Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ปีการศึกษา 2564

รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ปีการศึกษา 2564

Published by อัมรินทร์ บุญเอนก, 2022-06-06 08:16:56

Description: รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน(NT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มงานวดั และประเมินผลการศกึ ษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสาร ศน.สพป.ลป.1 ที่ 10 / 2565

รายงาน ผลการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รยี น(NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มงานวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา กลมุ่ นเิ ทศตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เอกสาร ศน.สพป.ลป.1 ท่ี 10 /2565

ก คำนำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน มีนโยบำยในกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนที่สำมำรถสะท้อน ถึงคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนในระดับช้ันประถมศึกษำปีท่ี 3 ได้ทำกำรประเมินควำมสำมำรถพ้ืนฐำน 2 ด้ำน คือ ควำมสำมำรถด้ำนภำษำไทย และควำมสำมำรถด้ำน คณติ ศำสตร์ กับผ้เู รยี นจำกทกุ สงั กัดทว่ั ประเทศ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 จึงดำเนินกำรบริหำรจัดกำรประเมินคุณภำพ ผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 3 ปีกำรศึกษำ 2564 เป็นไปในแนวทำงของสำนักทดสอบทำงกำรศึกษำ ให้มี มำตรฐำนเดียวกันทั้งประเทศ ผลกำรทดสอบมีควำมน่ำเช่ือถือ ถูกต้อง ตรงตำมควำมสำมำรถท่ีแท้จริง ของนักเรียน สำมำรถนำข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในกำรวำงแผนปรบั ปรุงและพัฒนำควำมสำมำรถพืน้ ฐำน ของนักเรียนทง้ั ในระดับรำยบคุ คล โรงเรยี น สำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำ/ศูนย์สอบ และรำยสังกดั ขอขอบคุณ คณะกรรมกำรระดับศูนย์สอบและระดับสนำมสอบ ท่ีให้ควำมร่วมมือในกำรดำเนินกำร กำรประเมินคุณภำพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2564 ทำให้เชื่อม่ันได้ว่ำ ผลกำรประเมิน ให้ข้อมูลท่ีถูกต้องตรงตำมควำมสำมำรถที่แท้จริงของนักเรียน สำมำรถนำไปวำงแผน ปรับปรุง และพัฒนำได้ อย่ำงมีคุณภำพตอ่ ไป กลมุ่ งำนวดั และประเมนิ ผลกำรศกึ ษำ กลมุ่ นเิ ทศติดตำม และประเมนิ ผลกำรจัดกำรศึกษำ สำนักงำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1

ข สำรบญั เรื่อง หนำ้ คำนำ ..................................................................................................................................................... ก บทสรปุ ผูบ้ รหิ ำร .................................................................................................................................... 1 บทท่ี 1 บทนำ .................................................................................................................................... 1 1 เหตผุ ลและควำมจำเป็น……….....................……………………................……………….………..…… 2 วัตถุประสงค์…………………………………………….…………………………….....................…………….… 2 กล่มุ เปำ้ หมำย......................................................................................................................... 2 ผลท่คี ำดว่ำจะไดร้ บั ................................................................................................................ 3 ตำรำงสอบ ............................................................................................................................... 3 ประกำศผลกำรสอบ ................................................................................................................ 3 เครื่องมอื ทใี่ ช้ในกำรประเมิน ................................................................................................... บทท่ี 2 กรอบแนวคิดในกำรประเมนิ คณุ ภำพผู้เรยี น ปกี ำรศึกษำ 2564…………...............…………….. 7 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินงำน……………………………………..……………………………...........……………………….….. 13 ภำรกจิ ระดับศูนย์สอบ ........……………………..……………………………............……………..….…… 13 บทบำทของคณะกรรมกำรระดบั ศนู ย์สอบ .......................................................................... 13 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล………………………………………………….……………........................……… 15 กำรวิเครำะห์ข้อมลู …………..…………………..…..……………………………………………….........…… 15 บทท่ี 4 ผลกำรประเมิน………………………………………….……….........……………..……………………………… 16 - ผลกำรประเมินคณุ ภำพผเู้ รยี น ปีกำรศึกษำ 2564.……………………………………………….…….. 16 - เปรยี บเทยี บผลกำรประเมินคุณภำพผ้เู รยี น ระดับเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ 2563 และปกี ำรศึกษำ 2564………………..........……………………..………………….. 17 - เปรยี บเทียบผลกำรคณุ ภำพผเู้ รยี น ระหว่ำง ระดบั เขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำ และระดับสังกดั (สพฐ.) ปีกำรศึกษำ 2564……...........................................................……… 18 - เปรียบเทียบผลกำรคุณภำพผเู้ รียน ระหวำ่ ง ระดบั เขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำ และระดบั ประเทศ ปกี ำรศึกษำ 2564……….................................................................……. 19 - กำรยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรยี น(NT) ......................................................................… 20

