางวัล “ครูผูฝ้ กึ สอนเดก็ กจิ กรรมสรา้ งภาพดว้ ยการฉีก ติด ปะ กระดาษ” ระดับ เหรยี ญทอง ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 เน่อื งในงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นคร้ังท่ี 69 ปีการศึกษา 2565 จดุ ทคี่ วรพฒั นา ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก ทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดรวบยอด ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และการสร้างจินตนาการ เด็กไม่ กล้าแสดงออกหน้าชั้นเรียน ไม่กล้าตอบคาถามเมื่อบุคคลอ่ืนถาม ตลอดการไม่รู้จักการพูดขอบคุณ ขอโทษ และการพดู ทม่ี คี าลงท้าย ครบั คะ่ เพอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ นสิ ยั ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ๑. พฒั นาจัดสภาพแวดล้อมสนามเดก็ เลน่ ให้ได้หมามาตรฐานมีอุปกรณ์เพยี งพอและปลอดภยั ๒. จดั บริการห้องน้าให้เพียงพอตอ่ สดั ส่วนจานวนผ้เู รยี น ดา้ นการจัดประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เปน็ สาคัญ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ (Project Approach) การบันทึกการหลังจัดกิจกรรม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เป็นระบบ เป็นปัจจุบันและการจัดบรรยากาศในช้ันเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ การจัดมุมประสบการณต์ ่างๆ ขอ้ เสนอแนะ ด้านคุณภาพของเดก็ ๑. เดก็ ควรไดร้ บั การสง่ เสริมในด้านการคิดวเิ คราะห์ การคิดรวบยอด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ การสรา้ งจนิ ตนาการ โดยการส่งเสรมิ ให้เด็กเกิดทักษะในการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง การแยกแยะ กระบวนการคิด การรู้จักการต้งั คาถามดว้ ยตนเองได้ให้เพิ่มมากขึ้น การจดั มุมประสบการณ์ภายในหอ้ งเรียนให้ที่หลากหลาย เชน่ มมุ หนังสือนิทาน มมุ ศิลปะ การวาดภาพ การป้นั ดินนา้ มนั ตามจนิ ตนาการทีเ่ ดก็ สนใจ มมุ วทิ ยาศาสตร์ ให้เดก็ ได้เรยี นรู้จากการสงั เกต สารวจ ทดลอง มมุ อาชีพ มุมบลอ็ ก และใหเ้ ด็กไดเ้ ลือกเข้าเล่นตามมมุ ประสบการณ์ทต่ี นเองสนใจ ควรได้รบั การกระต้นุ ในการต้ังคาถามในเรื่องทีส่ นใจ ไดส้ ืบเสาะหาความรเู้ พ่ือค้นหาคาตอบ ครูควรใหก้ ารตอ่ ยอดในความคิดของเด็กต่อไป จะทาให้เด็กเกิดความสงสยั อยากรูอ้ ยากเหน็ การสร้างสถานการณ์ทีส่ ร้างข้อสงสยั ให้แก่เดก็ ไดต้ ้งั คาถามในส่งิ ท่ีตนเองสนใจและอยากรู้ และเพื่อสง่ เสริมให้ เด็กมีโอกาสเรียนรู้ สิ่งตา่ งๆ ที่อยู่รอบตวั เพิ่มข้นึ เช่น เด็กได้เล่นและทากจิ กรรมท่ีเพิ่มขนึ้ จากเดมิ มากขึน้ และ ใหโ้ อกาสเดก็ ได้ทดลองใช้สิ่งของ การเลน่ ดว้ ยวธิ ีการใหม่ๆ และทดลองในสง่ิ ที่เดก็ ยงั ไม่คุ้นเคยให้เกิดความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั สิง่ ตา่ งๆ ที่เกิดจากการเรยี นรู้อย่างสมวยั รวมท้งั ส่งเสริมใหเ้ ด็กได้ถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ ด้วยวธิ ีการท่หี ลากหลายไดด้ ว้ ยตนเอง เช่น การป้ันดนิ น้ามัน การเคลือ่ นไหวจังหวะตามจนิ ตนาการ การวาด ภาพระบายสี การเล่นบทบาทสมมติ ควรมกี ารเสริมแรงและกระตุ้นให้เด็กได้คิดเองอยา่ งอิสระ เพื่อให้เด็กได้

22 แสดงออกทางความคิดอารมณ์ ความร้สู ึกของตนเองอยา่ งสรา้ งสรรค์ ผลจะทาให้เดก็ กล้าแสดงออกและ สามารถตั้งคาถามทต่ี นเองสนใจดว้ ยตนเองไดใ้ นท่ีสุด ๒. เดก็ ควรได้รับการสง่ เสรมิ ในดา้ นการกลา้ แสดงออกหนา้ ชน้ั เรียน โดยให้เดก็ ไดอ้ อกมาพดู หน้าชั้นใน เรอื่ งต่างๆที่เด็กไดป้ ระสบการณ์การเลา่ นทิ านตามจินตนาการ การออกมาร้องเพลงและเตน้ ตามจังหวะเพลง โดยการไดก้ ระทาบ่อยๆ ใหเ้ ด็กได้รบั การเสริมแรง เช่น คาชมเชย ใหเ้ พอ่ื นปรบมือให้ มอบรางวัลให้ เปน็ ตน้ ไมใ่ ห้เพ่ือนๆลอ้ เลยี น เมื่อเด็กไดก้ ระทาบ่อยๆผลจะทาใหเ้ ด็กกลา้ แสดงออกในท่ีสุด ๓. เด็กควรได้รับการให้รู้จักการพูดขอบคุณ เมื่อมีบุคคลอ่ืนให้ความช่วยเหลือ หรือให้ส่ิงของ รวมท้ัง การรู้จักการพูดขอโทษ เมื่อตนเองกระทาความผิด ตลอดการพูดให้มีคาลงท้าย ครับ หรือ ค่ะ เป็นประจาอยู่ เสมอ ตลอดการประสานงานกับผู้ปกครองให้ช่วยส่งเสริมเมื่ออยู่ทางบ้าน จะทาให้เด็กได้ปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง จนเกดิ การพูดทีด่ งี ามจนเกดิ เป็นนสิ ัยตดิ ตัวไปเมอ่ื เติบใหญ่ กาหนดการดาเนนิ การปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๑. ควรจัดสภาพแวดลอ้ มใหส้ ง่ เสรมิ การจดั ประสบการณโ์ ดยจัดให้มีส่ือทงั้ ภายในและภายนอก หอ้ งเรยี น ๒. ห้องน้าห้องส้วมพร้อมอุปกรณ์ที่จาเป็นควรจัดห้องน้าห้องส้วมพร้อมอุปกรณ์ท่ีจาเป็นให้เหมาะสม กบั จานวนเดก็ มีความสะอาดปลอดภยั กาหนดการดาเนนิ การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเปน็ สาคญั ๑. ครูผู้สอนได้ผ่านการอบรมโครงการ/กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย และพบการดาเนินการจัด กิจกรรมการสอนโครงงานบ้านวิทยาศาสตร์น้อย ตามแผนการจัดกิจกรรมท่ีกาหนดไว้อยู่แล้ว แต่ยังจัดกิจกรรม ไม่ต่อเนื่อง ดังนั้นควรจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทางานของสมองตามแนวคดิ ท่ี เหมาะสมกับอายุ วุฒิภาวะและระดับพัฒนาการ เพ่ือให้พัฒนาการเด็กเต็มตามศักยภาพ ครูผู้สอนควรนา กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน Project Approach ซ่ึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในการศึกษาสืบค้นลงลึกใน เรือ่ งทเี่ ดก็ สนใจหรอื ท้ังครผู สู้ อนและเด็กสนใจ โดยเดก็ เป็นผลู้ งมือปฏบิ ตั ิ เดก็ รว่ มกันสบื คน้ หาขอ้ มูลเพื่อหา คาตอบจากคาถามของตนเองภายใต้การได้รับความช่วยเหลือ แนะนาจากครูผู้สอน กิจกรรมนี้เด็กจะได้สารวจ สังเกต สืบค้น ทดลอง และบอกเล่า เกิดจากประสบการณ์ เรียนรู้นอกห้องเรียน โดยการอานวย ความสะดวก และสนับสนุนจากครูผู้สอน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีการหลากหลาย ตามความถนัดและความต้องการ ของเด็กแต่ละคน กิจกรรมแบ่งเป็น ๓ ระยะ ดังนี้ ๑)ระยะเริ่มต้นโครงการ ๒)ระยะพัฒนาโครงการ ๓)ระยะ สรุปโครงการ ซ่ึงในแต่ละระยะจะประกอบด้วยการอภิปรายการออกภาคส นาม จากการสืบค้น การนาเสนอ และการจัดแสดงนิทรรศการผลงานของเด็ก ครูผู้สอนได้จัดกิจกรรมรว่ มกับเด็กจัดทาโครงงานบ้านวิทยาศาสตร์ อยู่แล้ว เห็ น ควรน าจัด การเรียน การสอน การเรียน รู้แบ บ โค รงการ Project Approach เข้าร่วม การจัดกิจกรรม การสอนโดยใช้โครงงานให้เด็กเกิดความสน ใจ การคิดวิเคราะห์ คิดรวบยอด คิดสร้างสรรค์จาการได้พบเห็น นอกห้องเรียนมาดาเนินงานจัดทาโครงงานแบบง่ายๆ ที่เหมาะสมตามวัย เป็นการเตรียมความพร้อมให้เ ด็ก ร่วมมือการคิดอย่างสร้างสรรค์กับ ครูผู้สอนร่วมกับเด็ก ผู้ปกครองของเด็กให้มีส่วนร่วมในการจัดนิทรรศการ ผลงานของเด็ก และเชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้มาดูผลงานโครงงานต่างๆของเด็ก ทาแผ่นพลับเผยแพร่ไปยัง

23 โรงเรียนใกล้เคียง และควรดาเนินการอย่างต่อเน่ือง จนสามารถท่ีจะนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ Project Approach ไปเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี และนาไปสูน่ วตั กรรมท่ดี ไี ด้ ๒. ครูผู้สอนควรบันทึกการหลังจัดกิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เป็นระบบ เป็นปัจจุบัน และให้ครบทุกกิจกรรม ๖ กิจกรรมหลัก เพื่อนาข้อมูลที่ค้นพบพฤติกรรมของเด็กที่ควรนามาปรับปรุงแก้ไขโดย การทาวจิ ยั ในชัน้ เรียนต่อไป ๓. ครูผู้สอนควรจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรี ยนรู้ ให้ห้องเรียนสะอาด การจัดเก็บ อุปกรณ์ ที่เป็นสื่อไฟฟ้าให้พ้นมือเด็ก ตลอดการจัดมุมเสริมประสบการณ์ ควรจัดให้มีความหลากหลาย ครอบคลุมพัฒนาการเด็กให้ครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สติปัญญา เพ่ื อสร้างบ รรยากาศ และเสริมแรง ให้ เด็กได้เกิ ดการเรียน รู้ด้ วยต น เอ งอย่างเสรี เป็ น ก ารส่งเสริม ให้ เด็กได้ร่วมกิจกรรมการเลน่ อิสระอย่างเต็มที่ การเล่นตามมุมอย่างหลากหลาย ครูผู้สอนควรจัดหาวัสดุอุปกรณ์ มาเพิ่มเติมในมุมต่างๆ เช่น มุมเกมการศึกษา มุมหนังสือนิทาน มุมบล็อก มุมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย มุ มศิลปะ และมุมแสดงผลงานเด็ก เป็นต้น เป็นการสนองตอบความสนใจและศักยภาพในการเรียนรู้ในเวลาว่างของเด็ก แต่ละคน จะนาไปสู่การปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน รักการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนด้วยตนเอง ตลอดเวลามากขึ้น กาหนดการดาเนินการปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี ๒. ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ด้าน ระดับคณุ ภาพ ๑. คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดีมาก ๒. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีมาก ๓. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ดี จดุ เด่น ด้านคุณภาพของผู้เรยี น ๑. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี โดยไม่ขัดกับวิถีชุมชน กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย สุขภาวะ ทางร่างกายและจติ สังคม ๒. ผู้เรียนมีความสามารถด้านผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการตามหลักสตู รสถานศึกษากาหนดและการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ การประเมนิ ทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ผู้บ ริห ารมีวิสัยทั ศน์ มีความรู้ความสาม ารถใน การบ ริห ารจัดการ ส่งเสริม การมีส่วน ร่วมใน องค์กรมี ข้อมูลสาระสนเทศในการปรับปรุงแผนงาน มีสมรรถนะหลักในการบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์จิตใจบริการพัฒนา คนทางานเป็นทมี ผูม้ ีส่วนเก่ยี วขอ้ งมคี วามพึงพอใจ

