Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สพป. ลป 1รายงานประชุมแลกเปลี่ยน ฯ 20 -23 ก.พ. SLC

สพป. ลป 1รายงานประชุมแลกเปลี่ยน ฯ 20 -23 ก.พ. SLC

Published by อัมรินทร์ บุญเอนก, 2022-03-31 04:54:00

Description: สพป. ลป 1รายงานประชุมแลกเปลี่ยน ฯ 20 -23 ก.พ. SLC

Search

Read the Text Version

1

ก2 คำนำ รายงานผลการดาเนินงาน การประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคล่ือนคุณภาพการจัด การศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง มีวัตถุประสงค์ เพ่ือรายงานผล การดาเนินงาน การประชุมปฏิบตั ิการแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ารขับเคลื่อนคณุ ภาพการจดั การศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนใน โครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนา สมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ในจังหวัดลาปาง ตามโครงการส่งเสริมโรงเรียนคุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ระหว่างวันท่ี 20 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ ห้อง ประชมุ จนั ผา โรงแรมเวยี งลคอร และโรงเรียนในสังกัดไดแ้ ก่ โรงเรียนบ้านโปง่ ขวากและโรงเรยี นบา้ นอ้อน กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ขอขอบคุณ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และคณะกรรมการบรหิ ารสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ทใ่ี ห้คาปรกึ ษา และให้ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชนใ์ นการดาเนินงาน ขอขอบคุณผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา คุณครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนโรงเรียนบ้านโป่งขวากและโรงเรียนบ้านอ้อน ตลอดจนคณะทางาน ทุกท่านทใี่ ห้ความร่วมมือในการดาเนินงานจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี หวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่า รายงานผลการดาเนินงาน การประชุมปฏิบัติการแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ารขบั เคล่ือนคุณภาพการจดั การศึกษาดว้ ยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพอื่ พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริม โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ในจังหวัดลาปาง เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน และบุคลากรที่มีความสนใจในการขับเคลื่อนโครงการ ส่งเสริมโรงเรียนคุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนา สมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ และสนับสนุนการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ต่อไป กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1

ข3 สำรบญั หน้า คานา ก สารบญั ข รายงานผลการดาเนินงาน การประชุมปฏบิ ตั ิการแลกเปล่ยี นเรียนร้กู ารขับเคลอื่ นคุณภาพ การจดั การศึกษาดว้ ยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนา สมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ และศกึ ษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชน แหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมือง ร่นุ ใหมใ่ นจงั หวัดลาปาง ความนา 1 วตั ถุประสงค์ 2 เป้าหมาย 2 ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั 2 ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ 2 งบประมาณ 2 การประเมินผลการดาเนินงาน 2 วิธีการดาเนินงาน 2 ผลการดาเนนิ งาน 6 การดาเนินการตามมาตรการเฝ้าระวงั และควบคุมการแพรก่ ระจายของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 10 (COVID-19) ผลการประเมินความพงึ พอใจ 11 ปัญหา/อุปสรรค 13 ข้อเสนอแนะ 13 ภาคผนวก 14 คณะผ้จู ัดทา 39

1 รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำน กำรประชมุ ปฏิบัตกิ ำรแลกเปลีย่ นเรยี นรู้กำรขบั เคล่อื นคณุ ภำพกำรจดั กำรศกึ ษำ ด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่อื พัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ และศึกษำดงู ำนโรงเรยี นในโครงกำรสง่ เสรมิ โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งกำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหมใ่ นจังหวัดลำปำง วนั ที่ 20 – 23 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมจนั ผำ โรงแรมเวยี งลคอร จังหวดั ลำปำง ************************ 1. ควำมนำ ในปงี บประมาณ 2565 สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ไดร้ ่วมกบั สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดาเนินงานโครงการสง่ เสริมโรงเรยี นคุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ กิจกรรมการประชุมปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่ง การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง โดยดาเนนิ การระหวา่ งวันที่ 20 - 23 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมจนั ผา โรงแรมเวียงลคอร มีการจัด กิจกรรมส่งเสริม แลกเปลี่ยน เรียนรู้และศึกษาดูงานโรงเรยี นนารอ่ งในโครงการได้แก่ โรงเรียนบ้านโป่งขวาก และโรงเรียนบ้านอ้อน เพื่อเป็นการนาเสนอผลการดาเนินงานของ Area Team และโรงเรียนนาร่องในโครงการ อีกท้ังเพ่ือเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง หรือเป็น Node ด้วยสร้างทีมช้ีแนะ และเป็นพ่ีเลี้ยง (Coaching and Mentoring) การจัดระบบการหนุนเสริมการพัฒนาคุณภาพ ณ ห้องเรียนและโรงเรียน ที่มีประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผล นาไปส่คู วามสาเรจ็ การจดั การศึกษาต่อไป 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพอ่ื ประชมุ ปฏิบัตกิ ารแลกเปล่ยี นเรยี นร้กู ารขับเคลือ่ นคณุ ภาพการจัดการศึกษา ดว้ ยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ 2.2 เพือ่ ศกึ ษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจงั หวัดลาปาง 3. เป้ำหมำย 3.1 เชิงผลผลิต (Output) ศึกษานเิ ทศก์ Area Team ท่เี ข้ารว่ มโครงการ ในปีงบประมาณ 2565 จานวน 39 เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา และสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน จานวน 130 คน ไดเ้ ขา้ ร่วมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และศกึ ษาดู งานผลการดาเนนิ งานของ Area Team และโรงเรยี นนารอ่ งโครงการ ในสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3.2 เชงิ ผลลัพธ์ (Outcome) รอ้ ยละ 80 ของศกึ ษานิเทศก์ Area Team ท่เี ข้าร่วมโครงการ และสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน ได้รับการเสริมสร้างความรูแ้ ละแลกเปลยี่ นประสบการณ์การดาเนนิ งานของ Area Team และ โรงเรียนนาร่องโครงการ ในสังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

2 4. ผลที่คำดว่ำจะไดร้ ับ ศึกษานิเทศก์ Area Team ท่ีเข้าร่วมโครงการ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้รับการเสริมสร้างความรู้ มีความเข้าใจ และสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปขับเคล่ือนโครงการส่งเสริมโรงเรียน คุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมือง รุ่นใหม่ และสรา้ งวัฒนธรรมใหมใ่ นการเรียนร้รู ว่ มกันเกดิ เปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องและยงั่ ยืน 5. ตัวชี้วัดควำมสำเรจ็ ของโครงกำร 5.1 ร้อยละของศึกษานิเทศก์ Area Team ที่เข้าร่วมโครงการ และสานักงานคณะกรรมการ การศึกษา ขั้น พื้นฐานเข้าร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ และศึกษาดูงานผลการดาเนินงานของ Area Team และโรงเรียนนาร่อง โครงการ ในสังกดั สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 5.2 ระดับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาดูงานผลการดาเนินงานของ Area Team และโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 6. งบประมำณ (ขอถวั จำ่ ยทุกรำยกำร) งบประมาณ (จาก สพฐ.) จานวน 463,000 บาท (ส่ีแสนหกหมน่ื สามพนั บาทถว้ น) - จัดสรรงบประมาณใหก้ บั โรงเรียน 44,700 บาท - คา่ จัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ฯ 405,690 บาท รวมค่าใช้จ่าย 450,390 บาท คงเหลอื 12,610 บาท 7. กำรประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำน ตัวชวี้ ดั /ความสาเรจ็ วธิ ีวัด/ประเมนิ ผล เครื่องมอื ที่ใช้ แบบตอบรับการเขา้ รว่ ม 7.1 ร้อยละของศกึ ษานเิ ทศก์ Area Team ทีเ่ ขา้ ร่วม การตอบรบั ของ ประชุม โครงการ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ผูเ้ ขา้ รว่ มประชมุ แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ ขน้ั พ้นื ฐานเขา้ ร่วมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และศกึ ษา ดูงาน ผลการดาเนินงานของ Area Team และโรงเรียนนาร่อง โครงการ ในสังกดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 7.2 ระดบั ความพึงพอใจตอ่ การเขา้ ร่วมแลกเปลีย่ น สอบถาม เรยี นรู้ และศกึ ษาดงู านผลการดาเนินงานของ Area ความพึงพอใจ Team และโรงเรยี นในสงั กัด สานักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 8. วิธีกำรดำเนนิ งำน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้ดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียน คุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมือง รุ่นใหม่ ด้วยรูปแบบการนิเทศ APICE Model และดาเนินกิจกรรมการประชุมปฏิบัติการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนา สมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้