ค สำรบญั (ต่อ) หน้ำ บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รำยผล และข้อเสนอแนะ…………………………......................……........………………... 21 สรุปผล…………………………………………………..…..………………………...........................….………… 21 อภปิ รำยผล…………………………………………………………………………....................….......……….... 21 ข้อเสนอแนะ……………………………..…………………………………………...................…........………… 22 ภำคผนวก …………………………………………………………………………………………………................………… 24 - สรุปผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรยี น (NT) ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ 3 ปีกำรศึกษำ 2564 ระดับสำนกั งำนเขตพ้นื ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1.............................................. 25 - รำยงำนผลกำรประเมนิ คณุ ภำพผเู้ รียน (NT) ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ 3 ปีกำรศกึ ษำ 2564 ฉบับที่ 1 แบบสรุปรำยงำนผลกำรทดสอบของเขตพืน้ ท่ี (Local01).......... 26 - ผลกำรประเมินคุณภำพผูเ้ รยี น (NT) ระดับชั้นประถมศึกษำปีท่ี 3 ปกี ำรศึกษำ 2564 สำนักงำนเขตพืน้ ทก่ี ำรศึกษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1........................................................... 28 - กำรประเมนิ คณุ ภำพผู้เรียน (NT) ระดับชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ 3 แบบรำยงำนผลกำรเปรียบเทยี บ ระดับประเทศ สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1.................................. 31 - กำรประเมินคณุ ภำพผู้เรียน (NT) ระดับชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 3 ผลกำรเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ยี ระหว่ำงปีกำรศึกษำ 2563 กบั ปีกำรศึกษำ 2564 สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำ ลำปำง เขต 1............................................................................................................................ 34 - ผลกำรประเมินคุณภำพผู้เรยี น (NT) ระดับช้นั ประถมศึกษำปีที่ 3 ปีกำรศกึ ษำ 2564 ระดับกลมุ่ เครอื ข่ำยสถำนศึกษำ สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1....... 37 คณะผจู้ ดั ทำ………………………………………………………………………………….………..………...........……….…….. 50

ตำรำงท่ี ง 1 2 สำรบญั ตำรำง 3 หน้ำ 4 ผลกำรประเมนิ คุณภำพผู้เรยี น (NT) ชั้นประถมศึกษำปที ่ี 3 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ของ สำนกั งำนเขตพนื้ ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 ........................................ 16 ผลกำรเปรียบเทยี บผลกำรประเมินคุณภำพผเู้ รยี น (NT) ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 3 ระหวำ่ งปกี ำรศกึ ษำ 2563 กบั ปีกำรศกึ ษำ 2564 ของ สำนกั งำนเขตพืน้ ที่กำรศกึ ษำ ประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1 ............................................................................................. 17 ผลกำรเปรยี บเทียบผลกำรประเมนิ คุณภำพผู้เรียน (NT) ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี 3 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ระหว่ำง ระดบั เขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ กบั ระดบั สังกัด สพฐ. ................ 18 ผลกำรเปรียบเทยี บผลกำรประเมินคุณภำพผเู้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี 3 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ระหวำ่ ง ระดับเขตพืน้ ท่กี ำรศกึ ษำ กบั ระดบั ประเทศ ....................... 19