24 ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั โครงการนัก Computer รุ่นเยาว์ (นักคอมรุ่นเยาว์) นักเรียนช้ัน ม.๑-ม.๓ มีความสามารถในการซ่อม คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสท์ กุ ชนิดได้เป็นการช่วยเหลอื สถานศึกษาโดยการซอ่ มโสตทัศนูปกรณ้ใ ห้ สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาไม่ต้องนาเคร่ืองช่วยสอน(Teaching Aid)เหล่านี้ออกไปซ่อมภายนอกให้เสียเวลา และส้นิ เปลอื งเร่ืองค่าใชจ้ ่ายมากกว่าท่คี วรจะเป็น จดุ ท่ีควรพฒั นา ดา้ นคุณภาพของผู้เรียน ๑. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี โดยไม่ขัดกับวิถีชุมชน กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย สุขภาวะ ทางรา่ งกายและจติ สงั คม ๒. ผู้เรียนมีความสามารถด้านผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการตามหลักสตู รสถานศึกษากาหนดและการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และ การประเมนิ ทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ พฒั นาจัดสภาพแวดล้อมสนามเดก็ เล่นใหไ้ ด้หมามาตรฐานทอ่ี ุปกรณเ์ พยี งพอและปลอดภัยปรับภูมิ ทัศน์ให้ร่มรื่นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สวยงาม จัดหาสิ่งอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง พอเพียงจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ห้องน้าห้องส้วมพร้อมอุปกรณ์ท่ีจาเปน็ ควรจัดห้องน้า ห้องส้วมพรอ้ มอุปกรณ์ทจ่ี าเป็นใหเ้ หมาะสมกบั จานวนเด็ก มคี วามสะอาดปลอดภัย ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ๑. สถานศึกษาขาดเอกสารงานวิจัยครอบคลุม๘กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นเคร่ืองมือช่วยสอนซ่อมเสรมิ ช่วยเหลอื เดก็ กล่มุ ออ่ นตามนโยบายไม่ทงิ้ ใครไว้ข้างหลัง ๒. สถานศึกษายังขาดการนา DLIT มาจัดการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลต่อผู้เรียน ให้เกดิ สมรรถนะหลากหลาย ๓. นักเรียนใช้ห้องสมุดมียอดยืมหนังสือเกณฑ์น้อย หนังสือที่ยืมส่วนมากเป็นสานวน หนังสือสุภาษิต คาพังเพย ยอดการยมื หนังสอื อา้ งอิงหรอื หนังสอื วชิ าการเกณฑ์น้อย ข้อเสนอแนะ ด้านคณุ ภาพของผเู้ รียน ๑. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณให้บรรลตุ าม เปา้ หมายของสถานศึกษา ๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิให้สูงข้ึนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ และมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และการประเมินทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ ผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ใหม้ ีคะแนนเฉล่ียผา่ นเกณฑม์ าตรฐานข้นั ตา่ (ร้อยละ ๕๐)

25 ๓. พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติท่ีดีงานอาชีพให้บรรลุตามเป้าหมายของ สถานศึกษา กาหนดการดาเนินการปรบั ปรุงตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ ๑. ควรจัดสภาพแวดล้อมให้สง่ เสริมการจดั ประสบการณ์ โดยจดั ให้มีสอ่ื ทง้ั ภายในและภายนอก ห้องเรยี น ๒. ห้องน้า ห้องส้วมพร้อมอุปกรณ์ที่จาเป็นควรจดั ห้องน้า ห้องส้วมพร้อมอุปกรณ์ท่ีจาเป็นให้เ หมาะสม กับจานวนเดก็ มคี วามสะอาดปลอดภัย กาหนดการดาเนินการปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ๑. สถานศึกษาควรทารายงานการวิจัยชั้นเรียนครอบคลุม ๘กลุ่มสาระทุกช้ันเรียนตลอดปีการศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษากากับ ติดตาม ให้ครูทาวิจัยทุกคนควรเป็นงานวิจัยหน้าเดียวและครูควรมกี ารวิเคราะห์ ผู้เรียนรายบุคคล แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเก่ง ปานกลางและกลุ่มอ่อน เพราะงานวิจัยช้ันเรียนเป็นเครื่องมือ ช่วยเหลือผูเ้ รียนกลมุ่ อ่อนตามนโยบายไม่ท้ิงใครไว้ขา้ งหลงั ๒ . ส ถ า น ศึ ก ษ า ค ว ร น า DLIT (Distance Learning information Technology) ม า พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ผเู้ รียนโดยครวู างแผนจดั การเรยี นรูบ้ รู ณาการDLIT เชน่ ๑. DLIT : Classroom ห้องเรยี นเชงิ บวก ๒. DLIT : Resources คลังส่ืออปุ กรณท์ ศั นูปกรณ์ ๓. DLIT : Library ใชห้ อ้ งสมดุ เกดิ ประโยชนแ์ ก่ผูเ้ รยี นหลากหลาย ๔ . DLIT : PLC : Professional Learning Community มี ก า ร ป รึ ก ษ า วิ เค ร า ะ ห์ ปั ญ ห า การเรียนรรู้ ะหว่างสาระเดียวกนั ตลอดเวลา ๕. DLIT : Assessment คลังข้อสอบ มีการวัดระหว่างเรียน วัดหลังเรียน วัดกลางภาค และ วดั ผลปลายภาค เปน็ ต้น ๓. สถานศึกษาควรปรับปรุงระบบบริหารจัดการหอ้ งสมุดเป็นขุมพลังปัญญาแท้จริง โดยครูย่ัวยุผู้เรียน ใช้ห้องสมุดเป็นประจา อาจบารุงขวัญกาลังใจมากกว่าการใช้กฎ ระเบียบ ส่งเสริมผู้เรียนค้นคว้าใช้หนังสือ อ้างอิงบทเรียนมากย่ิงข้ึน ย่ัวยุนักเรียนค้นคว้าหาความรู้ไปทาการบ้านหรือเขียนรายงานเพื่อนาเสนอครู รายวิชา โดยดาเนินการตลอดปีการศึกษา กาหนดการดาเนนิ การปรับปรุงตามขอ้ เสนอแนะภายใน ๑ ปี ตอนท่ี ๑ ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา ๑. โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ตั้งอยู่เลขท่ี ๑๘๘ หมู่ที่ ๙ ตาบลหนองสนม อาเภอวานรนิวาส จังหวัด สกลนคร รหัสไปรษณีย์ ๔๗๑๒๐ โทรศพั ท์ ๐๘๕๗ ๔๕๓ ๑๖๙ ๒ . ห น่ ว ย ง า น ต้ น สั ง กั ด ห รื อ ห น่ ว ย ง า น ที่ ก า ก ับ ดู แ ล ส ถ า น ศึ ก ษ า ส า นั ก ง า น เข ต พ้ื น ท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ ๓. สรุปขอ้ มูลสาคญั ของสถานศึกษา ๓.๑ จัดช้นั เรยี นตัง้ แตช่ น้ั อนบุ าลปีท่ี ๑ ถึง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ๓.๒ จานวนผูเ้ รียน จาแนกตามระดบั ช้ัน ดงั นี้

26 ระดับช้นั ท้เ ปดิ สอน จานวน จานวน จานวน รวม ห้องเรียน เดก็ /ผ้เ รียน เด็ก/ผ้เ รยี น ที่มีความต้องการ ๑๒ (คน) พิเศษ (คน) ๑๔ ชาย หญงิ ๒๔ อนุบาล ๑ ชาย หญงิ -- ๕๐ ๑ ๗๕ -- ๓๒ -- ๑๘ อนุบาล ๒ ๑ ๕๙ ๑๙ -- ๒๑ อนบุ าล ๓ ๑ ๑๑ ๑๓ -- ๒๕ -- ๒๔ รวม ๓ ๒๓ ๒๗ -- ๑๓๙ -- ๑๙ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑ ๑๙ ๑๓ -- ๒๔ ๑๑ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑ ๙๙ -- ๕๔ ๒๔๓ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ๑ ๑๐ ๙ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๑ ๑๒ ๙ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ๑ ๑๔ ๑๑ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๑ ๑๔ ๑๐ รวม ๖ ๗๘ ๖๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ๑ ๘ ๑๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๑ ๑๒ ๑๒ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๑ ๗๔ รวม ๓ ๒๗ ๒๗ รวมทั้งส้นิ ๑๒ ๑๒๘ ๑๑๕

27 ๓.๓ ขอ้ มลู บุคลากร : ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จานวน ๑ คน : ครูผู้สอน การศึกษาปฐมวัย จานวน ๓ คน : ครูประถมศึกษา จานวน ๗ คน : ครมู ัธยมศึกษา จานวน ๖ คน : บคุ ลากรสายสนบั สนุน จานวน ๑ คน สรุป อตั ราสว่ น การศึกษาปฐมวัย : อตั ราส่วนของจานวนเดก็ : ครู เท่ากับ ๑๗ : ๑ : อตั ราสว่ นของจานวนเดก็ : หอ้ ง เทา่ กับ ๑๗ : ๑ : มีจานวนครู/ผู้ดแู ลเด็ก ครบชัน้ ครบชน้ั : ภาระงานสอนของครผู ู้สอน โดยเฉลี่ยชว่ั โมง : สปั ดาห์ เทา่ กบั ๒๕ : ๑ ระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ระดบั ประถมศึกษา : อัตราส่วนของจานวนผู้เรยี น : ครู เท่ากับ ๒๐ : ๑ : อัตราส่วนของจานวนผูเ้ รยี น : ห้อง เท่ากบั ๒๓ : ๑ : มจี านวนครู ครบชน้ั ครบช้ัน : ภาระงานสอนของครู โดยเฉล่ียชว่ั โมง : สปั ดาห์ เท่ากบั ๒๐ : ๑ ระดบั มธั ยมศึกษา : อตั ราสว่ นของจานวนผเู้ รียน : ครู เท่ากบั ๙ : ๑ : อตั ราส่วนของจานวนผู้เรียน : ห้อง เท่ากบั ๑๘ : ๑ : มจี านวนครู ครบชนั้ ครบชนั้ : ภาระงานสอนของครู โดยเฉลี่ยชัว่ โมง : สปั ดาห์ เท่ากับ ๑๘ : ๑ *หมายเหตุ การนบั จานวนจานวนครหู รอื ผู้ดูแลเด็กใหน้ ับเฉพาะผทู้ ี่ทาสญั ญาต้ังแต่ ๙ เดือนขน้ึ ไปเทา่ น้นั