3 (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง ประจาปี งบประมาณ 2565 ระหว่างวันท่ี 20-23 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โรงแรมเวียงลคอร จังหวัดลาปาง โดยความร่วมมือระหว่างสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มวี ิธีการและกิจกรรมการดาเนินงาน ดงั นี้ 8.1 วธิ กี ำรดำเนนิ งำน กิจกรรมท่ี 1 กำรวำงแผน 1. ประชุม วางแผนการดาเนินงานรว่ มกบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานการประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมือง รุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง ระดับเขตพ้ืนที่การศกึ ษา 3. กาหนดแนวทางการดาเนินงานการประชุมปฏบิ ัติการแลกเปล่ียนเรียนรู้การขับเคล่ือนคุณภาพการ จัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหมใ่ นจงั หวดั ลาปาง ประจาปีงบประมาณ 2565 กิจกรรมที่ 2 กำรจดั ทำแผนกำรดำเนนิ งำนโครงกำร 1. จัดทาโครงการและแผนการขับเคล่ือนการส่งเสริมโรงเรียนคุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ประจาปีงบประมาณ 2565 ทีเ่ ข้า รว่ มโครงการ จานวน 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบา้ นโป่งขวาก และโรงเรยี นบ้านอ้อน 2. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการดาเนินงานการประชุมปฏิบัติการแลกเปล่ียนเรียนรู้การขับเคล่ือน คุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ พลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหมใ่ นจงั หวดั ลาปาง ระดบั เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา 3. ดาเนินการประชุมเพื่อช้ีแจงแนวทางการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณโรงเรียนท่ีเข้าร่วม โครงการส่งเสริมโรงเรียนคุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และงบประมาณการประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อน คุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ พลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหมใ่ นจงั หวดั ลาปาง ประจาปงี บประมาณ 2565 กจิ กรรมที่ 3 กำรดำเนินงำน 1. ดาเนินการประชุมช้ีแจงแนวทางการดาเนินงาน การประชุมปฏิบัติการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนา สมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหมใ่ นจงั หวดั ลาปาง 2. ดาเนินการจัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนท่ีเป็นสถานที่ศึกษาดูงาน การประชุมปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ และศกึ ษาดงู านโรงเรียนในโครงการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็น

4 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัด ลาปางจานวน 2 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนบ้านโป่งขวาก และโรงเรียนบ้านอ้อน เพื่อดาเนนิ กิจกรรม ค่าอาหาร กลางวนั อาหารว่าง และเครอ่ื งดืม่ และคา่ ใช้จา่ ยในการจดั นทิ รรศการ 3. กาหนดการ การประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาด้วย นวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงาน โรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง ระหว่างวันท่ี 20-23 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โรงแรม เวยี งลคอร อาเภอเมอื งลาปาง จงั หวัดลาปาง 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมตามกาหนดการ ประกอบด้วยกิจกรรมศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการ ส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมือง รุน่ ใหม่ในจังหวัดลาปาง ที่เข้าร่วมโครงการปีงบประมาณ 2563-2564 ได้แก่ โรงเรียนบ้านอ้อน และโรงเรียน บ้านโป่งขวาก และ กิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ นาเสนอผลการศึกษาดูงาน ในประเด็น ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู ด้านการเรียนรู้ ของผเู้ รยี น การนาความร้ทู ่ไี ด้รบั ไปประยกุ ต์ใชใ้ นหน่วยงานของตนเอง และพฒั นางานของโรงเรยี น ดังน้ี 1) กิจกรรมวนั ท่ี 1 วันท่ี 20 กุมภำพันธ์ 2565 (1) ผู้เขา้ ร่วมประชุมลงทะเบยี นเขา้ รว่ มการประชุม (2) คณะทางานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และ คณะทางาน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประชุมหารือการจดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละการจัด นิทรรศการแสดงผลงาน และแบ่งกลมุ่ ย่อยรายช่ือผู้ศกึ ษาดงู านโรงเรียนนารอ่ งโครงการ โรงเรียนบา้ นออ้ น และ โรงเรียนบา้ นโป่งขวาก 2) กิจกรรมวนั ท่ี 2 วันที่ 21 กุมภำพันธ์ 2565 (1) คณะผู้ศกึ ษาดูงานลงทะเบียนรายชื่อ และแบ่งกลุ่มย่อยตามรายชอื่ กล่มุ เพ่ือเดินทางไปศกึ ษาดู งานโรงเรยี นนาร่องโครงการ โรงเรียนบ้านออ้ น และโรงเรยี นบา้ นโป่งขวาก (2) กิจกรรมศึกษาดูงานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการ Open Class โรงเรียนเป็น ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (SLC) ณ โรงเรียนบ้านอ้อน อาเภองาว และ โรงเรียนบ้านโป่งขวาก อาเภอห้างฉัตร จังหวดั ลาปาง (3) คณะผู้ศกึ ษาดงู านประชุมกลมุ่ ย่อย การสรปุ ผลการศึกษาดงู านโรงเรยี นนาร่องโครงการ 3) กิจกรรมวนั ที่ 3 วนั ท่ี 22 กุมภำพันธ์ 2565 (1) คณะผูศ้ กึ ษาดงู านร่วมประชมุ พรอ้ มกัน ณ ห้องประชมุ จนั ผา โรงแรมเวยี งลคอร จังหวดั ลาปาง (2) คณะผู้ศกึ ษาดูงานร่วมพิธเี ปดิ การประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้การขับเคล่ือนโรงเรียนเป็น ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (SLC) โดยนายสมเกียรติ ปงจันตา ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (3) การนาเสนอผลการขับเคลื่อนโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (SLC) ของ Area Team สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยนายเอกฐสิทธ์ิ กอบกา ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 (4) กิจกรรมการบรรยาย การขับเคลื่อนนวัตกรรม เพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาภายใต้ การดูแลของสานักนวัตกรรมการจดั การศกึ ษา

5 (5) กิจกรรมการรประชุมกลุ่มย่อย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การขับเคล่ือนโรงเรียนเป็นชุมชน แห่งการเรียนรู้ (SLC) ของเขตพ้ืนที่การศึกษานาร่องโครงการ โดย นางสาวดุจดาว ทิพย์มาตย์ ผู้อานวยการ กลุ่มวิจัย และส่งเสริมการวิจัยทางการศึกษา สานักงาน คณ ะกรรมก ารการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ (6) กิจกรรมสรุปผลการนาเสนอผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อเสนอ การจัดกิจกรรมโรงเรียนเป็น ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (SLC) (7) กิจกรรมประชุมวางแผนการดาเนินงานโครงการส่งเสริมโรงเรียนคุณภาพของชุมชนด้วย นวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 4) กิจกรรมวนั ที่ 4 วนั ที่ 23 กุมภำพันธ์ 2565 กิจกรรมช้แี จงแนวทางการขบั เคลื่อนการดาเนนิ งาน โรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ โครงการ ส่งเสริมโรงเรียนคุณภาพของชุมชนด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนา สมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้วย โรงเรียนท่ีเข้ารว่ มโครงการในรนุ่ ท่ี 1 และ 2 และโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชนท่เี ข้าร่วมโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 5. กิจกรรมการจัดนิทรรศการของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และ ตัวแทนโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ โรงเรียนบ้านมะอึ สพป. ร้อยเอ็ด เขต 1 โรงเรียนบ้านอ้อน และ โรงเรยี นบ้านโป่งขวาก สพป. ลาปาง เขต 1 กิจกรรมท่ี 4 สรุปและรำยงำนผลกำรดำเนนิ งำน 1. ประชุมสรปุ ผลการดาเนนิ งานการประชมุ ปฏิบตั กิ ารแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ารขบั เคล่ือนคุณภาพการจัด การศึกษาด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ และ ศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง ระหว่างวันท่ี 20-23 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โรงแรมเวียงลคอร อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง 2. ดาเนินการจัดทารายงานการดาเนินงานการประชุมปฏิบัติการแลกเปล่ียนเรียนรู้การขับเคล่ือน คุณภาพการจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ พลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง ระหว่างวันท่ี 20-23 กุมภาพันธ์ 2565 ณ โรงแรมเวียงลคอร อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง นาเสนอผลการดาเนินงาน แกส่ านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3. รายงานผลการตรวจคัดกรองผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนด้วยชุด Antigen Test Kit – ATK (ชุดตรวจ โควิด-19 แบบเร่งดว่ น ด้วยการ Swab เกบ็ ตัวอย่างสารคัดหลั่งทางจมูก) ผลการตรวจยืนยันพบว่าผลเป็นลบ (Negative) ทกุ คน แกส่ าธารณสขุ อาเภอห้างฉตั ร และสาธารณสขุ อาเภองาว กจิ กรรมท่ี 5 กำรนำเสนอ เผยแพร่ผลการดาเนินงานการประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคล่ือนคุณภาพการจัด การศึกษาดว้ ยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และ ศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ในจังหวัดลาปาง ระหว่างวันที่ 20-23 กุมภาพันธ์ 2565