จ สำรบญั แผนภมู ิ แผนภูมิท่ี หน้ำ 1 แผนภูมแิ สดงผลกำรประเมินคณุ ภำพผู้เรียน (NT) ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 3 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ของ สำนักงำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1 ...................................................... 16 2 แผนภมู แิ สดงผลกำรเปรียบเทียบผลกำรประเมินคุณภำพผเู้ รียน (NT) ชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 3 ระหวำ่ งปีกำรศกึ ษำ 2563 กบั ปกี ำรศึกษำ 2564 ของ สำนกั งำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศกึ ษำ ประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1 ............................................................................................................ 17 3 แผนภมู ิแสดงผลกำรเปรยี บเทียบผลกำรประเมนิ คุณภำพผู้เรยี น (NT) ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 3 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ระหว่ำง ระดบั เขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำ กับ ระดบั สังกัด สพฐ.................................. 18 4 แผนภูมิแสดงผลกำรเปรยี บเทยี บผลกำรประเมนิ คุณภำพผเู้ รียน (NT) ชั้นประถมศึกษำปที ่ี 3 ปีกำรศกึ ษำ 2564 ระหว่ำง ระดับเขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำ กับ ระดบั ประเทศ ..................................... 19

ฉ บทสรุปผบู้ รหิ ำร สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน มีนโยบำยในกำรประเมินคุณภำพผู้เรยี นที่สำมำรถสะท้อน ถึงคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงกำรประเมินคุณภำพผู้เรียนในระดับช้ันประถมศึกษำปีท่ี 3 ได้ดำเนินกำรประเมินควำมสำมำรถพื้นฐำน 2 ด้ำน คือ ควำมสำมำรถด้ำนภำษำไทย และควำมสำมำรถด้ำน คณติ ศำสตร์ จำกกำรประเมินคุณภำพผูเ้ รยี น (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี 3 ปีกำรศึกษำ 2564 สำนักงำน เขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 พบว่ำ นักเรียนท้ังเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ ควำมสำมำรถด้ำนภำษำไทย 55.61 และมีคะแนนเฉล่ียร้อยละควำมสำมำรถด้ำนคณิตศำสตร์ 50.27 ซึ่งแสดงให้ เห็นว่ำนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี 3 ในสังกัดสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 มีควำมรู้ ควำมสำมำรถท้งั 2 ดำ้ น อยใู่ นระดบั ดี เพรำะมคี ะแนนสูงกว่ำค่ำเฉล่ียของระดบั สงั กัด (สพฐ.) และประเทศ แสดง ว่ำแบบทดสอบ NT เน้นทักษะกำรคิดขั้นสูง มีรูปแบบที่หลำกหลำย เพ่ือวัดควำมรู้ ควำมสำมำรถท่ีแท้จริงของ นักเรียน ซ่ึงครูผู้สอนได้เน้นกำรวัดและประเมินผลทักษะกำรคิดข้ันพื้นฐำนมำกข้ึน พร้อมท้ังมีกำรนำรูปแบบของ แบบทดสอบตำมแนวทำง PISA มำใช้ทำให้นักเรียนคุ้นเคยกับรูปแบบของแบบทดสอบ นอกจำกนี้ กำรจัดกิจกรรม กำรเรียนรู้ ยังใช้วิธีกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ไม่หลำกหลำย ส่ือกำรเรียนกำรสอนมีจำนวนจำกัด ตลอดจนจัดกิจกรรม กำรเรียนรู้ ออกแบบกำรวัดและ ประเมินผลไม่สอดคล้องกับตัวช้ีวัดและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรแกนกลำง กำรศกึ ษำขนั้ พืน้ ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 ท้ังนี้ สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 ได้จัดทำโครงกำรยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำง กำรเรยี นของเขตพนื้ ท่กี ำรศึกษำ กลุ่มเครือข่ำย และ โรงเรยี น ภำยใตร้ ปู แบบกำรนเิ ทศ APICE และกำรประเมินหอ้ งเรียน คุณภำพ ทำให้เกิดควำมร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจของทีมบริหำรสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำลำปำง เขต 1 ศึกษำนิเทศก์ และบุคลำกรท่ีเก่ียวข้องจำกกลุ่มงำนต่ำง ๆ ที่ได้มีกำรส่งเสริม สนับสนุนทั้งในเรื่องของงบประมำณ ในกำรพัฒนำ/ส่งเสริมโครงกำร/กิจกรรมทำงวิชำกำรของเครือข่ำย ศูนย์พัฒนำวิชำกำรของแต่ละกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ในกำรสร้ำง/พัฒนำสื่อกำรเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผล แบบทดสอบเพ่ือเตรียมควำมพร้อมในกำรสอบ NT ตลอดจนกำรพัฒนำศักยภำพของครผู ู้สอนทั้งในเร่ืองของกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ กำรวัดและประเมินผลตำมศตวรรษ ท่ี 21 ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ กำรแกป้ ญั หำกำรเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนกำรวจิ ัย กำรวดั และประเมินผลท่ีเน้น Formative Assessment (for learning, as learning) เน้น Summative Assessment (of learning) ซ่ึงใช้รูปแบบวิธีกำร ในกำรพัฒนำท่ีหลำกหลำย จึงส่งผลทำให้ครูผู้สอนเกิดควำมตระหนักและเห็นควำมสำคัญในกำรจัดกิจกรรกำรเรียนรู้ และกำรพัฒนำนักเรียนให้เต็มศักยภำพที่มุ่งเน้นควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน ของนักเรียนให้สูงขึ้น นอกจำกนี้ทำงรัฐบำล ซึ่งร่วมมือกับสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน ที่ได้จัดสรร งบประมำณและสอื่ กำรเรยี นสอนทำงไกลผ่ำนดำวเทยี มมำสนับสนนุ ช่วยเหลือครูผู้สอนในโรงเรยี นขนำดเล็ก เก่ียวกับกำร จัดกิจกรรมกำรเรียนรูต้ ำมตัวช้ีวัดและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ที่ใชเ้ ทคนิคกำรเรียนกำรสอนอย่ำงหลำกหลำยในกำรส่งเสริม พัฒนำนักเรียนให้เต็มศักยภำพ จึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน NT ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 3 ของสำนักงำนเขตพ้ืนท่ี กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำลำปำง เขต 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 สงู กว่ำระดบั สังกัด (สพฐ.) และระดับประเทศ