28 ตอนท่ี ๒ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก ๒.๑ การศึกษาปฐมวัย ดา้ นท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็ ผลการดาเนนิ งาน โรงงเรียนจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๒–๒๕๖๕) มีแผนปฏิบัติการประจาปี ทุกปีการศึกษา มีการดาเนินการพัฒนาคุณภาพเด็กตามมาตรฐานของสถานศึกษาท่ีกาหนด ประกอบด้วย โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๔ โครงการ คือ ๑.โครงการส่งเสริมศักยภาพเด็กด้านร่างกาย ๒.โครงการส่งเสริม ศักยภาพเด็กด้านอารมณ์-จิตใจ ๓.โครงการส่งเสริมศักยภาพเด็กด้านสังคม ๔.โครงการส่งเสริมศักยภาพเด็ก ด้านสติปัญญา มีกิจกรรม ได้แก่ ๑) กิจกรรมสร้างสรรค์ ๒) กิจกรรมกลางแจง้ เกมการเล่นพ้ืนบ้า น ๓) กิจกรรม เสรีและเล่นตามมมุ ๔) กิจกรรมทดสอบสมรรถนะนักเรยี น ๕) กิจกรรมออกกาลงั กายรว่ มกันตอนเช้าทุกวัน ๖) กิจกรรมการรับประทานอาหารครบ ๕ หมู่ ๗) กิจกรรมแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน ๘) กิจกรรม ตรวจสุขภาพนักเรียน ๙) กิจกรรมด่มื นมก่อนนอนทกุ ครงั้ ๑๐) กิจกรรมเลา่ สกู่ ารฟัง ๑๑) กจิ กรรมออมทรพั ย์ ทุกวัน ๑๒) กิจกรรมวัน สาคัญ ต่างๆ ดาเนิ น การจั ดท าคาส่ังแต่งต้ังผู้รับ ผิดช อบ การดาเนิ น การตามโครงการและ กิจกรรมดังกล่าวประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ครูผู้สอน ชุมชน ให้มีความเข้าใจตรงกันถึงกระบวนการดาเนินงานและให้ความเห็นชอบรับรอง โครงการ/กิจกรรม มีการระบุ วิธีการพัฒนาโดยการดาเนินโครงการ กระบวนการดาเนินงาน การรายงานผลการประเมินตนเอง ด้านคุณภาพ เด็ก โครงการ/กิจกรรมดังกล่าวเป็นการส่งเสริมต่อผลการพัฒนาคุณภาพเด็ก ตามเป้าหมายและตัวชี้วัดของ กิจกรรม การป ระเมิ น ความพึ งพ อ ใจของค ณ ะกรรม การบ ริห ารโรงเรียน รวม ท้ั งมี การรับ ฟั งข้อเสน อ แน ะจาก ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพ่ือท่ีจะนาข้อมูลมาวิเคราะห์ ปรับปรุงแก้ไขให้ดีย่ิง ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการท่ีดีทั้ง ๔ ด้าน คือด้านร่างกาย มีการประเมินการเจริญเติบโตของเด็ก ด้วยวิธีการช่ังน้าหนัก วัดส่วนสูงทุก ๓ เดือน ผลปรากฏ ว่าเด็กมีพัฒนาด้านร่างกาย มีน้าหนักส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานใช้เกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข เด็กได้รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ ครบ ๕ หมู่ ได้รับอาหารเสริมการดื่มนม และดื่มน้าสะอาด อย่างเพียงพอ ก าร พั ฒ น าก ล้ าม เน้ื อ ให ญ่ แ ล ะ ก ล้ าม เน้ื อ เล็ ก แ ข็ งแ ร งใช้ ได้ อ ย่ างค ล่ อ งแ ค ล่ ว ส าม าร ถ ว่ิ งเล่ น ได้ ใน การออกกาลังกายอย่างคล่องแคล่ว รู้จักดูแลตัวเองให้ ได้รับ ความป ลอดภัย มีการบั นทึ กสุขภ าพ จาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งโพธ์ิ เด็กมีหน้าตาย้ิมแย้ม มีความร่าเริงแจ่มใส และแสดงออกด้วยการช่ืน ชมทางศิลปะ ดนตรี เล่นและทากิจกรรมร่วมกันท้ังงกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่อย่างส นุกสนาน ด้านสังคม ส่งเสริมอัต ลักษณ์ ของเด็ก คือ “ประหยัด อดออม ” เด็กได้รับการพัฒ นาตามกิจกรรมประจาวัน ๖ กิจกรรมหลัก เด็กสามารถทากิจกรรมกลุ่มย่อย และกิจกรรมกลุ่มใหญ่ร่วมกันได้ ได้รับการฝึกให้รู้จักการอดทน รอคอย การควบคุมตนเอง ทาตามข้อตกลง ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ได้สมวัย เช่น การเดินแถวเข้าแถวเคารพ ธงชาติ เข้าแถวส่งงาน เข้าแถวรับประทานอาหารและการอดทนรอคอยในการรอรับประทานอาหารก่อนเวลา ที่ครูกาหนด รู้จักการแบ่งปันของใช้ร่วมกันใน กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ กิจกรรมกลางแจ้ง การเล่นตวั ตอ่ การปั้ นดินน้ามัน การพัฒนาเด็กให้มีสุนทรียภาพสมวัยด้วยการจัดกิจกรรมนอกห้องเรียน นอกสถานที่ไปร่วม กิจกรรมที่วัด ผูป้ กครองใหค้ วามร่วมมอื เด็กไดร้ บั การส่งเสริมไดเ้ รยี นรู้เก่ยี วกบั ธรรมชาตริ อบตวั ส่งผลให้เด็กมี

29 ความรักภูมิใจในท้องถิ่น พัฒนาการด้านสังคม เด็กรับรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อม รอบตัว ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมตามวัย ผู้ปกครองให้ความร่วมมือใน และเด็กสามารถเก็บของเลน่ เมื่อเลน่ เสร็จแล้ว เก็บที่นอน เก็บแปรงสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้า รองเท้า ได้ถูกที่ เด็กอายุ ๔ - ๖ ปี สามารถปฏิบัติตาม ข้อตกลง กฎระเบียบของห้อง สามารถบอกได้ส่ิงใดของตนเอง ส่ิงใดของผู้อ่ืน เม่ือเล่นสิ่งของแล้วสามารถเก็บ เข้าท่ี เด็กสามารถเล่นและทากิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อยได้อย่างสนุกสนาน มีความสนใจต่อการ ปฏิบัติกิจกรรม ส่ ว น ม า ก ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม จ น ส า เร็ จ แ ล ะ รู้ จั ก ช่ื น ช ม ผ ล ง า น เพื่ อ น ด้ ว ย ก า ร ป ร บ มื อ ฝึ ก ให้ เด็ ก มี วัฒ นธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยการไห ว้ พ่ อแม่ ไหว้ครู ไหว้รุ่นพี่ ระดับ ประถม -มัธยมศึกษ า เด็กสามารถส่ือความหมายใช้ภาษาไทยท่ีใช้ในชีวิตประจาวันได้ด้วยการพูดกับครูเป็นภาษากลาง การขอ อนุญาตเข้าและออกนอกห้องเรียน การซักถามสิ่งที่เด็กสนใจอยากเรียนรสู้ ่ิงต่างๆ ตามวัย สามารถเล่าเร่ืองตาม จินตนาการสร้างสรรค์จากการเล่น สามารถสื่อสารบอกความต้องการได้ ผลทาให้เด็กมีพัฒนาการครบทุกด้าน อย่างสมวยั และมีผลการประเมนิ พัฒนาการท่ีดีขึ้น สรุปการประเมนิ ด้านท่ี ๑ คุณภาพของเดก็ มรี ะดบั คุณภาพ ดี จดุ เด่น ๑. เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย แข็งแรง เคลื่อนไหวได้อย่างคล่อง ช่วยเหลือตัวเองได้ หน้าตาย้ิม แยม้ แจม่ ใส รู้จกั ทักทาย การไหวแ้ ละย้ิมแย้มแจม่ ใส สุภาพ อ่อนโยน และมนี ้าใจ รูจ้ ักแบง่ ปันของเลน่ ให้ เพือ่ นๆ ๒. เด็กรู้จักการอดทน รอคอย ในกิจกรรมที่ครูผู้สอนกาหนดให้ เช่นการเข้าแถวร่วมกิจกรรมต่างๆ การเข้าแถวส่งงานครู การเข้าแถวรับประทานอาหารกลางวัน อาหารเสริมนม การรอคอยการรับประทาน อาหารพร้อมกนั ตามเวลาทคี่ รผู ูส้ อนกาหนด ๓. เด็กส่วนมากใช้ภาษากลางสื่อสารโดยใช้ภาษาไทยในชีวิตป ระจาวันอย่างง่ายๆ เหมาะสมกับวัย เมอ่ื เวลาครูผสู้ อนจัดกจิ กรรม ๔. เด็กได้รับการปลูกฝงั ให้ปฏิบัติตามระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข และ ปฏิบัตติ ามระเบียบประเพณวี ัฒนธรรมของท้องถนิ่ เปน็ สมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนและสังคม ตามบรบิ ท ของท้องถิ่น โดยจดั กิจกรรมวันไหว้ครู วันแม่แหง่ ชาติ วันพอ่ แห่งชาติ กิจกรรมวนั เดก็ แหง่ ชาติ จดุ ท่คี วรพัฒนา ๑. การสร้างนิสัยรักการอ่าน การตั้งคาถามดว้ ยตนเอง ๒. ด้านการคิดวเิ คราะห์ การคิดรวบยอด และความคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ ๓. การรู้จกั การขอบคณุ การขอโทษ การขออนญุ าต การพูดทมี่ ีคาลงท้าย ให้เป็นนิสยั ข้อเสนอแนะ ๑. เด็กควรได้รับการส่งเสริมในด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดรวบยอด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ การสร้างจินตนาการ โดยการส่งเสริมให้เด็กเกิดทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การแยกแยะ กระบวนการคิด การรู้จักการต้ังคาถามด้วยตนเองได้ให้เพิ่มมากขึ้น การจัดมุมประสบการณ์ภายในห้องเรียนให้ท่ีหลากหลาย เช่น มุมหนังสือนิทาน มุมศิลปะ การวาดภ าพ การป้ันดินน้ามันตามจินตนาการที่เด็กสนใจมุมวิทยาศาสตร์ ให้ เด็ ก ได้ เรี ย น รู้ จ าก ก า รสั งเก ต ส าร ว จ ท ด ล อ ง มุ ม อ าชี พ มุ ม บ ล็ อ ก แ ล ะ ให้ เด็ ก ได้ เลื อ ก เข้ า เล่ น ตามมุมประสบการณ์ท่ีตนเองสนใจ ควรได้รับการกระตุ้นในการตั้งคาถามในเรื่องท่ีสนใจ ได้สืบเสาะหาความรู้

30 เพื่อค้นหาคาตอบ ครูควรให้การต่อยอดในความคิดของเด็กต่อไป จะทาให้เด็กเกิดความสงสัยอยากรู้อยากเห็น การสร้างสถานการณ์ที่สร้างข้อสงสัยให้แก่เด็กได้ตั้งคาถามในส่ิงท่ีตนเองสนใจและอยากรู้ และเพ่ือส่งเสริมให้ เด็กมีโอกาสเรียนรู้ สิ่งต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัวเพิ่มขึ้น เช่น เด็กได้เล่นและทากิจกรรมที่เพ่ิมขึ้นจากเดิมมากขึ้นและ ให้โอกาสเด็กได้ทดลองใช้สิ่งของ การเล่นด้วยวิธีการใหม่ๆ และทดลองในส่ิงที่เด็กยังไม่ คุ้นเคยให้เกิดความคิด รวบยอดเกี่ยวกับส่ิงต่างๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้อย่างสมวัย รวมทั้งส่งเสริมให้เด็กได้ถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายได้ด้วยตนเอง เช่น การป้ันดินน้ามัน การเคล่ือนไหวจังหวะตามจินตนาการ การวาด ภาพระบายสี การเล่นบทบาทสมมติ ควรมีการเสริมแรงและกระตุ้นให้เด็กได้คิดเองอย่างอิสระ เพ่ือให้เด็กได้ แสดงออกทางความคิดอารมณ์ ความรู้สึกของตนเองอย่างสร้างสรรค์ ผลจะทาให้เด็กกล้าแสดงออกและ สามารถตง้ั คาถามท่ตี นเองสนใจดว้ ยตนเองได้ในทสี่ ุด ๒. เด็กควรได้รับการส่งเสริมในด้านการกล้าแสดงออกหน้าช้ันเรียน โดยให้เด็กได้ออกมาพูดหน้าชั้นใน เรื่องต่างๆที่เด็กได้ประสบการณ์มา การเล่านิทานตามจินตนาการ การออกมาร้องเพลงและเต้นตามจังหวะ เพลง โดยการได้กระทาบ่อยๆ ให้เด็กได้รับการเสริมแรง เช่น คาชมเชย ให้เพ่ือนปรบมือให้ มอบรางวัลให้ เป็น ต้น ไม่ให้เพ่ือนๆล้อเลยี น เม่ือเดก็ ได้กระทาบอ่ ยๆผลจะทาใหเ้ ด็กกล้าแสดงออกในทส่ี ดุ ๓. เด็กควรได้รับการให้รู้จักการพูดขอบคุณ เมื่อมีบุคคลอื่นให้ความช่วยเหลือ หรือให้สิ่งของ รวมท้ัง การรู้จักการพูดขอโทษ เมื่อตนเองกระทาความผิด ตลอดการพูดให้มีคาลงท้าย ครับ หรือ ค่ะ เป็นประจาอยู่ เสมอ ตลอดการประสานงานกับผู้ปกครองให้ช่วยส่งเสริมเม่ืออยู่ทางบ้าน จะทาให้เด็กได้ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จนเกิดการพูดท่ดี ีงามจนเกดิ เป็นนสิ ยั ติดตวั ไปเมอ่ื เตบิ ใหญ่ กาหนดการดาเนนิ การปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี ดา้ นที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ผลการดาเนินงาน สถานศึกษามีการดาเนินการจัดทาแผนโรงเรียนจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๒–๒๕๖๕) มีแผนปฏิบัติการประจาปี ทุกปีการศึกษา มีการดาเนินการพัฒนาคุณภาพเด็กตามมาตรฐาน ของสถานศึกษาที่กาหนด กาหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย คือ สถานศึกษามีสภ าพแวดล้อม สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ท่ีเอ้ือต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างเพียงพอ ประกอบด้วยโครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๑. โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเด็กปฐมวัย ๒. โครงการ พัฒนาอาคารสถานท่ี ๓. โครงการนิเทศภายใน ๔. โครงการพัฒนาอาคารสถานที่ ปรับปรุงภูมิทัศน์ในโรงเรียน ๕. โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ ดาเนินการจัดทาคาสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบการ ดาเนินการตามโครงการและกิจกรรมดังกล่าวประชุมช้ีแจงผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ครูผู้สอน ชุมชน ผลทาให้เด็กส่วนมากปฏิบัติกิจกรรมจนสาเร็จ ส่วนมากรู้จักชื่นชมผลงานของ ตนเอง เด็กมีวัฒนธรรมท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยการไหว้ พ่อแม่ ไหว้ครู ไหว้รุ่นพ่ีระดับประถมมัธยมศึกษา การซักถามส่ิงท่ีเด็กสนใจอยากเรยี นรู้ส่ิงต่างๆ ตามวัย สามารถเล่าเร่ืองตามจินตนาการสร้างสรรค์ จากการเล่น ส าม ารถ ส่ื อ ส ารบ อ ก ค ว าม ต้ อ งก ารได้ ผ ล ท าให้ เด็ ก มี พั ฒ น าก ารค รบ ทุ ก ด้ าน อ ย่ างส ม วั ย แ ล ะ มี ผ ล การประเมนิ พฒั นาการทด่ี ีขึ้น