6 ณ โรงแรมเวียงลคอร อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง ทางเว็บไซต์ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 9. ผลกำรดำเนนิ งำน ผลการดาเนินงานการประชมุ ปฏบิ ตั ิการแลกเปล่ียนเรียนรูก้ ารขบั เคลือ่ นคุณภาพการจดั การศกึ ษาดว้ ย นวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดูงาน โรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหมใ่ นจังหวดั ลาปาง มีผลการดาเนินงาน ดังน้ี 9.1 ผลกำรสะท้อนกำรศกึ ษำดูงำนโรงเรียนในโครงกำรส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งกำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ดงั นี้ 9.1.1 ประเด็นควำมรูท้ ่ีไดร้ ับจำกกำรศึกษำดงู ำนโรงเรยี นบำ้ นออ้ น แบง่ เปน็ รำยด้ำน ดงั นี้ 1) ดำ้ นกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ (1) ผู้บริหารมีความเป็นผู้นาทางการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรม PLC มคี วามมุ่งม่ันในการทางาน พาครูคิด พาครูทา มีวิสัยทัศน์ ให้การส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของครู เป็นผู้นาในการรับ การเปล่ยี นแปลงในทุกมิติ (2) การวางแผนการขบั เคลอ่ื นโครงการมีการปรับปรงุ อย่างตอ่ เนือ่ ง ต้ังแต่ปี 2563-2565 (3) การบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียน ใช้กระบวนการ Plan Do See ทุกระดบั ช้ัน (4) ผู้บรหิ ารมกี ารบริหารจัดการด้านสญั ญาณอินเตอร์เน็ต อาคาร สถานที่ สะอาด สร้างการ มสี ่วนร่วมท่ีชดั เจน ตลอดท้ังมีการส่งเสริม สนับสนุนความเป็นกัลยาณมิตร การเขา้ ถึงครู ผู้เรียน อย่างชัดเจน จดั สภาพแวดล้อมให้ น่าดู นา่ อยู่ น่าเรียน (5) การสนับสนนุ ดา้ นต่าง ๆ ในการจดั การเรียนรู้ จดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning (6) มีการจดั บรรยากาศการเรียนรใู้ ห้นกั เรยี น ชั้น อ. 2 – ป. 6 และ ม. 1-ม. 3 มีแหลง่ เรียนรู้ ทีส่ ่งเสริมการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี นสูก่ ารมที กั ษะชวี ติ (7) สนับสนุนงบประมาณ สือ่ /อุปกรณ์ ในการจดั การเรยี นการสอน (8) นเิ ทศ ประเมินผลการดาเนนิ ของครู สร้างขวัญและกาลังใจในการดาเนินงาน (9) การใชร้ ะบบสภานักเรียนขบั เคล่อื นกิจกรรมของนักเรยี น 2) ด้ำนกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนของครู (1) ครูผู้สอนทุกคนให้ความร่วมมือขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ ทิศทางเดียวกัน การมีสว่ นร่วม ของ Model Teacher และ Buddy Teacher การทางานเปน็ ทีม (2) ครูผู้สอนมีการใช้กระบวนการ Plan Do See จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ 5 STEP ทกุ ระดบั ชั้น มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการทางาน เลือกใชเ้ น้อื หาท่สี อดคล้องกับรูปแบบการสอน (3) ครเู ตรยี มสอ่ื การสอนท่หี ลากหลาย ท้งั ท่จี ัดหา และสรา้ งเอง ทง้ั สอ่ื ทามือ และสื่อ ICT (4) มกี ารตง้ั คาถาม โดยใช้ 5 STEP ให้เด็กลงมอื ปฏบิ ัติ (5) ครูจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่ให้นักเรยี นทกุ คนมีสว่ นรว่ ม และครดู ูแลนกั เรียนทกุ คน อยา่ งทั่วถึง มีวธิ ีการสอนท่ีสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชุมชน และความหลากหลายของผเู้ รยี น (6) ครมู ีการจัดกระบวนการเรียนการสอนทเ่ี ปน็ Active Learning ส่งเสริมการเรียนรู้ การมี สว่ นรว่ มในกจิ กรรมของนักเรียน กจิ กรรมการเรยี นรสู้ ง่ เสรมิ การคดิ สง่ เสรมิ ทักษะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21

7 3) ด้ำนกำรเรียนรู้ของผูเ้ รียน (1) ผู้เรยี นทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ มีการระดมความคิด การทางานเป็นทีม กลา้ แสดงออก ไดม้ สี ่วนรว่ มปฏิบตั ิ และช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกนั (2) ผู้เรียนทางานเป็นกลมุ่ ด้วยกระบวนการ Active Learning (3) ไดเ้ รยี นรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติกิจกรรม เรยี นร้อู ย่างมีความสุข มีความกระตือรือร้นในการ รว่ มกจิ กรรม เกดิ ทกั ษะกระบวนการในการแก้ปัญหา รู้จักการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง นาเสนอผลงานของ นักเรยี น เกิดความภาคภมู ใิ จ เรียนรู้อย่างมคี วามสขุ (4) ผู้เรียนมีทักษะ คุณลกั ษณะเป็นไปตามเป้าหมายของโรงเรียน สามารถอ่านออก เขียนได้ มีความเป็นผู้นาผ่านการทากิจกรรมสภานักเรียน กิจกรรมมัคคุเทศก์น้อย จึงส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ พลเมืองร่นุ ใหม่ (5) ผเู้ รยี นมีมารยาทดีมาก (น้องปูน ช้ัน ป. 4) คอยสังเกตและจดั รองเทา้ ของผู้มารว่ มประชุม ใหเ้ รยี บร้อย นกั เรยี นที่ทาหนา้ ที่มคั คุเทศกน์ อ้ ย พดู จาไพเราะ และดแู ลคุณครูทไ่ี ปศึกษาดูงานดีมาก 4) อน่ื ๆ (1) มีการจัดนิทรรศการที่ครอบคลุม ครบถ้วนในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ นาจุดเด่น จุดแข็ง ของทอ้ งถิ่นมาจดั การเรียนรู้ (2) กระบวนการนเิ ทศภายในโดยใช้หอ้ งเรียนเปน็ ฐาน (3) โรงเรียนมีต้นทุนในการบริหารจัดการ โดยเข้าร่วมโครงการต่าง ๆ ของ สพฐ. เช่น โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ โรงเรียนต้นแบบสภานกั เรียน และโรงเรียนอารยเกษตรฯ เปน็ ต้น 9.1.2 ประเดน็ ควำมร้ทู ่ไี ดร้ ับจำกกำรศึกษำดงู ำนโรงเรยี นบำ้ นโป่งขวำก แบ่งเป็นรำยดำ้ น ดังนี้ 1) ดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำ (1) มีการบริหารจัดการอยา่ งเป็นระบบ และค่อนข้างมีประสทิ ธภิ าพโดยมีการใช้รูปแบบ APICE ในการนเิ ทศครูผู้สอน การมสี ว่ นร่วมในรปู แบบ 5 ร และรว่ มกนั ดาเนินโครงการทัง้ เขตพื้นทแี่ ละ โรงเรียน (2) ผู้บรหิ ารโรงเรยี น มีความตั้งใจที่จะเปล่ยี นแปลงรปู แบบการจัดการเรยี นการสอน เอาใจใส่ มีความเข้าใจในการขับเคล่ือนโครงการ/กจิ กรรม เปน็ อยา่ งดี ทาให้ครูมีความกระตือรอื ร้น นาไปสู่เป้าหมาย ทกี่ าหนดไว้ (3) ผบู้ ริหารสร้างความตระหนกั แกผ่ ้มู สี ว่ นเก่ียวข้องในชุมชน ใหม้ ีสว่ นร่วมในการบริหาร จดั การ (4) ผู้บรหิ ารมีส่วนรว่ มในทุกกจิ กรรม สนบั สนนุ ให้ครผู ูส้ อนพฒั นาตนเอง (5) นิเทศ ประเมินผลการดาเนนิ ของครู สรา้ งขวัญและกาลงั ใจในการดาเนนิ งาน (6) ครผู ู้สอนมคี วามรบั ผิดชอบ กระตือรือรน้ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยเฉพาะครูปฐมวัย สามารถเชื่อมโยงองคค์ วามรู้ไปสู่การจดั กิจกรรมเพือ่ พัฒนาองคร์ วมสาหรับเด็กปฐมวยั ได้ดี (จากการสัมภาษณ/์ สอบถาม/และการแสดงแนวความคดิ ) (7) มีการนาการจดั การเรียนร้ตู ามโครงการ SLC ไปเชือ่ มโยงในการจดั ทาข้อตกลงในการ พัฒนางานของครูผ้สู อน (PA) ซ่ึงจะเป็นการทางานทไี่ มซ่ ้าซ้อน ไม่เพิม่ ภาระของครผู สู้ อน

8 2) ด้ำนกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนของครู (1) ใชร้ ูปแบบ Co 5 STEP อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ทาใหค้ รูผู้สอนไดน้ วตั กรรมการจัดการเรียน การสอนตามกระบวนการ Plan Do See ซึง่ ครูผู้สอนสามารถนามาเช่อื มโยงในการจดั ทาข้อตกลงในการพฒั นา งาน (PA) (2) การนิเทศของศึกษานิเทศก์ ทาให้ครูผู้สอนมที ป่ี รึกษา ได้รับคาปรึกษา แนะนาในการ จดั การเรียนการสอนอยา่ งแท้จริง และแกป้ ญั หาไดโ้ ดยตรง (3) การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning ครูใช้คาถามกระตุน้ เดก็ ผู้เรยี น มีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ (4) ครู และผเู้ รียน มีบรรยากาศการเรียนรู้อยา่ งเปน็ กลั ยาณมิตร เป็นประชาธิปไตย (5) ครมู กี ารวางแผนการจัดกจิ กรรมและร่วมกันแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ PLC สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมี คณุ ภาพ 3) ดำ้ นกำรเรยี นรูข้ องผูเ้ รียน (1) กจิ กรรมตามโครงการ SLC ทาให้ผเู้ รียนเกิดทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 (2) ผูเ้ รียนได้เรียนรูโ้ ดยกระบวนการกลุ่ม สามารถแก้ปญั หา และรู้จกั กระบวนการในการ คน้ หาคาตอบไดด้ ้วยตนเอง (3) ผ้เู รียนสามารถทางานเปน็ ทีม และรู้จกั การแลกเปลีย่ นความคิดเห็นซง่ึ กันและกัน มสี ว่ น ร่วมในการเรยี นรู้ เรยี นรูอ้ ยา่ งมีความสขุ 4) อน่ื ๆ ประทับใจในการใหก้ ารต้อนรบั และความเปน็ กัลยาณมิตรของผู้บรหิ าร ครูผสู้ อน นักเรยี น ชุมชน ทีใ่ ห้การต้อนรบั และดูแลผู้ศึกษาดงู านอยา่ งดียง่ิ 9.1.3 กำรนำควำมรูท้ ไ่ี ดร้ ับไปประยกุ ต์ใช้ในหนว่ ยงำนของผูศ้ กึ ษำดูงำน 1) ระดับสำนักงำนเขตพน้ื ทกี่ ำรศึกษำ (1) นาเทคนิคการนิเทศ ติดตามที่สม่าเสมอ ส่งเสริม สนับสนุนจุดเด่น การเข้าถึงผู้บริหาร ครู เดก็ สร้างเจตคตทิ ่ีดใี นการปฏิบัติหนา้ ที่ มีการนเิ ทศ ตดิ ตาม อยา่ งเป็นระบบ ความเปน็ ผ้นู า ผตู้ าม (2) การทางานเป็นทีมของทีมศึกษานิเทศก์ Area Team การทางานแบบมีส่วนร่วมของ ทกุ ฝ่าย (3) การสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งผู้บรหิ ารการศึกษาและทีมศกึ ษานิเทศก์เพื่อรว่ มกันยกระดับ คณุ ภาพการศกึ ษา และพฒั นาผูเ้ รียนไปในทศิ ทางเดยี วกนั (4) นาลงสู่การปฏิบตั ิจริง onsite ทันที ขับเคลือ่ นอยา่ งตอ่ เนื่องภายใตม้ าตรการปอ้ งกนั โรค โควิด-19 เปิดโอกาสให้โรงเรียนได้ออกแบบการพัฒนาผู้เรียนภายใต้บริบทของโรงเรียนและการให้ความ ช่วยเหลอื ของทมี ศึกษานิเทศ Area Team รวมถงึ ขยายผลถึงโรงเรียนในสงั กัดใหม้ ากข้ึน (5) ประชมุ วางแผน การขับเคล่อื นการดาเนนิ งานโรงเรียน SLC (6) นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน แบบ SLC / PLC / 5 STEP ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตร ฐานสมรรถนะ (7) การนารูปแบบการนิเทศ APICE Model และรูปแบบการมีส่วนร่วม (5 ร) ประกอบด้วย 1) ร่วมศึกษา 2) ร่วมวางแผน 3) ร่วมปฏิบัติ 4) ร่วมสรุป 5) ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ไปใช้ในการขับเคลื่อน การดาเนินงาน (8) การนาไปสูก่ ารเชอ่ื มโยงกับขอ้ ตกลงในการปฏิบัตงิ าน (PA)