ช นอกจำกนี้ ควรมีกำรสนับสนุนให้ครูผู้สอน มีกำรวำงแผน/ออกแบบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่เน้น ทักษะกำรคิด โดยผ่ำนกิจกรรมกำรอ่ำน คิดวิเครำะห์ และเขียน และให้นักเรียนได้เรียนรู้จำกกำรปฏิบัติจริง (Active Learning) นำผลหลงั กำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้ เมื่อจบหนว่ ยกำรเรียนรู้ มำวิเครำะหจ์ ุดเด่น จดุ ดอ้ ยของ สื่อกำรเรียนรู้ ควำมรู้ควำมสำมำรถของนักเรียนเป็นรำยบุคคล และนำผลที่ได้มำใช้แก้ปัญหำกำรเรียนรู้ของ นกั เรยี น โดยใชก้ ระบวนกำรวจิ ยั ในชน้ั เรยี น ควรมกี ำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ โดยใชร้ ูปแบบ กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ และสื่อกำรเรยี นรู้ท่ีมคี วำมหลำกหลำย ตลอดจนดำเนินกำรวดั และประเมนิ ผลนักเรียน ท่ี เ น้ น formative Assessment ( for learning, as learning) and Summative Assessment ( of learning) อกี ทง้ั ศึกษำนเิ ทศก์ ผูบ้ ริหำรโรงเรยี น และผู้ทม่ี ีส่วนเกยี่ วขอ้ ง ควรมีกำรวำงแผน ร่วมกบั ครูผสู้ อน ในกำรแกป้ ัญหำ กำรเรียนรู้ของนักเรียนในแต่ละกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ โดยคำนึงถึงควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล และควร มกี ำรสง่ เสริม และจัดทำ/พฒั นำเครือ่ งมือวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับรูปแบบกำรประเมินคุณภำพผู้เรียน (NT) และ PISA ที่สะท้อนตัวช้ีวัด/มำตรฐำนกำรเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ เพื่อให้ครูผู้สอนได้นำไปใช้ในระดับ ช้ันเรยี น หรอื เป็นตน้ แบบในกำรสร้ำงและพฒั นำ นำไปใชว้ ดั และประเมนิ ผลนกั เรียนในแต่ละหน่วยกำรเรียนรู้ตอ่ ไป