31 สรุปการประเมินดา้ นท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มรี ะดับ คณุ ภาพ ดี จุดเด่น ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในองค์กร มีข้อมูลสาระสนเทศในการปรับปรุงแผนงาน มีสมรรถนะหลักในการบริหารงานมุ่งผลสัมฤทธิ์จิตใจบริการ พัฒนาคนทางานเป็นทมี ผู้มีสว่ น เกย่ี วข้องมีความพงึ พอใจ จุดท่ีควรพัฒนา พัฒนาจัดสภาพแวดล้อมสนามเด็กเล่นให้ได้มาตรฐานท่ีอุปกรณ์เพียงพอและปลอดภัยปรับภูมิทัศน์ให้ ร่มร่ืนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สวยงาม จัดหาสิ่งอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างพอ เพียง จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเอื้อต่อการเรียนรู้ ห้องน้า ห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่จาเป็นควรจัดห้องน้า ห้องส้วม พร้อมอปุ กรณ์ทจี่ าเป็นใหเ้ หมาะสมกับจานวนเด็ก มคี วามสะอาดปลอดภัย ขอ้ เสนอแนะ ๑. สถานศึกษาควรจัดหาอุปกรณ์เครื่องเล่นภาคสนามให้เพียงพอ ตลอดการดูแลความปลอดภัย เชน่ จดั หาเครื่องปีนป่าย มา้ กระดานหก เครอ่ื งเลน่ สไลเดอร์ และจดั ซ่อมเครื่องทีม่ ีอยแู่ ล้วใหด้ ขี น้ึ ๒. สถานศกึ ษาควรจัดทาหอ้ งน้า ห้องสว้ มเพ่มิ ข้ึน ใหเ้ พียงพอกบั จานวนเดก็ ๓. สถานศึกษาควรปรับบริเวณพื้นท่ีข้างเคียงกับสนามเด็กเล่น และบริเวณรอบอาคารเรียนปฐมวัย ให้สะอาด ตัดหญ้าเก็บกิ่งไม้ออกจากพื้นท่ี เพราะจะเป็นอันตรายกับเด็ก กาหนดการดาเนินการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ภายใน ๑ ปี ดา้ นที่ ๓ การจัดประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เป็นสาคัญ ผลการดาเนินงาน โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์จิ ัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๒–๒๕๖๕) มีแผนปฏิบัติ การประจาปี มี ก ารด าเนิ น ก ารพั ฒ น าคุ ณ ภ าพ ค รูผู้ ส อ น ต าม ม าต รฐาน ข อ งส ถ าน ศึ ก ษ าท่ี ก าห น ด ได้ แก่ โค รงก าร ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน และโครงการพัฒนาศักยภาพเด็กด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ครูผู้สอนได้รับการอบรมเพ่ือพัฒนาตนเองในด้านการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาเด็กอยู่ เสมอ ทาให้ครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการจัดสบ การณ์ การเรียน รู้ มีครูผู้สอนเพี ยงพ อกับ ห้องเรียน โครง/กิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติงาน ได้แก่ กิจกรรมการออมทรัพย์ กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ ครูผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองในการมีส่วน ในการจัดกิจกรรม ตลอดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขเด็กกรณีท่ีมีปั ญหา ครูผู้สอนใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ของเด็ก การจัดกิจกรรมประจาวันทั้ง ๖ กิจกรรมหลัก การจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เอ้ือต่อ การเรียนรู้ การจัดมุม ต่างๆ ใน การพั ฒ น าเด็กตาม ความ สน ใจ ครูผู้สอน เป็ น ผู้มี คุณ ธรรม จริยธรรม เอาใจใส่ใน การดูแลเด็กเป็นอย่างดี มีความสามารถมีความรู้ในหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ ครูผู้สอนจัดประสบการณ์ในการสอน เด็กอย่างเต็มความสามารถในการพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน ดาเนินการจัดกิจกรรมตามแผนการ จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญ มีบันทึกหลังการจัดกิจกรรม ตลอดการดาเนินการปฏิบัติการตามแผน ประจาปี

32 มกี ารรายงานผลของโครงการ กิจกรรมของโครงการ นาข้อมูลท่ีไดน้ ามาเปรียบเทียบกับการ ดาเนนิ การโครงการ กิจกรรม ของปีการศึกษ าที่ ผ่านมา ตามมาตรฐานท่ี ๓ ด้าน การจัดกระบวนการเรียน รู้เพ่ื อ ส่งเสริมพั ฒ น าเด็ก ซ่ึ งมี ป ระเด็ น ก ารป ระ เมิ น ๔ ป ระเด็ น จั ด ท าเค ร่ือ งมื อ ใน ก ารป ระ เมิ น ผ ล ก ารเรีย น รู้ข อ งเด็ ก ได้ แ ก่ แบบบันทึกการวิเคราะห์เป็นเด็กเป็นรายบุคคล แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมทุกด้าน แบบบันทึก พัฒนาการเด็ก แ บ บ บั น ทึ ก คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ งป ระ ส งค์ ต าม ม าต รฐ าน ๑ ๒ ม าต รฐ าน แ บ บ บั น ทึ ก น้ าห นั ก ส่ ว น สู ง แบบบันทึกการรับประทานอาหารกลางวัน การดื่มนม เด็กมีความเข้าใจและปฏิบัติได้ตามวัย เด็กเข้าใจและ ปฏิบัติได้ในการเป็นผู้นา ผู้ตามได้ มีสุภาพแข็งแรง วิ่งเล่นได้อย่างคล่องแคล่ว มีอารมณ์ร่าเริงแจ่มใส รู้จัก การไหว้และการทายทัก ใช้ภาษากลางส่ือสารกับครูผู้สอนและคนอ่ืนได้ตามวัย การรู้จักการอดทน รอคอย ในกิจกรรมท่ีครูผู้สอนกาหนดไว้ได้ ช่วยเหลือตนเองได้อย่างปลอดภัย ท้ังนี้เกิดจากผลการดูแลเอาใจใส่ของ ครูผู้สอน ค รูผู้ ส อ น มี ก ารด าเนิ น งาน จั ด กิ จก รรม ก ารเรียน รู้ใน ก ารพั ฒ น าก ารค รูผู้ ส อ น ยั งไม่ ต่ อ เน่ื อ ง จ าก ก าร รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑ อยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก ดี และดีเยี่ยม จะเห็นว่าผลการประเมินผล ๓ ปีการศึกษาไม่ต่อเนื่อง ทาให้ผลของการพัฒนาด้านการจัดประสบการณ์ การเรยี นร้คู รผู สู้ อน ครไู มม่ ีผลงานเป็นแบบอย่างทด่ี ี หรอื มีนวัตกรรม สรุปการประเมินด้านท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เป็นสาคัญ มีระดบั คุณภาพ ดี จดุ เด่น ๑. ครูผู้สอนมีสามารถจัดกิจกรรมการให้เด็กเป็นผู้นา ผู้ตามในการเดินแถว การให้เด็กมีส่วนร่วมกับ ครูผู้สอนออกคาส่ังในการจัดแถวระเบียบ การอดทน การรอคอย ในการเข้าแถวในการรับประทานอาหาร การอดทน การรอคอยเพ่ือนในการรอรับ ป ระทานอาห ารพ ร้อมกันได้ทุกคน ไม่พู ดคุยในขณ ะรับ ประทานอาห าร เด็กมีความสามารถอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ผลทาให้ได้รับคาชมเชยผู้ปกครอง ชุมชน มีความ ไว้วางใจในตวั ครผู ู้สอน ๒. ครูผู้สอนได้รับรางวัล “ครูผู้ฝึกสอนเด็กกิจกรรมสร้างภาพด้วยการฉีก ติด ปะ กระดาษ ระดับ เหรียญทอง ของเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 เน่อื งในงานศลิ ปะหัตกรรมนักเรยี น ครง้ั ที่ ๖๙ ปีการศึกษา 2565 ๓. ครูผู้สอนมีความสามารถการผลิตส่ือการสอน เพื่อนาส่ือมาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนตาม หน่วยการจดั ประสบการณ์ โดยใช้สอ่ื ธรรมชาติเป็นสว่ นมาก จดุ ทคี่ วรพัฒนา ๑. การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้แบบโครงการ (Project Approach) ๒. บนั ทึกการหลังจดั กิจกรรมการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ให้เป็นระบบ และเป็นปัจจุบนั ๓. การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนให้เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ การจดั มมุ ประสบการณต์ า่ งๆ ขอ้ เสนอแนะ ๑. ครูผู้สอนได้ผ่านการอบรมโครงการ/กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย และพบการดาเนินการจัด กิจกรรมการสอนโครงงานบ้านวิทยาศาสตร์น้อย ตามแผนการจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้อยู่แล้ว แต่ยังจัดกิจกรรม ไม่ต่อเน่ือง ดังน้ันควรจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพั ฒนาการและการทางานของสมองตามแนวคิด ท่ีเหมาะสมกับอายุ วุฒิภาวะและระดับพัฒนาการ เพ่ือให้พัฒนาการเด็กเต็มตามศักยภาพ ครูผู้สอนควรนา