9 (9) จัดเวทีแลกเปลย่ี นเรียนรขู้ องแต่ละโรงเรยี น 2) ระดับโรงเรยี น (1) ใชก้ ระบวนการ PDS Co 5 step ในการจดั การเรยี นการสอนใหบ้ รรลุจุดประสงค์ (2) สง่ เสรมิ ให้ครผู ู้สอนในสงั กดั ไดค้ น้ คว้า และพัฒนานวัตกรรมการสอน ใหส้ อดคลอ้ งกับ บรบิ ทของตนเอง (3) การสรา้ งสมั พันธภาพท่ีดรี ะหวา่ งศึกษานเิ ทศ ผู้อานวยการโรงเรียน และครูผู้สอนเพ่อื สร้าง พลงั ในการพฒั นาคุณภาพนกั เรยี น 9.1.4 อ่นื ๆ 1) การเข้าสงั เกตการจดั กจิ กรรมการสอนของครู ควรให้เข้าไปสงั เกตต้ังแต่เร่มิ กจิ กรรม จนสิ้นสดุ การสอนในช่ัวโมงนน้ั ๆ เพื่อใหเ้ หน็ กระบวนการตง้ั แตต่ ้นจนจบ 2) ส่งเสรมิ การวจิ ยั เพ่ือการพฒั นาอย่างยั่งยืน 9.1.5 ขอ้ เสนอแนะเพือ่ นำไปพฒั นำงำนของโรงเรียนในครั้งต่อไป 1) ควรมีความต่อเนอื่ ง เพื่อความยงั่ ยนื ในการพัฒนา 2) การมีรปู แบบการนเิ ทศภายในของโรงเรียนที่เป็นเอกลักษณข์ องโรงเรียน 3) การออกแบบแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ีเนน้ กระบวนการ Active Learning มากยิง่ ขึ้น 4) การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน ผู้ปกครอง ในการพฒั นาและขับเคลอ่ื นโครงการ 5) การใช้เครือ่ งมือประเมินในระหวา่ งการ Open Class เพอ่ื นาไปวิเคราะห์ Case by Case ของครูผู้สอน เพ่อื นาไปพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนต่อไป และเหน็ ถึงพฒั นาการของครผู สู้ อน 6) โรงเรยี นวางแผนการจดั กิจกรรมการเรียนแบบ Online และมีการนิเทศแบบ Online ตาม สถานการณ์ 7) ควรมเี วทนี าเสนอและคัดเลอื ก Best Practice ของโรงเรยี น มีการมอบเกียรตบิ ัตร/รางวลั ใหก้ ับผบู้ รหิ าร ครผู ู้สอน เพอ่ื เปน็ ขวญั และกาลังใจในการปฏบิ ัตงิ าน 9.2 ผลกำรประชุมปฏิบัติกำรแลกเปล่ียนเรียนร้กู ำรขับเคลื่อนคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ โดยแบ่งกลุ่มกำร นำเสนอ ผลกำรดำเนินงำนของผู้เข้ำรว่ มกำรประชุมเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผลกำรดำเนินงำนของสำนักงำน เขตพื้นทก่ี ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำ และผลกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำ มผี ล กำรดำเนินงำน ดังน้ี 9.2.1 ผลกำรดำเนินงำนของสำนกั งำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำ 1) สิง่ ที่ได้ดำเนนิ กำรไปแลว้ (1) การดาเนินการตามแผนงาน (2) การสงั เกต การสะทอ้ นผล Open Class (3) มีการเผยแพรผ่ ลงานผ่านเวบ็ ไซต์ (4) ส่งเสริมให้ครผู ้สู อนไดแ้ ลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5) สง่ เสริมให้โรงเรียนนเิ ทศภายในและพฒั นาผลงานครูให้เปน็ แบบอย่าง (Best Practices) และไดจ้ ัด (Symposium) แลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละขยายเครือขา่ ย

10 2) สิ่งท่ีจะดำเนินกำรตอ่ ไป (1) การเปิดชน้ั เรยี นใหค้ รบ 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ และ 1 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน (2) การพฒั นาขยายเครือข่ายโรงเรยี นเพมิ่ (3) การส่งเสรมิ ให้โรงเรียนใหพ้ ัฒนานกั เรียนให้มคี ุณภาพ มคี วามกระตอื รอื รน้ ใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น (4) ส่งเสรมิ ให้ผมู้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ ง เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน ใหม้ ีส่วนร่วมมากข้นึ 9.2.2 ผลกำรดำเนินงำนของสำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำ 1) สิง่ ท่ีได้ดำเนนิ กำรไปแลว้ (1) มีการดาเนินงานตามกระบวนการของการดาเนนิ โครงการ SLC ท้งั ระดับเขตพื้นทีแ่ ละ ระดบั โรงเรยี น (2) จัดประชุมทุกคนที่มีส่วนร่วม สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักให้กับศึกษานิเทศก์ ทุกคน พัฒนา Area Team โดยใช้กระบวนการร่วมคิด ร่วมวิเคราะห์ ร่วมประเมินตนเอง ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ (3) สรา้ งความเขา้ ใจใหผ้ บู้ รหิ าร คณะครู โรงเรยี นในโครงการแบบ G five Step (4) นิเทศติดตามกจิ กรรม Plan Do See / Open class / Open House (5) ครูผู้สอนมีนวัตกรรม มีการใช้ส่ือที่หลากหลาย เน้นกิจกรรมที่เด็กมีส่วนร่วม ให้เด็ก ๆ สรา้ งผลงาน/ชน้ิ งานจากความรูท้ ่ีไดร้ บั (6) มกี ารสอนแบบ Active Learning Open Approach KWDL + Bar Model 5E 5 Steps (7) เดก็ ๆ ร่วมกนั สรุปบทเรยี น โดยมีครูชว่ ยเพ่มิ เตมิ จนเกิดเปน็ องค์ความร้ทู ่ีถูกตอ้ ง 2) สง่ิ ท่ีจะดำเนินกำรต่อไป (1) การออกแบบนวัตกรรมในการขับเคลอ่ื นโครงการ SLC (2) การเช่ือมโยงกบั ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) (3) จัดใหม้ กี จิ กรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ การนา SLC ส่กู ารปฏบิ ัติในสถานศึกษา (4) ร่วมขับเคลื่อนคุณภาพดว้ ยนวัตกรรม SLC (5) ร่วมพัฒนาบทเรยี นร่วมกับครเู พื่อให้เกดิ สรรถนะอย่างยงั่ ยนื (6) สรา้ งวิสัยทัศนใ์ ห้กบั ชมุ ชนรว่ มกบั โรงเรยี น (7) สร้างเครือข่ายการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 3) ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ (1) ตอ้ งการให้ สพฐ. ขับเคลอ่ื นโครงการต่อหรอื สนบั สนนุ งบประมาณให้โรงเรียนตอ่ ไป (2) การจัด Symposium ระดบั เขต ระดับภาค และระดับประเทศ 10. กำรดำเนินกำรตำมมำตรกำรเฝ้ำระวังและควบคุมกำรแพร่กระจำยของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 (COVID-19) ได้มีการดาเนินการตรวจคัดกรองผู้เข้าร่วมประชุม ผ่าน Google Form แบบลงทะเบียน คัดกรอง ตามมาตรการการเข้าพื้นที่จังหวัดลาปาง ตามประกาศของสานักงานจังหวัดลาปาง และมาตรการในการ ควบคมุ โรคติดตอ่ ของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดลาปาง ผลการตรวจคัดกรองผู้เข้ารว่ มประชมุ ทุกคนดว้ ยชุด Antigen Test Kit – ATK (ชุดตรวจโควิด-19 แบบเร่งด่วน ด้วยการ Swab เกบ็ ตัวอย่างสารคัดหล่ังทางจมูก)