1 บทที่ 1 บทนำ 1. เหตผุ ลและควำมสำคญั สถานการณโ์ ลกปัจจุบนั มีการเปลยี่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา เชน่ เดียวกับ ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนา เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาวะความเป็นจริง แนวคิดเรื่อง “ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21” ที่มุ่งเน้นทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3Rs 4Cs ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังน้ี 3Rs ได้แก่ การอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) และคณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4Cs ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การส่ือสาร (Communication) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และการร่วมมือ (Collaboration) โดยเฉพาะ ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะต้องมีทักษะอื่นอีกหลายด้าน เช่น ทักษะการสื่อสาร และ ทักษะการคิด คานวณ เป็นต้น เพือ่ ให้อยู่ในโลกแหง่ การแข่งขันไดอ้ ย่างปลอดภยั และมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดนโยบายและจุดเนน้ เพื่อให้การบรหิ ารจดั การศกึ ษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์ของ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล เร่ืองการเตรียมคนในศตวรรษท่ี 21 ใน ระดับประถมศึกษามงุ่ คานึงถึงพหุปัญญาของผู้เรียนรายบุคคล ท่ีหลากหลาย ตามศักยภาพ โดยเฉพาะการเรยี น ภาษาไทย เน้นเพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิชาอื่น รวมถึงนโยบายการพัฒนาและส่งเสริมให้นกั เรยี นระดับ ประถมศึกษาคิดเลขเป็น พร้อมกับสร้างเด็กให้เกิด ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ รวมถึงการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้แก้ปัญหาได้ เนื่องจากเกิดสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในปีการศึกษา 2564 กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบาย และมาตรการในการจัดการศึกษา โดยให้สถานศึกษาสามารถกาหนด รูปแบบการจดั การเรียนการสอน ที่แตกต่างกนั ตามสภาพบรบิ ทและเหมาะสมกับสถานการณ์การของแต่ละพ้ืนท่ี ทาให้สถานศกึ ษาแต่ละแหง่ ไมส่ ามารถจัดการเรียนการสอนเพอื่ พัฒนาผู้เรยี นไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ ผู้ปกครองเกิด ความวติ กกังวล เกย่ี วกบั คุณภาพของผเู้ รยี น จากการเรียนการสอนในสถานการณป์ ัจจุบัน ประกอบกบั นกั เรียนมี ความวิตก กังวลเก่ียวกับการวัดและประเมินผล กระทรวงศึกษาธิการ เข้าใจถึงสถานการณ์การจัดการเรียน การสอนของสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศ จงึ ได้กาหนดแนวทางการวัดและประเมนิ คุณภาพผู้เรยี นเพ่ือลดความเครียด จาก การทดสอบของผู้เรียน มุ่งวัดและประเมินคุณภาพผู้เรยี นตามสภาพจริง ปรับเปล่ียนการทดสอบปลายภาค หรือ ปลายปีให้เป็นการประเมินผลงานหรือโครงงาน และปรับเปลี่ยนวิธีการทดสอบจากแบบทดสอบ เป็นรูปแบบอื่นที่หลากหลาย รวมทั้ง ทาการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ให้สถานศึกษาดาเนินการประเมินผู้เรียนตามความสมัครใจ และสานักทดสอบ ทางการศึกษาบริการไฟล์ ตน้ ฉบับเครือ่ งมือการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน (NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 สาหรบั ใหส้ ถานศกึ ษานาไปใชป้ ระเมิน คุณภาพผู้เรียน รวมทั้ง มอบหมายให้สานักทดสอบทางการศึกษา ร่วมกับ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ดาเนินการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนตามโครงการพระราชดาริสมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมกุมารี ซึ่งประกอบด้วย 4 กลุ่มโรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียนพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 2) โรงเรียนในโครงการพัฒนาเดก็