33 กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน Project Approach ซึ่งเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในการศึกษาสืบค้นลงลึกใน เร่ืองท่ีเด็กสนใจหรือท้ังครูผู้สอนและเด็กสนใจ โดยเด็กเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ เด็กร่วมกันสืบค้นหาข้อมูลเพ่ือหา คาตอบจากคาถามของตนเองภายใต้การได้รับความช่วยเหลือ แนะนาจากครูผู้สอน กิจกรรมน้ีเด็กจะได้สารวจ สังเกต สืบค้น ทดลอง และบอกเล่า เกิดจากประสบการณ์ เรียนรู้นอกห้องเรียน โดยการอานวยความสะ ดวก และสนับสนุนจากครูผู้สอน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีการหลากหลาย ตามความถนัดและความต้องการ ของเด็กแต่ละคน กิจกรรมแบ่งเป็น ๓ ระยะ ดังน้ี ๑)ระยะเริ่มต้นโครงการ ๒)ระยะพัฒนาโครงการ ๓) ระยะ สรุปโครงการ ซึ่งในแต่ละระยะจะประกอบด้วยการอภิปรายการออกภาคสนาม จา กการสืบค้น การนาเสนอ และการจัดแสดงนิทรรศการผลงานของเด็ก ครูผูส้ อนไดจ้ ัดกจิ กรรมรว่ มกับเด็กจัดทาโครงงานบ้า นวิทยาศาสตร์ อยู่แล้ว เห็ น ควรน าจัด การเรียน การสอน การเรียน รู้แบ บ โค รงการ Project Approach เข้าร่วม การจัดกิจกรรม การสอนโดยใช้โครงงานให้เด็กเกิดความสนใจ การคิดวิเคราะห์ คิดรวบยอด คิดสร้างสรรค์จาการได้พบเห็น นอกหอ้ งเรียนมาดาเนนิ งานจัดทาโครงงานแบบงา่ ยๆ ท่ีเหมาะสมตามวยั เปน็ การเตรยี มความพร้อมใหเ้ ดก็ ร่วมมือการคิดอย่างสร้างสรรค์กับ ครูผู้สอนร่วมกับเด็ก ผู้ปกครองของเด็กให้มีส่วนร่วมในการจัดนิทรรศการ ผลงานของเด็ก และเชิญผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้มาดูผลงานโครงงานต่างๆของเด็ก ทาแผ่นพลับเผยแพร่ไปยัง โรงเรียนใกล้เคียง และควรดาเนินการอย่างต่อเนื่อง จนสามารถที่จะนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ Project Approach ไปเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี และนาไปสู่นวัตกรรมท่ีดีได้ ๒. ครูผู้สอนควรบันทึกการหลังจัดกิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เป็นระบบ เป็นปัจจุบัน และให้ครบทุกกิจกรรม ๖ กิจกรรมหลัก เพ่ือนาข้อมูลท่ีค้นพบพฤติกรรมของเด็กที่ควรนามาปรับปรุงแก้ไขโดย การทาวจิ ัยในชัน้ เรยี นต่อไป ๓. ครูผู้สอนควรจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ให้ห้องเรียนสะอาด การจัดเก็บ อุปกรณ์ ท่ีเป็นส่ือไฟฟ้าให้พ้นมือเด็ก ตลอดการจัดมุมเสริมประสบการณ์ ควรจัดให้มีความหลากหลาย ครอบคลุมพัฒนาการเด็กให้ครบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สติปัญญา เพื่ อ ส ร้างบ รรย าก าศ แ ล ะ เส ริม แ รงให้ เด็ ก ได้ เกิ ด ก ารเรีย น รู้ด้ ว ย ต น เอ งอ ย่ างเส รี เป็ น ก ารส่ งเส ริม ให้เด็กได้ร่วมกิจกรรมการเล่นอิสระอย่างเต็มท่ี การเล่นตามมุมอย่างหลากหลาย ครูผู้สอนควรจัดหาวัสดุ อุปกรณ์มาเพิ่มเติมในมมุ ต่างๆ เช่น มุมเกมการศึกษา มุมหนังสือนิทาน มุมบล็อก มุมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย มุม ศิลปะและมุมแสดงผลงานเด็ก เป็นต้น เป็นการสนองตอบความสนใจและศักยภาพในการเรียนรู้ในเวลาว่าง ของเด็กแต่ละคน จะนาไปสู่การปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน รักการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนด้วยตนเอง ตลอดเวลามากข้ึน กาหนดการดาเนนิ การปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี ๒.๒ ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ด้านท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รยี น ผลการดาเนนิ งาน จ า ก ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใน ส ถ า น ศึ ก ษ า /ก า ร สั ง เก ต /ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ แ ล ะ เอกสารหลักฐานเชิงประจักษ์ของโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ พบว่า โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ ได้มีการจัดการเรียนรู้และ จัดทาแผนงานโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้บรรลุตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา เป็น ส่วนใหญ่

34 และเป็ นไปตามเป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุท ธศักราช ๒ ๕๕ ๑ มีผลจาก การพัฒ นาคุณ ภาพมาตรฐานด้าน ผู้เรียน ดังนี้ ๑) ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน พบว่าผู้เรียน ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น มีทักษะใน การอ่าน เขียน การส่ือส าร และการคาน วณ เป็ น ไป ตาม เกณ ฑ์ สาม ารถท่ องบ ท อาขยาน อ่าน คาพ้ื น ฐาน แล ะ เขียนคาศัพท์ตามคาบอกได้มีความสามารถในการอ่านเขียนภาษาไทยตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด ผู้เรียนมี สามารถส่ือสารภาษาอังกฤษด้วยการทักทายเพื่อนและครูด้วยคา/ประโยคง่ายๆ ได้ มีทักษะการคิดคานวณ การคิดเลขเร็วโดยมีกิจกรรม ท่องสูตรคูณ คิดเลขเร็วแบบเวทคณิ ต มีความสามารถในการคิดวิเคร าะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหากาหนดเป้าหมายกล่าวคือผู้เรียน มคี วามสามารถวางแผนการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแก้ปัญหาโดยการเรียนร้รู ปู แบบ โครงงานเป็ นฐาน มีการดาเนินการกระบ วนการ AAR ตอนเช้าและก่อนบ่ าย นักเรียนมีความสามารถ ด้านสามารถคิดวิเคราะห์ จาแนกได้ว่าส่ิงไหนดี สาคัญ จาเป็น รวมท้ังรู้เท่าทัน ตระหนักถึงโทษและพิษภัย ของส่ิงเสพติด มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม สามารถร่วมกันจัดทาโครงงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมห้องเรยี นสีขาว ในหอ้ งเรยี นเพื่อแกป้ ัญหาในระดบั ชั้นเรียนได้ มีความสามารถจัดทาหนังสือเลม่ เล็ก หนังสอื ทามือ โครงงานคณิตศาสตร์ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง ได้ มีความสามารถในการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการสร้างองค์ความรู้ สามารถสืบค้นข้อมูลทางอิน เทอร์เน็ตเรียนรู้ จากคอมพวิ เตอรใ์ นระบบเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ด้านจัดการเรยี นรู้และเป็นสื่อการเรยี นการสอน มีผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนตามหลักสูตรของสถานศึกษาตามเป้าหมาย มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ๒. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี โดยไม่ขัดกับวิถีชุมชน กฎหมาย และวัฒนธรรมอันดีของสังคม นักเรียนมีกิจกรรมนั่งสมาธิเพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเร่ิมเรียน มีความ รับผิด ในการทาเวรประจาวัน บริเวณ เขตรับผิดชอบ มีวินัยในกา รเข้าแถวเป็นระเบียบ การแต่งกายเรียบร้อย มีจิต อาสาช่วยงานคุณครูทุกคน มีลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๒ ประการ มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร่วมกิจกรรมประเพณี ไทย เช่น วันสงกรานต์ วันลอยกระทง วันขึ้นปีใหม่ ฯลฯ ยอมรับท่ีจะอยู่ร่ วมกัน บนความแตกต่างและหลากหลาย ร่วมกันสร้างกติกาข้อตกลงประจาห้องเรียนและเวรประจาวัน จัดกิจกรรม โครงงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมห้องเรียนสีขาว ภายในห้องเรียนร่วมกัน กิจกรรมเข้าค่ายลูกเสือ คุณธรรม การแข่งขันกีฬาศูนย์เครือข่าย นักเรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ร่างกาย (กายบรหิ าร) สขุ ภาพฟัน (การแปรงฟนั ) ประจาวนั กิจกรรมแอโรบิค และมสี ุขภาพทด่ี ีและแข็งแรง สรุปการประเมนิ ดา้ นที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน มรี ะดบั คุณภาพ ดีมาก จุดเดน่ ๑. นกั เรยี นกลา้ แสดงออก ร่าเรงิ แจ่มใสสุขภาพกายแขง็ แรง และเปน็ ผู้มคี ุณธรรมจริยธรรมและมี คุณลกั ษณะตามเป้าหมายหลักสูตร ๒. ผ้เู รียนมีความสามารถดา้ นการอา่ นหนงั สือออกอา่ นคลอ่ งรวมทงั้ สามารถเขียนเพ่ือการสอ่ื สารได้ ทุกคน ๓. ผเู้ รียนมสี ขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรงมสี มรรถภาพทางกายและนา้ หนักส่วนสงู ตามเกณฑ์ มีระเบยี บวนิ ยั

35 จดุ ท่คี วรพัฒนา ๑. พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทุกระดับช้ัน ให้มีความสามารถในแต่ละกลุ่มการเรียน ด้านการอ่าน ดา้ นการเขียน ดา้ นการสอื่ สารและดา้ นการคดิ คานวณ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายสงู สดุ ของสถานศกึ ษา ๒. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนผู้เรียนในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ และมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และการประเมินทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ ผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ ๓. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านงานอาชีพภายในสถานศึกษาอย่างหลากหลาย เพื่อส่งเสริมทักษะ อาชพี และการดารงชวี ิตแกผ่ ู้เรยี น ขอ้ เสนอแนะ ๑. คัดกรองผู้เรียนจากคะแนนผลการทดสอบวัดความสามารถในแต่ละกลุ่มสาระความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิดคานวณ จัดกิจกรรมการสอนซ่อม สาหรับนักเรียนท่ีมีผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ และสอนเสริมนักเรียนที่มีผลการเรียนบรรลุตามเป้าหมาย ด้วยการใช้สื่อและ กิจกรรมการเรียน การสอนที่หลากหลาย เพือ่ ช่วยใหผ้ เู้ รยี นบรรลตุ ามจดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมายการพฒั นาของ สถานศกึ ษา ๒ วิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีท่ี ๖ และมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และการประเมินทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ ตามมาตรฐานและตัวชีว้ ัดที่นักเรียนในสว่ นที่มีคะแนนต่าหรือไม่ผ่านตามเกณฑ์ ที่กาหนด แ ล ะ จั ด กิ จ ก ร รม ส อ น เส ริ ม ห รื อ ป รั บ ป รุ งก ระ บ ว น ก าร จั ด ก าร เรี ย น รู้ ร ว ม ไป ถึ งก ารพั ฒ น า เท ค นิ ค การสอนและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ฝึกให้ผู้เรียนได้คุ้นชินกับเคร่ืองมือที่ใช้ใน การวัดและประเมินผลท่เี สรมิ สร้างกระบวนการคดิ ขนั้ สูง ๓. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรงานอาชีพภายในสถานศึกษาอย่างหลากหลาย ด้วยกิจกรรมโครงงาน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะและคุณลักษณะเพื่อเสริมสร้างทักษะการดาเนิน ชวี ติ และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตต่อไป กาหนดการดาเนินการปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี ด้านท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ผลการดาเนินงาน จากการวิเคราะห์รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในมาตรฐานด้านผู้เรียน พบว่า สถานศึกษามีผลการพัฒนาผู้เรียนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่มีความโดดเด่น มีผลการประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษาในประเด็น ด้านความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ด้านการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างและหลากหลายและด้านสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๑๐๐ บรรลุเป้าหมายสูงกว่าสถานศึกษากาหนดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อเนือ่ ง ๓ ปกี ารศึกษา (๒๕๕๙ - ๒๕๖๑) ส ถ า น ศึ ก ษ า ค ว ร ส่ ง เส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ร สู้ นู่ วั ต ก ร ร ม ที่ เป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ด้วยการสร้าง/พัฒนาหลักสูตรให้เป็นรูปธรรม ซ่ึงประกอบด้วย ส่วนนา / ความนา / วิสัยทัศน์ ของ หลักสูตร/ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น /คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ / โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา / มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตัวชวี้ ัด /โครงสร้างเวลาเรยี น ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด /คาอธิบาย รายวิชา /แบบประเมนิ ผลการใช้หลักสูตร