11 ท้ังแบบ Home Use และแบบ Official Lab ผลการตรวจยืนยันพบว่า ผลเป็นลบ (Negative) ทุกคน และ ภายหลังการจัดการประชมุ 14 วัน ไมม่ ี รายงานการติดเชือ้ ผเู้ ข้ารว่ มการประชุม 11. ผลกำรประเมนิ ควำมพึงพอใจ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจที่มีต่อการจดั ประชุมปฏิบตั ิการแลกเปลยี่ นเรยี นรูก้ ารขับเคลอ่ื นคุณภาพ การจัดการศึกษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่น ใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหมใ่ นจังหวดั ลาปาง การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมปฏิบัติการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ฯ ใช้แบบสอบถามชนิด มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยกาหนดค่าระดับความคิดเห็นแต่ละช่วงคะแนนและความหมาย ดังนี้ ระดับคะแนน 5 หมายถงึ พึงพอใจมากทีส่ ุด ระดบั คะแนน 4 หมายถงึ พงึ พอใจมาก ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง ระดบั คะแนน 2 หมายถงึ พึงพอใจน้อย ระดบั คะแนน 1 หมายถึง พงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ การใหค้ วามหมาย โดยการให้ค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านและรายขอ้ ดังนี้ 4.51 - 5.00 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับ มากทส่ี ุด 3.51 - 4.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับ ปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับ นอ้ ย 1.00 - 1.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ น้อยที่สุด (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2553 : 120 -121)

12 ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแทนผู้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการจานวน 64 คน นาเสนอผล การประเมนิ ความพึงพอใจดงั นี้ 11.1 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถำม ตำรำงท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ขอ้ มลู ทวั่ ไป จำนวน ร้อยละ 1. เพศ 1.1 ชาย 18 28.10 1.2 หญงิ 46 71.90 2. อายุ 2.1 21-30 ปี 7 10.90 2.2 31-40 ปี 21 32.80 2.3 41-50 ปี 21 32.80 2.4 51 ปีขนึ้ ไป 15 23.50 จากตารางท่ี 1 เมือ่ พจิ ารณาจากข้อมูลท่ัวไปของผูต้ อบแบบสอบถาม พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามเปน็ เพศชายร้อยละ 28.10 และเพศหญงิ ร้อยละ 71.90 มอี ายุ 31-40 ปี และ 41-50 ปี ร้อยละ 32.80 อายุ 51ปขี ึน้ ไป ร้อยละ 23.50 และอายุ 21-30 ปี รอ้ ยละ 10.90 ตามลาดับ 11.2 ผลกำรวิเครำะห์ควำมพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมลู ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเรจ็ รปู มีผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจดังนี้ ตำรำงท่ี 2 ระดบั ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามท่มี ีตอ่ การจัดประชุมปฏบิ ัติการแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ ฯ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ การแปล ความหมาย 1.1 สถานทใี่ นการจดั ประชมุ  S.D. 1.2 โสตทศั นูปกรณ์ 4.44 0.64 มาก 1.3 อาหารและเครื่องดมื่ 4.36 0.63 มาก 1.4 การบริการ/อานวยความสะดวกตา่ ง ๆ ของเจา้ หนา้ ท่ี 4.14 0.75 มาก 1.5 มาตรการการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั 4.44 0.59 มาก โคโรนา 2019 4.58 0.56 มากทสี่ ดุ 1.6 ความสะดวกในการเดินทางเขา้ ศกึ ษาดงู านโรงเรยี นใน โครงการฯ 4.34 0.72 มาก 1.7 ความเหมาะสมและระยะเวลาในการศกึ ษาดูงาน/ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 4.30 0.68 มาก

13 รายการประเมิน ความพงึ พอใจ การแปล 1.8 ไดป้ ระสบการณ์ใหม่ๆ ในการศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยน  S.D. ความหมาย 4.38 0.58 มาก เรยี นรู้ 1.9 ประโยชนท์ ไ่ี ด้จากการศกึ ษาดงู าน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.42 0.56 มาก 1.10 ภาพรวมของการประชุมปฏิบตั กิ ารแลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ าร 4.39 0.58 มาก ขับเคล่อื นคุณภาพการจัดการศกึ ษาด้วยนวัตกรรม SLC ค่ำเฉล่ยี รวม 4.38 0.65 มำก จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการจัดประชุมปฏิบัติการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  = 4.38) เม่ือพิจารณารายการประเมิน พบว่า มีความพึงพอใจ มากท่ีสุดได้แก่ มาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (  = 4.58) รองลงมา ได้แก่ สถานท่ีในการจัดประชุม และการบริการ/อานวยความสะดวกต่าง ๆ ของเจ้าหน้าที่ (  = 4.44) และประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาดูงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (  = 4.42) ตามลาดับ และมีความพึงพอใจ น้อยทีส่ ดุ คอื อาหารและเครื่องดม่ื (  =4.14) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม นาเสนอการให้ข้อเสนอแนะโดยเรียงลาดับจากค่าความถ่ีมากไปหาน้อย ดังนี้ 1. ขอขอบคุณ สพฐ. และ สพป. ลาปาง เขต 1 ท่ไี ดร้ ว่ มกนั จดั งานในคร้ังน้ี (ความถี่ 4) 2. ยอดเยย่ี ม (ความถ่ี 3) 3. ควรมกี จิ กรรมเพือ่ เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของเครือข่ายและมีเวทีแลกเปลีย่ นเรยี นรรู้ ว่ มกันอย่าง ตอ่ เนื่อง (ความถี่ 1) 4. ขอบคุณทมี งานลาปาง เขต 1 พวกท่าน สดุ ยอดมาก เสียสละ อดทน มีการประสานงานและบริหาร จัดการได้ดีมาก (ความถ่ี 1) 5. ได้เหน็ หลักการ วธิ กี ารก็สามารถไปปรับใช้ได้ (ความถี่ 1) 6. จดั ทีภ่ าคอีสาน หรอื ในภมู ิภาคอนื่ (ความถี่ 1) 7. ขอขอบคุณ สพฐ. และเจา้ ภาพจงั หวดั ลาปาง จัดงานไดด้ ีมาก ดูแลเป็นกนั เอง โดยเฉพาะงาน วิชาการที่มีนวัตกรรมท่ชี ัดเจน รวมถงึ สพป. รอ้ ยเอ็ด ท่นี าเสนองานพัฒนาท่ชี ัดเจน 12. ปญั หำ/อปุ สรรค เน่อื งจากเกิดสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จงึ ทาให้โรงเรียนท่ีเป็น แหล่งศึกษาดงู าน ไม่สามารถใหน้ ักเรียนมารว่ มกจิ กรรมไดค้ รบทกุ คน และไม่สามารถเปิดห้องเรยี นให้สังเกต การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนไดค้ รบทุกหอ้ งเรียน 13. ข้อเสนอแนะ 13.1 ใช้วิธกี ารจัดกิจกรรมการเปดิ ชน้ั เรียนเป็นตัวอยา่ งบางหอ้ งเรียนและนาเสนอผลการดาเนินกจิ กรรม การเรยี นการสอนและผลงานนกั เรียนของโรงเรียนในรูปแบบการนาเสนอนิทรรศการ 13.2 ใชว้ ิธกี ารนาเสนอผา่ นการประชุมระบบออนไลน์

14 ภำคผนวก 1. โครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นคุณภาพของชุมชนดว้ ยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ 2. QR Code รายละเอียดประกอบการประชุม ดังนี้ 2.1 เอกสารคมู่ อื การนเิ ทศ 2.2 สไลด์ประกอบการขับเคลอ่ื นโครงการสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่ือพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ของ สพป. ลาปาง เขต 1 2.3 ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ารศกึ ษาดงู านโครงการส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ โรงเรยี น ทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบ้านอ้อนและโรงเรียนบ้านโป่งขวาก 2.4 กาหนดการประกอบการประชุมปฏิบตั ิการแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ารขบั เคลื่อนคุณภาพการจดั การศึกษาดว้ ยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะ พลเมืองรุ่นใหม่ และศึกษาดงู านโรงเรียนในโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพื่อพฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ในจังหวดั ลาปาง 3. ผลการดาเนนิ งานของเขตพน้ื ทท่ี ่ีเขา้ ร่วมโครงการ (ในรูปแบบ วิดโี อ) ดงั น้ี 4. ภาพประกอบกิจกรรม การประชมุ ปฏิบัติการแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ารขับเคลอ่ื นคุณภาพการจัด การศกึ ษาดว้ ยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ และศกึ ษาดงู านโรงเรียนในโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพือ่ พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหมใ่ นจงั หวดั ลาปาง 5. QR Code รวมภาพกิจกรรม 6. QR Code ข้อมลู ผเู้ ขา้ ร่วมการประชมุ 7. คณะทางาน