36 โดยผ่านกระบวนการทดลองใช้และพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ในลักษณะรายงานการวิจัย ๕ บท เพ่ือให้เปน็ นวัตกรรมแบบอย่างและนาไปเผยแพร่ตอ่ ไป สรุปการประเมนิ ด้านที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มีระดบั คณุ ภาพ ดมี าก จดุ เดน่ ๑. สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นการบรหิ าร จัดการศึกษาเพื่อพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ภาพ ๒. สถานศึกษาสรา้ งเครอื ข่ายการมีส่วนร่วมของผูม้ สี ่วนเกี่ยวข้องในการบริหารจดั การ ๓. สถานศึกษาจัดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการการ สภานักเรียนเพ่ื อฝึกเป็นผู้นาผู้ตามท่ีดีทางาน เป็นทมี รบั ผิดชอบงานต่อการนกั เรียน จุดที่ควรพัฒนา ๑. การเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองหรือผ้มู ีส่วนได้เสียได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการบริหาร จดั การสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผเู้ รยี นให้มคี ณุ ภาพ ๒. การสร้างเครอื ข่ายความร่วมมือผมู้ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ งในการบรหิ ารและจัดการ ๓. การมคี ณะกรรมการสภานักเรยี นรบั ผดิ ชอบงานตอ่ การนกั เรยี น ขอ้ เสนอแนะ ๑. สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นใน การบรหิ ารจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพ ๒. สถานศกึ ษาควรสร้างเครอื ขา่ ยการมีสว่ นร่วมของผู้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ งในการบริหารจดั การ ๓. สถานศึกษาควรจัดให้มกี ารเลือกต้ังคณ ะกรรมการการ สภานักเรียนเพ่ือฝ กึ เป็นผู้นาผู้ตามท่ีดี ทางานเป็นทีมรับผดิ ชอบงานตอ่ การนักเรียน กาหนดการดาเนนิ การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี ด้านท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั ผลการดาเนินงาน โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์จัดการเรียนการสอนเชิงรุก(Active Learning)เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ฝึกผู้เรียนปฏิบัติจรงิ เป็นอาชีพได้ เช่นการตัดผม การซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าเปน็ ต้น ด้านการบริหารจัดการช้ันเรยี น เชิงบวก ห้องเรียนสะอาด อากาศผ่านสะดวก มีส่ือและวัสดุช่วยสอนพอเพียงทั้งส่ือธรรมชาติและส่ือนวัตกรรม ด้านจิตวิทยาสังคมสร้างบรรยากาศการมสี ว่ นร่วม ส่งเสริมผู้เรยี นมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับครูและเพื่อนรว่ มช้ัน ครูให้ ความเป็นกัลยาณมิตรต่อผู้เรียน รักเด็กเหมือนบุตรหลาน จัดห้องเรียนเอ้ือต่อการเรยี นรู้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ แบบบูรณ าการร่วมมือในกลุ่มผู้เรียน จัดกิจกรรมการสอนให้ท้าทาย ครูวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างชัดเจนท้ังในส่วนของเนื้อหาและกิจกรรมการปฏิบัติ ครูผู้สอนต้องใจกว่างยอมรับความสามารถการคิด และผลงานผู้เรียน เช่นกิจกรรมผมสวยด้วยมือเรา กิจกรรมสบู่สมุนไพร กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า กิจกรรม ซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ กิจกรรมน้าหมักชีวภาพ กิจกรรมส่ิงประดิษฐ์วิทยาศาสตร์เป็นต้น สถานศึกษาใช้สื่อ และนวัตกรรม DLIT (Distance Learning information Technology) ๕ ชนิดเป็นเคร่ืองช่วยสอน ได้แก่ DLIT: Classroomห้ อ ง เรี ย น เชิ ง บ ว ก DLIT: Resources ค ลั ง ส่ื อ DLIT: Library ห้ อ ง ส มุ ด อ อ น ไล น์ DLIT:PLC

37 ชุมการเรียนรู้วิชาชีพ DLIT: Assessmentคลังข้อสอบ ผู้เรียนนาเสนอโครงงานหลากหลาย เช่น โครงงานผม สวยด้วยมือเรานักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เป็นช่างตัดผมให้นักเรียนรุ่นน้อง โครงงานนักคอมรุ่นเยาว์นักเรียนฝึกทักษะซ่อมเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ในโรงเรยี นได้ ส่งผลให้ไม่ต้องนาเคร่ือง โสตทัศนูปกรณ์ ออกไปซ่อมที่ร้านซ่อมภ ายนอก สถานศึกษาส่งนักเรียนแข่งขันทักษะทางวิชาการงาน ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญทองหลายรายการ สรุปการประเมนิ ด้านท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เป็นสาคัญ มีระดบั คณุ ภาพ ดี จดุ เดน่ โครงการนัก Computer รุ่นเยาว์ (นกั คอมรุ่นเยาว์) นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงช้นั มธั ยมศึกษา ปีท่ี ๓ มีความสามารถในการซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิดได้เป็นการช่วยเหลือ สถานศึกษาโดยการซ่อมโสตทัศนูปกรณ์ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลาไม่ต้องนาเคร่ืองช่วยสอน (Teaching Aid) เหลา่ นี้ออกไปซอ่ มภายนอกให้เสียเวลาและไมส่ ิ้นเปลืองงบประมาณมากกว่าที่ควรจะเป็น จดุ ทคี่ วรพัฒนา ๑. สถานศึกษาขาดเอกสารงานวิจัยครอบคลุม๘กลุ่มสาระ เป็นเครื่องมือช่วยสอนซ่อมเสริมช่วยเหลือ เดก็ กลุ่มอ่อนตามนโยบายไมท่ งิ้ ใครไว้ข้างหลัง ๒. สถานศึกษายังขาดการนา DLIT มาจัดการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลต่อผู้เรียน ให้เกิดสมรรถนะหลากหลาย ๓. นักเรียนใช้ห้องสมุดมียอดยืมหนังสือเกณฑ์น้อย หนังสือท่ียืมส่วนมากเป็นสานวน หนังสือสุภาษิ ต คาพังเพย ยอดการยืมหนังสืออา้ งองิ หรอื หนงั สือวิชาการเกณฑ์น้อย ข้อเสนอแนะ ๑. สถานศึกษาควรทารายงานการวิจัยชั้นเรียนครอบคลุม ๘กลุ่มสาระทุกช้ันเรียนตลอดปีการศึกษา โดยมีผู้บริหารสถานศึกษา กากับ ติดตาม ให้ครูทาวิจัยในช้ันเรียนทุกคนควรเป็นงานวิจัยหน้าเดียวแ ละครู ควรมีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเก่ง ปานกลางและกลุ่มอ่อน เพราะงานวิจัย ชนั้ เรียนเป็นเครอื่ งมอื ช่วยเหลอื ผเู้ รียนกลุ่มอ่อนตามนโยบายไมท่ ง้ิ ใครไว้ขา้ งหลงั ๒ . ส ถ าน ศึ ก ษ าค ว รน า DLIT (Distance Learning information Technology) ม าพ ฒั น าคุ ณ ภ าพ ผู้เรยี นโดยครูวางแผนจัดการเรียนรบู้ ูรณาการ DLIT เชน่ ๑. DLIT : Classroom ห้องเรียนเชงิ บวก ๒. DLIT : Resorces คลงั ส่ืออุปกรณ์ทัศนปู กรณ์ ๓. DLIT : Library ใชห้ ้องสมดุ เกดิ ประโยชนแ์ กผ่ ู้เรียนหลากหลาย ๔. DLIT : PLC : Professional Learning Community มกี ารปรึกษาวิเคราะห์ปญั หา การเรียนรรู้ ะหวา่ งสาระเดียวกนั ตลอดเวลา ๕. DLIT : Assessment คลงั ข้อสอบ มีการวดั ระหวา่ งเรยี น วัดหลังเรียน วดั กลางภาค วัดผลปลายภาค เปน็ ต้น ๓. สถานศึกษาควรปรับปรุงระบบบริหารจัดการหอ้ งสมุดเป็ นขุมพลงั ปัญญาแท้จริง โดยครูย่ัวยุผู้เรียน ใช้ห้องสมุดเป็นประจา อาจบารุงขวัญกาลังใจมากกว่าการใช้กฎ ระเบียบ ส่งเสริมผู้เรียนค้นคว้าใช้หนังสือ

38 อ้างอิงบทเรียนมากย่ิงข้ึน ยั่วยุนักเรียนค้นคว้าหาความรู้ไปทาการบ้านหรือเขียนรายงานเพ่ือนาเสนอครู รายวิชา โดยดาเนนิ การตลอดปกี ารศึกษา กาหนดการดาเนนิ การปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายใน ๑ ปี การประเมนิ ความโดดเดน่ ผลการประเมนิ ความโดดเด่น ความโดดเด่น ระดับคณุ ภาพ ไมม่ กี ารประเมิน  เปน็ ตน้ แบบ มคี วามโดดเด่น ได้รับการยอมรบั ระดบั นานาชาติ (C3)  เป็นตน้ แบบ มคี วามโดดเด่น ไดร้ บั การยอมรบั ระดบั ชาติ (C2)  เป็นต้นแบบหรือมคี วามโดดเดน่ ระดบั ทอ้ งถ่ิน/ภมู ภิ าค (C1)  ยงั ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑก์ ารพจิ ารณาการประเมินความโดดเด่น คารบั รองของคณะผูป้ ระเมนิ รายงานนี้ได้ตรวจสอบพิจารณาความถกู ต้องของรายงานในประเดน็ ต่อไปนี้เรียบร้อยแลว้  ตรวจสอบคาผิด การใช้ภาษา  ตรวจสอบรูปแบบให้เป็นไปตามท่ี สมศ. กาหนด  ตรวจสอบความถูกต้องของผลการประเมิน ตลอดจนความสอดคล้องตั้งแต่เน้ือหา จุดเด่น จดุ ทค่ี วรพัฒนา ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาสนู่ วตั กรรม และการประเมนิ ความโดดเด่น รายชื่อ ตาแหนง่ ลงชอ่ื ๑. นายจาลอง สุโพธิณะ ประธาน ๒. นายดารง จนั ทคั ต กรรมการ ๓. นายเฉลิม จกั รชุม กรรมการ ๔. นางบุญล้า ธรรมสินธุ์. กรรมการและเลขานุการ วันที่ ๑๘ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓

39 สว่ นท่ี 2 กฎหมายและนโยบายที่เกยี่ วข้อง 1. ศาสตรพ์ ระราชา ศาสตรพ์ ระราชา ถือว่า เป็น “ตานานแห่งชีวิต” เพราะบนั ทึกจากประสบการณจ์ ากการทรงงานท่ีทา ให้ประเทศไทยสามารถผา่ นวิกฤตการณ์ตา่ ง ๆ มาได้ทกุ มิติ สามารถน้อมนาไปสู่การปฏิบตั ไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี หลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี 9 1.จะทาอะไรตอ้ งศกึ ษาข้อมูลใหเ้ ป็นระบบ ทรงศกึ ษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเปน็ ระบบจากข้อมลู เบ้ืองตน้ ทงั้ เอกสาร แผนท่ี สอบถามจาก เจ้าหนา้ ท่ี นกั วิชาการและราษฎรในพื้นทใ่ี ห้ไดร้ ายละเอียดทถ่ี กู ต้อง เพอ่ื นาขอ้ มูลเหล่าน้ันไปใชป้ ร จรงิ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรงตามเปา้ หมาย 2. ระเบิดจากภายใน จะทาการใดๆ ต้องเรม่ิ จากคนทีเ่ กย่ี วข้องเสียก่อน ตอ้ งสร้างความเขม้ แข็งจากภายในให้เกิดค เข้าใจและอยากทา ไมใ่ ช่การสัง่ ให้ทา คนไม่เขา้ ใจก็อาจจะไม่ทากเ็ ปน็ ได้ ในการทางานนั้นอาจจะต้องคยุ หรอื ประชมุ กับลูกน้อง เพ่ือนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพ่ือใหท้ ราบถงึ เป้าหมายและวธิ ีการต่อไป 3. แก้ปญั หาจากจดุ เลก็ ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แตเ่ มื่อจะลงมือแก้ปญั หานั้น ควรนมกั จะมองขา้ มองในส่ิงทีค่ แลว้ เร่ิมแก้ปญั หาจากจดุ เล็กๆ เสียกอ่ น เมื่อสาเรจ็ แล้วจงึ ค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเร่ือยๆ ทลี ะจดุ เอามาประยุกต์ ใช้กบั การทางานได้ โดยมองไปท่ีเปา้ หมายใหญ่ของงานแต่ละชิน้ แล้วเริม่ ลงมือทาจากจุ ก่อน ค่อยๆ ทา คอ่ ยๆ แกไ้ ปทลี ะจุด งานแต่ละชิก้ ็จะลลุ วงไปไดต้ ามเป้าหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหวั คิดอะไรไม่ ออกก็ต้องแกไ้ ข การปวดหวั นีก้ อ่ น มันไม่ได้แก้อาการจริง แตต่ ้องแก้ปัญหาที่ทาให้เราปวดหวั ให เพ่ือจะให้อยู่ในสภาพที่ดีได้…” 4. ทาตามลาดบั ขน้ั เริม่ ต้นจากการลงมือทาในสิง่ ที่จาเป็นก่อน เมื่อสาเร็จแล้วก็เร่ิมลงมอื ส่ิงทจี่ าเปน็ ลาดับต่อไป ความรอบคอบและระมดั ระวัง ถา้ ทาตามหลักนี้ได้ งานทกุ สิ่งก็จะสาเรจ็ ได้โดยงา่ ยในหลวงรชั กาลที่…9 ทรง เรม่ิ ตน้ จากส่งิ ท่จี าเป็นท่ีสุดของประชาชนเสยี กอ่ นาธารณสขุ ได้แก่ จากน้นั จงึ เป็นเร่ืองสาธารณปู โภคสุขภาพส ขน้ั พน้ื ฐาน และสงิ่ จาเป็นในการประกอบอาชพี อาทิ ถนน แหลง่ นา้ เพ่ือการเกษตร การอปุ โภคบรโิ ภค เน้น ปรับใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นท่รี าษฎรสามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ และเกดิ ประโยชนส์ งู สุด “การพัฒนา จาเปน็ ตอ้ งทาตามลาดบั ขน้ั ร้างพื้นฐานตอ้ งส คือความพอมี พอกนิ พอใช้ของประชาชนส่วนใหญเ่ ป็นเบ้ืองต้น กอ่ น ใชว้ ิธกี ารและอุปกรณท์ ีป่ ระหยดั แต่ถูกต้องตามหลักวชิ า เมื่อได้พืน้ ฐานท่ีมัน่ คงพร้อมพอปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ล้วจึงคอ่ ยสรา้ งเสรมิ ความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สงู ขึ้นโดยลาดับ ตอ่ ไปรมราโชวาท…” พระบ ของในหลวงรัชกาลท่ี9เมอ่ื วันที่18กรกฎาคม 2517

40 5. ภมู ิสงั คม ภูมศิ ำสตร์ สงั คมศำสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณน้ันว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยา เก่ียวกับลักษณะ นสิ ัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถ่นิ ท่ีมคี วามแตกต่างกนั “การพฒั นาจะต้องเปน็ ไปตามภูมิประเทศ ทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอ่ืนคิดอย่างอื่น ไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนาน้ีก็จะเกิด ประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ” 6. ทำงำนแบบองค์รวม ใช้วิธีคิดเพ่ือการทางาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดอย่างเป็นระบบครบ วงจร ทุกสิ่งทุกอย่างมีมิติ เชอ่ื มต่อกัน มองสง่ิ ทีเ่ กิดขน้ึ และแนวทางแกไ้ ขอยา่ งเชื่อมโยง 7. ไมต่ ดิ ตำรำ เม่ือเราจะทาการใดนน้ั ควรทางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์น้นั ๆ ไมใ่ ช่การยดึ ตดิ อยู่ กบั แค่ในตาราวิชาการ เพราะบางท่คี วามรู้ทว่ มหัว เอาตวั ไมร่ อด บางคร้งั เรายึดตดิ ทฤษฎีมากจนเกนิ ไปจนทาอะไรไม่ไดเ้ ลย ส่ิงทเ่ี ราทาบางคร้ัง ตอ้ งโอบออ้ มต่อสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สังคม และจติ วทิ ยาด้วย 8. รู้จักประหยัด เรียบง่ำย ได้ประโยชนส์ ูงสุด ในการพฒั นาและชว่ ยเหลือราษฎร ในหลวงรชั กาลที่ 9 ทรงใชห้ ลกั ในการแก้ปัญหาดว้ ยความ เรยี บงา่ ยและประหยัด ราษฎรสามารถทาไดเ้ อง หาไดใ้ นทอ้ งถ่ินและประยุกตใ์ ช้ส่ิงที่มอี ยู่ในภมู ิภาคน้ันมาแก้ไข ปรบั ปรงุ โดยไม่ตอ้ งลงทนุ สูงหรอื ใช้เทคโนโลยที ีย่ ุง่ ยากมากนกั ดงั พระราชดารัสตอนหนึง่ ว่า “…ให้ปลูกปา่ โดยไมต่ ้องปลูกโดยปล่อยใหข้ ้นึ เองตามธรรมชาติ จะได้ประหยดั งบประมาณ…” 9. ทำให้ง่ำย ทรงคดิ คน้ ดัดแปลง ปรับปรงุ และแก้ไขงาน การพฒั นาประเทศตามแนวพระราชดารไิ ปได้ โดยงา่ ย ไม่ยงุ่ ยาก ซบั ซ้อนและท่สี าคัญอย่างยง่ิ คือ สอดคล้องกบั สภาพความเป็นอยขู่ องประชาชนและระบบนิเวศโดยรวม “ทาใหง้ ่าย” 10. กำรมสี ่วนร่วม ทรงเป็นนกั ประชาธปิ ไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจา้ หน้าท่ที ุกระดับได้ มารว่ มแสดงความ คดิ เหน็ “สาคัญทส่ี ุดจะต้องหัดทาใจใหก้ ว้างขวาง หนกั แน่น รู้จักรับฟังความคดิ เหน็ แม้กระท่ังความวิพากษ์วิจารณจ์ าก ผอู้ ่ืนอยา่ งฉลาดน้นั แทจ้ ริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อนั หลากหลายมาอานวยการปฏิบัตบิ รหิ ารงานให้ ประสบผลสาเร็จทีส่ มบรู ณ์นัน่ เอง” 11. ตอ้ งยดึ ประโยชนส์ ่วนรวม ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงระลกึ ถึงประโยชนข์ องสว่ นรวมเป็นสาคญั ดงั พระราช ดารสั ตอนหนงึ่ วา่ “…ใครต่อใครบอกวา่ ขอใหเ้ สียสละสว่ นตวั เพือ่ สว่ นรวม อันนี้ฟังจนเบ่ือ อาจราคาญด้วยซา้ ว่า ใครต่อ ใครมากบ็ อกวา่ ขอใหค้ ิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานกึ ในใจวา่ ให้ๆ อยูเ่ รอ่ื ยแลว้ สว่ นตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนท่ีให้ เปน็ เพอ่ื สว่ นรวมนน้ั มิได้ให้ส่วนรวมแตอ่ ยา่ งเดียว เปน็ การให้เพือ่ ตัวเองสามารถทีจ่ ะมีส่วนรวมทีจ่ ะอาศยั ได้…” 12. บริกำรที่จดุ เดียว ทรงมีพระราชดาริมากวา่ 20 ปีแล้ว ใหบ้ ริหารศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาหลายแห่งท่ัวประเทศโดยใช้ หลกั การ “การบริการรวมที่จุดเดยี ว : One Stop Service” โดยทรงเน้นเรือ่ งรู้รักสามัคคแี ละการรว่ มมือร่วมแรงรว่ มใจ กนั ด้วยการปรบั ลดช่องว่างระหวา่ งหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง

41 13. ใชธ้ รรมชำตชิ ว่ ยธรรมชำติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิด กับ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติจะต้องใช้ธรรมชาติเข้า ชว่ ยเหลือเราดว้ ย 14. ใช้อธรรมปรำบอธรรม ทรงนาความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติใน การแก้ไขปัญหา และปรับปรุงสภาวะที่ไม่ปกติเข้าสู่ระบบที่ปกติ เช่น การบาบัดน้าเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซ่ึงมีตามธรรมชาติให้ดูดซึมส่ิง สกปรกปนเปอ้ื นในน้า 15. ปลูกป่ำในใจคน การจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจิตสานึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็นประโยชน์ กับส่ิงท่ี จะทา…. “เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบน แผน่ ดนิ และจะรกั ษาต้นไม้ด้วยตนเอง” 16. ขำดทุนคอื กำไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ที่มีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การ เสียสละ” เป็น การกระทาอนั มผี ลเป็นกาไร คอื ความอยดู่ มี สี ุขของราษฎร 17. กำรพึง่ พำตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้มีความ แข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อม และสามารถ พึ่งตนเองไดใ้ นท่สี ุด 18. พออยพู่ อกิน ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีด สมรรถนะท่ีก้าวหน้า ต่อไป 19. เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรัชญาท่ีในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดารัสชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิต ให้ ดาเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และการ เปลย่ี นแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานส้ี ามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ดท้ ัง้ ระดบั บุคคล องคก์ ร และชมุ ชน 20. ควำมซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ จริงใจตอ่ กัน ผู้ทีม่ ีความสุจริตและบรสิ ุทธ์ใิ จ แม้จะมคี วามร้นู ้อย กย็ ่อมทาประโยชน์ให้แก่สว่ นรวมได้มากกว่าผู้ ที่มีความรู้มาก แตไ่ ม่มคี วามสุจริต ไมม่ คี วามบริสุทธใ์ิ จ 21. ทำงำนอยำ่ งมคี วำมสุข ทางานต้องมีความสุขด้วย ถ้าเราทาอย่างไม่มีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามีความสุขเราจะชนะ สนุกกับการ ทางานเพียงเท่าน้ัน ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสุขท่ีเกิดจากการได้ทาประโยชน์ให้กับผู้อื่นก็ สามารถทาได้ “…ทางานกับฉัน ฉนั ไม่มอี ะไรจะให้ นอกจากการมีความสขุ ร่วมกัน ในการทาประโยชน์ให้กบั ผู้อืน่ …”

42 22. ควำมเพียร การเริ่มต้นทางานหรอื ทาสิง่ ใดน้ันอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ตอ้ งอาศยั ความอดทนและความ ม่งุ ม่นั ดงั เชน่ พระ ราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริยผ์ ู้เพยี รพยายามแมจ้ ะไม่เห็นฝ่ังก็จะวา่ ยน้าต่อไป เพราะถา้ ไมเ่ พยี รวา่ ยกจ็ ะตกเป็น อาหารปู ปลาและไม่ไดพ้ บกับเทวดาทชี่ ว่ ยเหลือมิใหจ้ มนา้ 23. รู้ รัก สำมคั คี รู้ คือ รูป้ ญั หาและรวู้ ธิ แี ก้ปญั หานั้น รัก คอื เม่ือเรารถู้ ึงปญั หาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ทจี่ ะลง มือทา ลงมอื แก้ไขปัญหานน้ั สามคั คี คือ การแก้ไขปญั หาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทาคนเดียวได้ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือร่วม ใจกัน 2. พระบรมรำโชบำยดำ้ นกำรศึกษำในสมเดจ็ พระเจำ้ อยู่หัวมหำวชริ ำลงกรณบดินทรเทพวรำงกูร กำรศกึ ษำตอ้ งมุ่งสร้ำงพ้นื ฐำนให้แกผ่ ู้เรียน 4 ด้ำนดงั น้ี 1. มีทศั นคตทิ ถี่ ูกต้องตอ่ บำ้ นเมือง 1.1 มีความรู้ความเขา้ ใจต่อชาติบา้ นเมือง 1.2 ยดึ มัน่ ในศาสนา 1.3 มนั่ คงในสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ 1.4 มคี วามเออ้ื อาทรต่อครอบครวั และชุมชนของตน 2. มพี น้ื ฐำนชีวิตท่ีมน่ั คง - มีคุณธรรม 2.1 รูจ้ ักแยกแยะส่ิงทผี่ ิด - ชอบ/ชัว่ - ดี 2.2 ปฏบิ ัติแต่สิง่ ที่ชอบ ส่งิ ทีด่ งี าม 2.3 ปฏิเสธส่งิ ที่ผดิ สง่ิ ทีช่ ่วั 2.4 ชว่ ยกันสรา้ งคนดีให้แกบ่ ้านเมือง 3. มีงำนทำ – มีอำชีพ 3.1 การเลยี้ งดูลกู หลานในครอบครัว หรอื การฝกึ ฝนอบรมสถานศึกษาตอ้ งมุ่งใหเ้ ด็กและเยาวชน รักงาน สงู้ านทาจนงานสาเรจ็ 3.2การฝึกฝนอบรมทงั้ ในหลักสูตรและนอกหลกั สูตร ต้องมีจดุ มุ่งหมายใหผ้ ู้เรียนทางานและมงี านทาใน ท่ีสุด 3.3 ต้องสนับสนุนผสู้ าเร็จหลกั สตู ร มอี าชีพ มงี านทาจนสามารถเลีย้ งตนเอง และครอบครวั 4. เป็นพลเมืองดี 4.1 การเป็นพลเมอื งดี เป็นหนา้ ท่ีของทกุ คน 4.2 ครอบครัว-สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องสง่ เสริมใหท้ ุกคนมีโอกาสทาหนา้ ทเ่ี ปน็ พลเมืองดี 4.3 การเป็นพลเมอื งดี คอื “เหน็ อะไรทจ่ี ะทาเพือ่ บา้ นเมืองไดก้ ต็ ้องทา เชน่ งานอาสาสมัครงานบาเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ล ให้ทาด้วยความมีนา้ ใจและเอือ้ อาทร