15 ชอ่ื โครงกำร สง่ เสริมโรงเรยี นคุณภาพของชุมชนดว้ ยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงำน พืน้ ฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ สอดคลอ้ งกบั 1. ยุทธศำสตร์ (สพฐ.) ที่ 3 การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 2. มำตรฐำนสำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาท่มี ีประสิทธิภาพ ตวั บง่ ชที้ ี่ 1 การบริหารงานด้านวชิ าการ 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจดั การศึกษาที่มี ประสิทธภิ าพ ลกั ษณะโครงกำร 1. ใหม่ ตอ่ เน่อื ง เร่งดว่ น 2. เพอ่ื พฒั นา เพอื่ ปรับปรงุ แก้ไขปัญหา เพอ่ื การป้องกัน ผู้รบั ผิดชอบโครงกำร กลุ่มงานนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา/กล่มุ นิเทศ ระยะเวลำทดี่ ำเนินกำร พฤศจิกายน 2564 – กนั ยายน 2565 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลกั กำรและเหตุผล การพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ได้น้ัน การจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมสนับสนุน ผู้เรียน ให้มีความคิดท่ีเป็นเหตุเป็นผลในการทางาน ส่ังสมความรู้และทักษะท่ีจาเป็นในการทางาน รู้จัก การแสวงหาโอกาสและชอ่ งทางในการทางาน สารวจและก้าวเขา้ สู่โลกแหง่ การทางาน ซ่ึงผ้เู รียนจะต้องผา่ นการ เรียนรู้ มปี ระสบการณ์ ที่จะตัดสินใจเรียนรู้และเข้าสู่อาชีพในอนาคต โดยโรงเรียนจะต้องมีความเขา้ ใจในการ ออกแบบหลักสูตรและการเรียนการสอน รวมถึงวธิ กี ารจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ (สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน, 2554) ซึ่งปัจจัยสาคญั ทสี่ ุดคือ ความเปน็ ผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนและสมรรถนะในการ จัดการเรยี นรู้ของครู สอดคลอ้ งกับองคป์ ระกอบของระบบการศึกษาของประเทศที่ประสบความสาเร็จ ในการ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพมี 8 ประการคือ การมีวิสัยทัศน์และภาวะผู้นาท่ีเข้มแข็ง การตั้งมาตรฐานระดับสูง มีความมุ่งมั่น ตัง้ ใจ ลดความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษา การได้มาและคงไว้ซ่งึ ครูและผู้บริหารโรงเรยี นที่มีคุณภาพ ความร่วมมือในการทางานของทุกภาคส่วนท่ีสอดคล้องกัน การบริหารและการจัดการท่ีดมี ีความรับผิดชอบ การสร้างแรงจูงใจในการเรียนแก่นักเรียน และการมุ่งเน้นพัฒนาเพื่ออนาคตในระดับโลก (ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์, 2558) นอกจากนั้น ผลงานวิจัยการพัฒนาโรงเรียนที่ประสบผลสาเร็จของประเทศญ่ีปุ่น ที่ สามารถสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ตามวิสัยทัศน์ร่วมของผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้องกับการ จดั การเรียนรู้ในโรงเรียน ดว้ ยการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ท่ไี ด้ให้นกั เรียนทุกคนไดเ้ รยี นร้รู ่วมกัน ครไู ด้เรยี นรู้ ร่วมกันเพื่อพัฒนาวิชาชีพ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและผู้เก่ยี วขอ้ งในพ้ืนท่ีเข้ารว่ มปฏิรูปโรงเรียน (เออิสุ เกะ ไซโตะ และคณะ. 2015) ซึ่งประเทศญ่ีปุ่นได้นาวิสัยทัศน์ ปรัชญา และระบบกิจกรรมของชุมชนแห่งการ เรยี นรู้ไปสง่ เสริมในหลายประเทศและประสบความสาเร็จ เช่น ประเทศเวียดนาม อินโดนเี ซีย โดยมที ีมผ้ชู ้ีแนะ และเป็นพเ่ี ลย้ี งเขา้ ไปหนุนเสรมิ การเรยี นรู้ในโรงเรียน กรอบแนวคดิ การสง่ เสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ เปน็ การระดมสรรพกาลงั ของครูและบุคลากรในพืน้ ทเ่ี พอื่ รว่ มพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ห็นคุณค่าของการเรียนร้แู ละ มีทักษะการเรยี นรู้แบบร่วมมอื รวมพลัง (Collaborative Learning) ซ่งึ โรงเรียนจะมกี ารวิเคราะห์สภาพ ปจั จุบันปญั หา และทศิ ทางการพฒั นาโรงเรียนใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการของพนื้ ทเี่ พอ่ื จดั ทาแผนพฒั นา

16 คุณภาพ หรอื School Improvement Plan และวางระบบการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั เพอ่ื ชมุ ชนแห่งการ เรียนรู้ หรอื Lesson Study for Learning Community (LSLC) ในปีการศึกษา 2565 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้มีการจัดกิจกรรม ส่งเสริม แลกเปล่ียน เรียนรู้และศึกษาดูงานโรงเรียนนาร่องในโครงการร่วมกับสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เพื่อเป็นการนาเสนอผลการดาเนินงานของ Area Team และโรงเรยี นนารอ่ งในโครงการ อีกทั้งเพื่อเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลง หรือเป็น Node ด้วยสร้างทีมชี้แนะ และเป็นพี่เล้ียง (coaching and mentoring) การจัดระบบการหนุนเสริมการพัฒนาคุณภาพ ณ ห้องเรียน และโรงเรียน ท่ีมีประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ล นาไปสคู่ วามสาเรจ็ การจดั การศกึ ษาตอ่ ไป 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอื่ ใหน้ กั เรียนได้รบั การพฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ที่มีความจาเปน็ ตอ่ การดารงชวี ติ ทน่ี าไปสูก่ ารเปน็ พลเมอื งทีด่ ขี องประเทศชาติ 2.2 เพ่ือให้ผู้บริหารโรงเรยี น ครู นักเรยี น ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนรว่ มในการขับเคล่อื น โครงการส่งเสริมโรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนา สมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ 2.3 เพ่อื นเิ ทศตดิ ตามการดาเนนิ งานโรงเรียนนารอ่ งทเ่ี ข้าร่วมโครงการการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็น ชุมชน แหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ 2.4 เพอ่ื จัดกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นร้แู ละศกึ ษาดงู านโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการของสานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ปกี ารศึกษา 2565 3. เปำ้ หมำยเชงิ ผลผลติ (OUTPUT) 3.1 โรงเรียนนารอ่ งท่เี ขา้ รว่ มโครงการการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) มีแนวทางและรูปแบบในการพัฒนาโรงเรียน 3.2 โรงเรียนนาร่องท่ีเข้าร่วมโครงการการส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) ไดร้ ับการนิเทศตดิ ตาม การเยยี่ มชั้นเรยี น อยา่ งน้อย 4 ครงั้ ตอ่ 1 ภาคเรียน 3.3 โรงเรียนนาร่องท่ีเข้าร่วมโครงการ มีการจัดทาแผนการสอนอย่างน้อย 2 แผน ส่ือ นวัตกรรม ใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 3.4 ศึกษานิเทศก์ Area Team ที่เข้าร่วมโครงการท่ัวประเทศ และสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาดูงานผลการดาเนินงานของ Area Team และ โรงเรียนในสังกดั สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 4. เปำ้ หมำยเชงิ ผลลัพธ์ (OUTCOME) 4.1 โรงเรียนนาร่องท่ีเข้าร่วมโครงการการส่งเสรมิ โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) มีรูปแบบการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนการสอน 4.2 โรงเรียนนาร่องที่เข้ารว่ มโครงการมีรปู แบบการพฒั นางานเชงิ วิจยั 4.3 ครผู สู้ อนโรงเรียนนาร่องท่ีเข้ารว่ มโครงการ มีการจัดทาแผนการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม เพอื่ ใชใ้ น การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมกับบรบิ ทของโรงเรียน ผู้เรียน และชุมชน

17 4.4 ผู้เรียนมสี รรรถนะพลเมืองรุ่นใหมข่ องผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 4.5 ร้อยละ 80 ของศึกษานิเทศก์ Area Team ที่เข้าร่วมโครงการทั่วประเทศ และสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีแนวทางในการดาเนินงานโครงการของ Area Team และ โรงเรียน ในสงั กัด 5. ผลทีค่ ำดว่ำจะเกิดขึน้ 5.1 ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนรว่ มในการขับเคลื่อนโครงการ สง่ เสริมโรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ สร้างวฒั นธรรมใหม่ในการเรียนรรู้ ว่ มกนั อย่างต่อเนือ่ งเพอ่ื สนับสนุน การพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ 5.2 นักเรียนได้รับการพฒั นาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ มีทกั ษะการทางานกลุม่ ทกั ษะการส่ือสาร ทักษะการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ที่จะนาไปส่กู ารพลเมอื งทดี่ ีของประเทศชาติ 6. ดัชนีชีว้ ดั ควำมสำเร็จ 6.1 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาในสังกดั ได้รับการนิเทศ กากับ ติดตาม ใหค้ วามช่วยเหลือ 6.2 ผูบ้ ริหารสถานศึกษามรี ปู แบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรยี น 6.3 ร้อยละของครูผูส้ อนโรงเรยี นนาร่องทเ่ี ข้าร่วมโครงการ มีการจัดทาแผนการเรยี นรู้ สือ่ นวตั กรรม เพื่อใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่เี หมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ผ้เู รียน และชมุ ชน 6.4 รอ้ ยละของนักเรียนมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคร์ ะดับดขี ้ึนไป 7. กลุ่มเป้ำหมำย/ผ้ทู ่ไี ดร้ ับประโยชน์ 7.1 สถานศกึ ษาในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จานวน 2 โรงเรยี น คือ โรงเรยี นบา้ นออ้ น และโรงเรยี นบ้านโป่งขวาก 7.2 ผู้บริหาร ครผู ู้สอนและนักเรียน โรงเรยี นบ้านออ้ น และโรงเรยี นบา้ นโปง่ ขวาก สงั กัดสานกั งานเขต พื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 8. จำนวนงบประมำณทง้ั สน้ิ ............ 522,000...................................บำท 8.1 สพฐ. จานวน...............522,000..............................................บาท 8.2 สพป. ลาปาง เขต 1 จานวน..............................บาท 8.3 งบประมาณจากแหลง่ อืน่ ๆ (ระบุ) ..................................... จานวน..........522,000...............บาท