43 3. รฐั ธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พทุ ธศกั รำช 2560 รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศทย่ี ังคง เจตนารมณ์ ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข โดยได้ระบขุ ้อมาตรา ที่ต้องนาไปใช้ บังคบั ในการจดั การศกึ ษา การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษา และการเข้ารับบริการการศึกษาของประชาชน ใน ประเดน็ สาคญั ทีเ่ กีย่ วข้องกับสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ดงั นี้ 1. รฐั ต้องดาเนนิ การให้เด็กทุกคนไดร้ บั การศึกษาเปน็ เวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวยั เรยี นจนจบการศึกษา ภาค บังคับอยา่ งมคี ุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย 2. รัฐตอ้ งดาเนนิ การให้เด็กเล็กไดร้ บั การดแู ลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาร่างกาย จติ ใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกบั วยั โดยสง่ เสริมและสนับสนุนใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคเอกชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการดาเนนิ การ 3. รัฐตอ้ งดาเนินการใหป้ ระชาชนไดร้ ับการศึกษาตามความตอ้ งการในระบบต่างๆ รวมท้ังส่งเสรมิ ให้มี การฟ เรยี นรู้ตลอดชวี ติ และจัดให้มีการร่วมมอื ระหวา่ งรัฐ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัด การศกึ ษาทกุ ระดบั โดยรัฐมีหน้าที่ดาเนนิ การ กากับ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนใหก้ ารจัดการศกึ ษาดังกลา่ วมีคุณภาพ และได้ มาตรฐานสากล 4. การศึกษาทัง้ ปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้เปน็ คนดี มีวินยั ภมู ิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ตาม ความถนัดของ ตน และมีความรับผดิ ชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 5. ในการดาเนนิ การให้เด็กเล็กไดร้ บั การดูแลและพัฒนา หรอื ใหป้ ระชาชนได้รบั การศึกษา รฐั ตอ้ งดาเนินการ ให้ผู้ ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รบั การสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาตามความถนดั ของตน 6. ให้จัดตั้งกองทนุ เพ่ือใชใ้ นการชว่ ยเหลือผขู้ าดแคลนทนุ ทรัพย์ เพ่ือลดความเหล่ือมล้าในการศึกษา และ เพื่อ ส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพและประสิทธภิ าพครู 7. ใหด้ าเนนิ การปฏริ ูปประเทศในดา้ นการศึกษา ดังต่อไปนี้ 7.1 ดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพฒั นากอ่ นเขา้ รบั การศกึ ษา เพื่อใหเ้ ด็กเลก็ ได้รบั การพฒั นา รา่ งกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาใหส้ มกับวัยโดยไม่เกบ็ ค่าใชจ้ ่าย 7.2 ดาเนนิ การตรากฎหมายเพื่อจดั ต้ังกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา ตามวตั ถุประสงคข์ ้อ 6 7.3 ให้มกี ลไกและระบบการผลิต คดั กรองและพฒั นาผ้ปู ระกอบวิชาชพี ครูและอาจารย์ ใหไ้ ด้ผมู้ ีจิตวิญญาณแหง่ ความเปน็ ครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทน ทีเ่ หมาะสมกบั ความสามารถ และประสทิ ธภิ าพในการ สอน รวมทง้ั มกี ลไกสรา้ งระบบคณุ ธรรมในการบริหารงานบคุ คลของผู้ประกอบวชิ าชพี ครู 7.4 ปรับปรุงการจัดการเรยี นการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผเู้ รยี นสามารถเรียนได้ตามความถนัด และปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายดังกล่าว โดยให้สอดคล้องกันทั้งในระดบั ชาติ และระดบั พ้ืนท่ี

44 4. ยทุ ธศำสตรช์ ำตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี รัฐบาลได้กาหนดวสิ ัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ในการดาเนินงาน ไว้ ดงั นี้ วสิ ัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยัง่ ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง” และเป็นคติพจนป์ ระจาชาตวิ ่า “ม่นั คง มงั่ คั่ง ยั่งยืน” ยทุ ธศำสตร์ชำตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) มี 6 ยุทธศาสตรใ์ นการดาเนนิ งานดา้ นตา่ งๆ ได้แก่ ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 1 ด้ำนควำมมน่ั คง เพ่ือปรับเปล่ียนและเสริมสรา้ งเสถียรภาพใหเ้ หมาะสม ตามกรอบ แนวคิด ใหมท่ ีเ่ รยี กวา่ “ความมน่ั คงแบบองคร์ วม” โดยมีเปา้ หมายเพอื่ จดั การสภาวะแวดลอ้ มของประเทศให้ม่ันคง ปลอดภยั และ สงบเรยี บรอ้ ยในทุกระดับ ทุกมติ ิ และพร้อมรบั มือกับภยั คุกคามและภัยพบิ ัติไดท้ ุกรปู แบบ และ ทกุ ระดบั ความรุนแรง ใช้ กลไกในการแก้ไขปญั หาแบบบรู ณาการ ทัง้ กบั ส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคก์ รท่ีไม่ใชร่ ัฐ ประเทศเพื่อน บา้ น และมิตรประเทศท่วั โลก บนพน้ื ฐานหลักธรรมมาภบิ าล เป้ำหมำย 1. ประชาชนอยูด่ ี กินดี และมคี วามสุข 2. บ้านเมอื งมีความมัน่ คง 3. กองทัพ หนว่ ยงานด้านความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพร้อมในการ ป้องกนั และแก้ไขปญั หาความมน่ั คง 4. ประเทศไทยมบี ทบาทด้านความมัน่ คงเปน็ ทช่ี ืน่ ชมและไดร้ ับการยอมรับโดยประชาคมระหวา่ ง ประเทศ 5. การบรหิ ารจัดการความมั่นคงมีผลสาเรจ็ ทเ่ี ปน็ รูปธรรมอย่างมปี ระสิทธิภาพ ประเด็นยทุ ธศำสตร์ชำติ 1. การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 2. การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาทีม่ ีผลกระทบต่อความมั่นคง 3. การพัฒนาศกั ยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภยั คุกคามทก่ี ระทบต่อความมั่นคงของชาติ 4. การบรู ณาการความร่วมมือด้านความม่ันคงกับอาเซียนและนานาชาติรวมถึงองค์กรภาครฐั และที่ มิใช่ ภาครฐั 5. การพัฒนากลไกการบรหิ ารจดั การความมนั่ คงแบบองค์รวม ยุทธศำสตรท์ ่ี 2 ดำ้ นกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน เพื่อใหป้ ระเทศไทยสามารถยกระดับไปสู่ การเป็น ประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยปรบั โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจ ใหเ้ กิดการ ยกระดับรายได้เพื่อลดความเหล่ือมล้า สรา้ งเครื่องยนตท์ างเศรษฐกิจใหม่เพ่ือนาประเทศ สู่เป้าหมาย ในชว่ ง 20 ปี ข้างหน้า จะมุ่งเน้นการวิจัย พัฒนานวตั กรรม และนาเทคโนโลยีใหม่มาปรบั ใชแ้ ละต่อยอดภาคการผลติ และบรกิ ารใน ปัจจุบัน เพ่ือเพ่ิมผลิตภาพ และสร้างมลู ค่าเพม่ิ การพฒั นารูปแบบการค้า ใหส้ อดรับกับเทคโนโลยี ท่ีเปลยี่ นแปลงไป การ สง่ เสรมิ ให้เกดิ สงั คมผ้ปู ระกอบการ การพัฒนาทักษะและความสามารถของแรงงาน ทงั้ นี้ ภายใตก้ รอบการปฏริ ปู และ พัฒนาปจั จยั เชงิ ยุทธศาสตร์ทุกดา้ น

45 เปำ้ หมำย 1. ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีพฒั นาแลว้ เศรษฐกิจเตบิ โตอยา่ งมีเสถียรภาพและยัง่ ยืน 2. ประเทศไทยมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั สูงข้นึ ประเด็นยทุ ธศำสตรช์ ำติ 1. การเกษตรสรา้ งมูลค่า 2. อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 3. สรา้ งความหลากหลายดา้ นการท่องเทีย่ ว 4. โครงสรา้ งพืน้ ฐาน เช่อื มไทย เชอื่ มโลก 5. พัฒนาเศรษฐกิจบนพ้นื ฐานผปู้ ระกอบการรุ่นใหม่ ยุทธศำสตรท์ ี่ 3 ด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศกั ยภำพทรพั ยำกรมนุษย์ เพือ่ ให้ทรพั ยากรมนษุ ย์ใน ทกุ มติ ิและ ในทกุ ช่วงวยั สามารถได้รับการพฒั นาและยกระดับได้เต็มศักยภาพและเหมาะสมตลอดช่วงชีวติ ควบคู่ กับการปฏิรปู ท่ี สาคัญท้งั ในสว่ นของการปรับเปล่ยี นค่านิยมและวัฒนธรรมเพือ่ ให้คนมีความดอี ยู่ใน ‘วิถ’ี การ ดาเนนิ ชีวิตและมีจิตสานึก รว่ มในการสร้างสงั คมทน่ี ่าอยู่ และการเรยี นรแู้ บบพลิกโฉม ในทกุ ระดับตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวัยจนถึงการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ พรอ้ มท้ังการเสรมิ สร้างครอบครัวทเ่ี ขม้ แขง็ อบอุ่นซึง่ เป็นการวางรากฐาน การสง่ ต่อเด็กและเยาวชนทม่ี ีคุณภาพสกู่ าร พัฒนาในช่วงอายุถัดไปภายใต้กรอบการพฒั นา เปำ้ หมำย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถชี ีวติ ในศตวรรษท่ี 21 2. สังคมไทยมสี ภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวติ ประเด็นยุทธศำสตร์ชำติ 1. การปรับเปลีย่ นค่านยิ มและวัฒนธรรม 2. การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต 3. ปฏริ ปู กระบวนการเรียนรทู้ ่ีตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 4. การตระหนักถึงพหปุ ญั ญาของมนุษย์ทหี่ ลากหลาย 5. การเสรมิ สร้างใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะท่ดี ี 6. การสร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ ต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 7. การเสริมสรา้ งศักยภาพการกฬี าในการสรา้ งคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ ยทุ ธศำสตร์ที่ 4 ดำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสควำมเสมอภำคและเท่ำเทยี มกันทำงสังคม เนน้ การตอบโจทย์ การสรา้ ง ความเปน็ ธรรมและลดความเหล่ือมลา้ ทางเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ เพ่ือใหก้ ารเติบโตของประเทศ เป็นการเติบโตท่ี ยงั่ ยนื โดยทกุ คนไดร้ บั ประโยชน์อย่างท่ัวถึงและเปน็ ธรรม มุ่งเนน้ การดึงเอาพลงั ทางสงั คมท่ีประกอบด้วยภาคส่วนตา่ ง ๆ ทง้ั ภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชนทอ้ งถิ่นมาร่วมขบั เคลื่อนการพฒั นาประเทศ ในรูปแบบประชารัฐ เปำ้ หมำย 1. สรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหล่อื มลา้ ในทกุ มติ ิ 2. กระจายศนู ย์กลางความเจริญทางเศรษฐกจิ และสงั คม เพิม่ โอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกาลงั ของ การพฒั นาประเทศในทุกระดับ