18 9. กจิ กรรมและรำยละเอยี ดค่ำใช้จ่ำย ที่ กจิ กรรม/รำยละเอียดค่ำใช้จ่ำย ระยะเวลำดำเนินกำร/งบประมำณท่ใี ช้ รวม งบประมำณ 1 เสนอขออนุมัตโิ ครงการ ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 2 กจิ กรรมท่ี 1 - (ต.ค. 2563 ถงึ (ม.ค. 2564 ถึง (เม.ย. 2564 ถึง (ก.ค. 2564 ถึง 14,000 กจิ กรรมนิเทศ ตดิ ตาม การขบั เคล่อื น โครงการ 45,000 SLC รายละเอยี ด ดังน้ี ธ.ค. 2563) ม.ี ค. 2564) มิ.ย. 2564) ก.ย. 2564) 463,000 การวางแผนนิเทศ ตดิ ตามฯ การนิเทศ ตดิ ตาม ฯ การสรุปผลการขับเคลอ่ื นโครงการ - 522,000 3 กิจกรรมที่ 2 จดั สรรงบประมาณใหโ้ รงเรยี นดาเนินกิจกรรม 14,000 ตามโครงการฯ รายละเอยี ด ดังนี้ 1) โรงเรียนบา้ นออ้ น 25,000 2) โรงเรียนบ้านโปง่ ขวาก 20,000 4 กจิ กรรมท่ี 3 จัดการประชมุ ปฏบิ ัติการแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ าร 22,350 ขับเคลือ่ นคุณภาพการจัดการศึกษาดว้ ย 22,350 นวัตกรรม SLC (School as Learning 418,300 Community) เพอื่ พฒั นาสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ และศึกษาดูงานโรงเรียนในโครงการ - 522,000 - - ส่งเสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ฯู รายละเอียด ดงั น้ี 1) จัดสรรงบประมาณใหก้ บั โรงเรยี นทเี่ ปน็ สถานทีศ่ กึ ษาดูงาน รร.บา้ นอ้อน เป็นค่าอาหาร กลางวนั อาหารว่างและเคร่อื งด่มื และเปน็ ค่าใช้จา่ ยในการจัดนทิ รรศการ 2) จดั สรรงบประมาณให้กับโรงเรยี นทเ่ี ป็น สถานที่ศึกษาดูงาน รร.บา้ นโปง่ ขวาก เป็น คา่ อาหารกลางวนั อาหารวา่ งและเครือ่ งดื่ม และคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั นิทรรศการ 3) ค่าจัดกิจกรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และศกึ ษา ดูงาน รายละเอียด ดังนี้ - คา่ ท่พี ักพร้อมอาหารเช้า/ คา่ อาหารกลางวัน อาหารว่าง และ อาหารเย็น ณ โรงแรมที่พัก - คา่ พาหนะของเจา้ หนา้ ท่ี สพฐ. - คา่ ใช้จ่ายในการเตรยี มการ รวมงบประมำณท้ังสิ้น หมำยเหตุ ถัวจำ่ ยทุกรำยกำร

19 (ลงช่อื ) ผเู้ สนอโครงการ (นางอัมรนิ ทร์ บุญเอนก) ศึกษานิเทศก์ (ลงชื่อ) ผ้เู ห็นชอบโครงการ (นายเอกฐสิทธิ์ กอบกา) ผอู้ านวยการกล่มุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา (ลงชอ่ื ) ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (นายพชิ ัย สดเอี่ยม) รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 (ลงชอ่ื ) ผ้อู นุมัติโครงการ (นายสมเกยี รติ ปงจันตา) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1

20 QR Code เอกสำรคู่มือกำรนิเทศ และสไลด์ประกอบกำรประชุม กำรประชมุ ปฏิบัติกำรแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กำรขบั เคล่ือนคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นำสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ และศกึ ษำดงู ำนโรงเรยี นในโครงกำรส่งเสริมโรงเรียนเป็นชุมชนแหง่ กำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ในจงั หวัดลำปำง ระหวำ่ งวนั ท่ี 20-23 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2565 สถำนท่ี ณ โรงแรมเวียงลคอร อำเภอเมอื งลำปำง จงั หวดั ลำปำง โดยควำมรว่ มมอื ระหว่ำงสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน และสำนักงำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 ท่ี รำยกำร แหลง่ ข้อมลู 1 คู่มอื การนิเทศ การส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ https://shorturl.at/htIQT https://shorturl.at/jqxQT (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะ พลเมืองรุ่นใหม่ โดยใช้รปู แบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัด การศึกษา สพป. ลาปาง เขต 1 2 สไลด์นาเสนอ การสง่ เสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะ พลเมืองร่นุ ใหม่ โดยใชร้ ปู แบบการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model) กลุม่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผล การจดั การศึกษา สพป. ลาปาง เขต 1 3 ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การศกึ ษาดูงานโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ โรงเรียน ทเ่ี ข้าร่วมโครงการ โรงเรียนบา้ นออ้ น โรงเรียนบ้านโป่งขวาก https://shorturl.at/gAV46 4 กาหนดการการประชุมปฏิบตั ิการแลกเปล่ยี นเรียนร้กู าร ขับเคลือ่ นคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาดว้ ยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพ่ือพัฒนาสมรรถนะ พลเมอื งรุน่ ใหมแ่ ละศกึ ษาดงู านโรงเรียนในโครงการสง่ เสริม โรงเรยี นเป็นชมุ ชนแห่งการเรียนรู(้ School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ในจังหวัด https://shorturl.at/uCQY5 ลาปางระหวา่ งวันที่ 20-23 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 สถานที่ ณ โรงแรมเวยี งลคอร อาเภอเมอื งลาปาง จงั หวัด ลาปาง

21 ผลกำรดำเนนิ งำนของเขตพ้นื ที่ทีเ่ ข้ำรว่ มโครงกำร (ในรปู แบบ วิดีโอ) จากการดาเนินงานขับเคลอ่ื นโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ มีผลการดาเนินงานของเขตพ้นื ทีท่ ี่เข้าร่วม โครงการ (ในรูปแบบ วิดโี อ) ดังนี้ ท่ี สังกดั เขตพ้ืนท่ี แหล่งขอ้ มูล 1 วิดีโอนาเสนอ โรงเรียนบ้านมะอึ สพป. รอ้ ยเอ็ด เขต 1 การบริหารจดั การคุณภาพผเู้ รียนฐานสมรรถนะ https://shorturl.at/lGI09 2 วดิ ีโอนาเสนอ การขับเคล่ือนโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ สพป. รอ้ ยเอ็ด เขต 1 https://shorturl.at/bzCUZ 3 วิดโี อนาเสนอ การขบั เคลือ่ นโครงการสง่ เสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ โรงเรียนบ้านเนนิ ทอง สพป. ชุมพร เขต 1 https://shorturl.at/epIL9 4 วิดโี อนาเสนอ การขบั เคลื่อนโครงการสง่ เสริมโรงเรยี นเป็น ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ สพป. ขอนแกน่ เขต 4 https://shorturl.at/guG48 5 วิดีโอนาเสนอ การประชุมปฏบิ ตั กิ ารเทคนคิ การทา Lesson Plan การสร้างและออกแบบระบบกระบวนการพฒั นา บทเรยี นร่วมกนั ของ Area Team โครงการสง่ เสริมโรงเรยี น เปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ สพป. ขอนแกน่ เขต 4 https://shorturl.at/pFTW1

22 ท่ี สังกดั เขตพ้นื ที่ แหลง่ ข้อมลู 6 วดิ โี อนาเสนอ กระบวนการ Plan Do See โรงเรยี นนารอ่ ง และการลงพ้นื ท่ีของ สพฐ. โครงการสง่ เสรมิ โรงเรียนเป็น ชุมชนแห่งการเรียนรู้ สพป. ขอนแกน่ เขต 4 https://shorturl.at/hlnFK 7 วดิ โี อนาเสนอ กจิ กรรมการสะท้อนผล Area Team ผู้บรหิ าร Model Teacher และ Buddy Teacher สพป. ขอนแกน่ เขต 4 https://shorturl.at/bpzV1 8 วดิ โี อนาเสนอ การขบั เคลอื่ นโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ สพป. นครราชสมี า เขต 3 https://shorturl.at/krI23 9 วดิ ีโอนาเสนอ กิจกรรมพัฒนา Area Team โดยวทิ ยากร ผเู้ ช่ียวชาญ สพป. ขอนแกน่ เขต 4 https://shorturl.at/txFR9 10 วิดีโอนาเสนอ การขับเคลอื่ นโครงการส่งเสริมโรงเรยี นเป็น ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ สพป. ลาปาง เขต 1 https://shorturl.at/qCDQ4 11 วิดโี อนาเสนอ การขบั เคลอ่ื นโครงการส่งเสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ โรงเรียนบ้านออ้ น สพป. ลาปาง เขต 1 https://shorturl.at/cqFPW 12 วิดีโอนาเสนอ การขับเคลอื่ นโครงการสง่ เสริมโรงเรยี นเปน็ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ โรงเรียนบา้ นโปง่ ขวาก สพป. ลาปาง เขต 1 https://shorturl.at/bmuDP

23 ภำพประกอบกิจกรรม กำรประชมุ ปฏิบตั ิกำรแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ ำรขับเคล่ือนคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นำสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ และศกึ ษำดูงำนโรงเรยี นในโครงกำรสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแห่งกำรเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นำสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ในจงั หวัดลำปำง ระหวำ่ งวนั ท่ี 20-23 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2565 จดั โดย สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน และสำนักงำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 สถำนท่ี ณ โรงแรมเวยี งลคอร อำเภอเมอื งลำปำง จังหวัดลำปำง ***************************** ประธานในพิธีเปิดโดย นายสมเกียรติ ปงจันตา ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยมี ดร.เอกฐสิทธ์ิ กอบกา ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สพป. ลาปาง เขต 1 กลา่ วรายงาน และ ผอ.ดุจดาว ทพิ ย์มาตย์ ผู้อานวยการกลุ่มวิจยั และส่งเสริมการวจิ ัยทางการศกึ ษา สานกั พัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และ คณะศกึ ษานิเทศก์ ผบู้ ริหาร คณะครู เขา้ รว่ มพิธเี ปิดการประชุม

24 ภำพประกอบกิจกรรม กำรประชมุ ปฏบิ ัตกิ ำรแลกเปล่ยี นเรียนร้กู ำรขับเคลื่อนคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ และศกึ ษำดูงำนโรงเรยี นในโครงกำรส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ กำรเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ในจังหวดั ลำปำง ระหวำ่ งวนั ที่ 20-23 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2565 กิจกรรมศกึ ษาดงู าน โรงเรยี นในโครงการ ได้แก่ โรงเรียนบ้านออ้ น อาเภองาว และโรงเรียนบา้ นโปงขวาก อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง

25 ภำพประกอบกิจกรรม กำรประชมุ ปฏบิ ัตกิ ำรแลกเปล่ยี นเรียนร้กู ำรขับเคลื่อนคุณภำพกำรจดั กำรศกึ ษำด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมอื งร่นุ ใหม่ และศกึ ษำดูงำนโรงเรยี นในโครงกำรส่งเสริมโรงเรยี นเปน็ ชมุ ชนแหง่ กำรเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ในจังหวดั ลำปำง ระหวำ่ งวนั ที่ 20-23 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2565 กิจกรรมศกึ ษาดงู าน โรงเรยี นในโครงการ ได้แก่ โรงเรียนบ้านออ้ น อาเภองาว และโรงเรียนบา้ นโปงขวาก อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลาปาง

26 ภำพประกอบกจิ กรรม กำรประชมุ ปฏบิ ัตกิ ำรแลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ำรขบั เคลอื่ นคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนำสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ และศึกษำดูงำนโรงเรยี นในโครงกำรส่งเสริมโรงเรียนเป็นชมุ ชนแห่งกำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนำสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ ในจงั หวัดลำปำง ระหวำ่ งวนั ท่ี 20-23 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2565 ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา ผู้อานวยการกลมุ่ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา นาเสนอผลการดาเนินงานของ Area Team สพป. ลาปาง เขต 1 ดว้ ยรปู แบบการนเิ ทศ APICE Model ณ ห้องประชมุ จันผา โรงแรมเวยี งลคอร จงั หวัดลาปาง

27 ภำพประกอบกจิ กรรม กำรประชุมปฏบิ ตั กิ ำรแลกเปลี่ยนเรยี นร้กู ำรขบั เคล่อื นคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอื่ พัฒนำสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ และศึกษำดูงำนโรงเรียนในโครงกำรส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งกำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนำสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ในจังหวดั ลำปำง ระหวำ่ งวนั ท่ี 20-23 กุมภำพนั ธ์ พ.ศ. 2565 ผู้เข้ารว่ มประชมุ นาเสนอผลการแลกเปล่ียนเรียนร้กู ารขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศกึ ษาด้วยนวัตกรรม SLC (School as Learning Community) เพื่อพัฒนาสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ และศกึ ษาดงู านโรงเรียนในโครงการสง่ เสรมิ โรงเรยี นเปน็ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพ่อื พฒั นาสมรรถนะพลเมอื งรุ่นใหม่ ในจังหวดั ลาปาง ณ หอ้ งประชุมจนั ผา โรงแรมเวียงลคอร จงั หวัดลาปาง

28 ภำพประกอบกจิ กรรม กำรประชมุ ปฏิบัตกิ ำรแลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ำรขบั เคล่ือนคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนำสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ และศกึ ษำดงู ำนโรงเรยี นในโครงกำรสง่ เสรมิ โรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งกำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมืองรุ่นใหม่ ในจงั หวดั ลำปำง ระหวำ่ งวนั ท่ี 20-23 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2565 การนาเสนอกจิ กรรมการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นบา้ นมะอึ สพป. ร้อยเอด็ เขต 1 และการจดั นทิ รรศการแสดงผลงานของสพป. ลาปาง เขต 1 โรงเรียนในโครงการ โรงเรียนบ้านออ้ น และโรงเรยี นบ้านโปง่ ขวาก ณ หอ้ งประชมุ จันผา โรงแรมเวยี งลคอร จังหวัดลาปาง

29 ภำพประกอบกจิ กรรม กำรประชุมปฏิบัติกำรแลกเปลย่ี นเรียนรูก้ ำรขับเคลื่อนคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ และศกึ ษำดูงำนโรงเรียนในโครงกำรส่งเสรมิ โรงเรียนเปน็ ชุมชนแห่งกำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พัฒนำสมรรถนะพลเมืองรุน่ ใหม่ ในจงั หวัดลำปำง ระหว่ำงวันท่ี 20-23 กมุ ภำพันธ์ พ.ศ. 2565 การตรวจคัดกรองผเู้ ขา้ ร่วมการประชมุ ตามมาตรการการเฝา้ ระวังการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยบุคลากรสาธารณสขุ ณ ห้องประชุมจันผา โรงแรมเวยี งลคอร จังหวดั ลาปาง

30

31

32

33

34

35

36 QR Code รวมภำพกิจกรรม กำรประชุมปฏบิ ัตกิ ำรแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กำรขบั เคล่อื นคณุ ภำพกำรจัดกำรศกึ ษำด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นำสมรรถนะพลเมอื งรุน่ ใหม่ และศึกษำดูงำนโรงเรียนในโครงกำรส่งเสริมโรงเรยี นเป็นชุมชนแห่งกำรเรยี นรู้ (School as Learning Community) เพอ่ื พฒั นำสมรรถนะพลเมืองร่นุ ใหม่ ในจงั หวดั ลำปำง ระหวำ่ งวนั ท่ี 20-23 กมุ ภำพันธ์ พ.ศ. 2565 สถำนท่ี ณ โรงแรมเวยี งลคอร อำเภอเมืองลำปำง จงั หวัดลำปำง ***************************** https://shorturl.at/quvS1

37 QR Code ข้อมูลผู้เขำ้ ร่วมกำรประชุม กำรประชมุ ปฏิบตั ิกำรแลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ำรขบั เคล่อื นคุณภำพกำรจดั กำรศึกษำด้วยนวตั กรรม SLC (School as Learning Community) เพอื่ พฒั นำสมรรถนะพลเมืองรนุ่ ใหม่ และศึกษำดงู ำนโรงเรยี นในโครงกำรสง่ เสรมิ โรงเรียนเปน็ ชมุ ชนแหง่ กำรเรียนรู้ (School as Learning Community) เพอื่ พัฒนำสมรรถนะพลเมอื งรนุ่ ใหม่ ในจังหวดั ลำปำง ระหวำ่ งวนั ท่ี 20-23 กมุ ภำพันธ์ พ.ศ. 2565 สถำนท่ี ณ โรงแรมเวียงลคอร อำเภอเมืองลำปำง จังหวดั ลำปำง ***************************** https://shorturl.at/floDR

38 คณะทำงำนทมี ขบั เคล่อื นระดบั สำนักงำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำ (Area Team) สำนกั งำนเขตพ้นื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 1. ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา ผอู้ านวยการกลุ่มนิเทศตดิ ตาม และประเมนิ ผลฯ ประธานกรรมการ 2. นายนพดล ถาวร ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 3. นายชยั วุฒิ นามะกณุ า 4. นายสวัสดิ์ ละคาปา ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 5. นางสาวอญั ชลี โทกุล ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 6. นางสาววมิ ล ปวนปันวงค์ 7. นางพรนิภา ยศบุญเรือง ศึกษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 8. นางศรีจนั ทร์ ทรายใจ ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 9. นางอมั รนิ ทร์ บญุ เอนก ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 10. นางกนษิ ฐา สวยสด ศึกษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการและเลขานกุ าร ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

39 คณะผจู้ ดั ทำ ที่ปรึกษำ ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 1. นายสมเกยี รติ ปงจันตา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 2. นายสมบรู ณ์ สันชุมภู รองผู้อานวยการสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3. นายพชิ ยั สดเอย่ี ม รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 4. นายภูชิชย์ ทาวงศม์ า ผจู้ ัดทำ ผ้อู านวยการกลุ่มนเิ ทศติดตาม และประเมินผลฯ ประธานกรรมการ 1. ดร.เอกฐสิทธิ์ กอบกา ศึกษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 2. นายนพดล ถาวร 3. นายชัยวุฒิ นามะกณุ า ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 4. นายสวสั ด์ิ ละคาปา ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 5. นางสาวอัญชลี โทกุล 6. นางสาววมิ ล ปวนปันวงค์ ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 7. นางพรนิภา ยศบญุ เรอื ง ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 8. นางศรีจนั ทร์ ทรายใจ ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 9. นางสาววัชรี เหลม่ ตระกลู 10. นางทานตะวัน มะโนพงศพ์ นั ธ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 11. นางเขมจิรา เศวตรตั นเสถียร ศึกษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 12. นางสาวยวุ ธดิ า ใหม่กนั ทะ 13. นางธดิ ารัตน์ บตุ รเพง็ ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 14. นางอัมรนิ ทร์ บุญเอนก ศึกษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ 15. นางกนิษฐา สวยสด ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการ ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการและเลขานกุ าร ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ ออกแบบปก ศกึ ษานิเทศก์ สพป. ลาปาง เขต 1 นางอมั รินทร์ บญุ เอนก

40