2 และเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร (กพด.) 3) โรงเรียนด้วยรักและห่วงใย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี และ 4) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สงั กัดกองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน โดยให้สานกั งาน เขตพื้นท่ีการศึกษาเปน็ หนว่ ยงานบริหารจดั การทดสอบและประเมนิ นกั เรยี น สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้มีโครงการประเมิน คุณภาพผู้เรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2526 เป็นต้นมา วัตถุประสงค์ของการประเมินเพ่ือตรวจสอบ ความสามารถ พื้นฐานที่สาคญั ในการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี น ทั้งในด้านการอ่าน การเขียน และการคดิ คานวณ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ครูผู้สอนมีข้อมูลความสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน สาหรับ นาไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาศกั ยภาพผูเ้ รียน เป็นรายบคุ คล และทราบถงึ สาระการเรียนรู้ ที่ต้องปรับปรุงและพัฒนา นาข้อมูลไปสู่การปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอนในปีการศึกษาถัดไป อีกทั้ง ทาให้ ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จุดที่ต้องปรับปรุงและพัฒนา ของนักเรียน เพื่อนาไปสู่การวางแผนพัฒนาผู้เรียน ในระดบั ช้ันท่สี งู ข้ึน 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื ตรวจสอบและประเมินคุณภาพผูเ้ รียน ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ตามหลกั สูตร แกนกลางการศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2.2 เพ่ือตรวจสอบความสามารถพ้ืนฐานในด้านการอ่าน การเขียน และการคิดคานวณ ของผู้เรียน ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 3. กลุ่มเปำ้ หมำย 3.1 เชิงปริมาณ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 โดยความสมคั รใจ 3.2 เชิงคุณภาพ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีข้อมูลผลการประเมินคุณภาพ ผู้เรียน(NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ในด้านภาษาไทย(Thai Literacy) และด้านคณิตศาสตร์(Mathematic Literacy) เพอ่ื ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนพัฒนาผเู้ รียนรายบคุ คล 4. ผลทีค่ ำดวำ่ จะได้รับจำกกำรดำเนินงำน 4.1 สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีข้อมูลผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ในด้านภาษาไทย(Thai Literacy) และด้านคณิตศาสตร์(Mathematic Literacy) เพอื่ ใช้เปน็ ขอ้ มูลประกอบการตัดสนิ ใจในการกาหนดนโยบาย กาหนดยทุ ธศาสตร์ แผนการศกึ ษาของชาติ ระดบั สว่ นกลาง ส่วนภมู ภิ าค และระดบั สถานศึกษาอกี ดว้ ย 4.2 สถานศกึ ษา ครู และนักเรยี น มีข้อมูลผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ในด้านภาษาไทย(Thai Literacy) และด้านคณิตศาสตร์(Mathematic Literacy) ท่ีสามารถสะท้อนคุณภาพ ผ้เู รียนได้อย่างแท้จริงและนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามความสามารถของนกั เรียน

3 5. ตำรำงสอบ การประเมินคุณภาพผู้เรยี น ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 กาหนดสอบในวันท่ี 17 มีนาคม 2565 รายละเอียด ตามตารางสอบ ดังน้ี 6. ประกำศผลกำรสอบ ประกาศผลการสอบวันที่ 27 เมษายน 2565 7. เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นกำรประเมิน เครื่องมอื ที่ใช้ในการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 แสดงรายละเอียด ดังตาราง 7.1 ควำมสำมำรถด้ำนภำษำไทย มกี รอบโครงสรา้ งในการประเมนิ ดงั น้ี

4

5 7.2 ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ มกี รอบโครงสร้างในการประเมิน ดงั น้ี

6

7 บทท่ี 2 กรอบแนวคิดในการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน แนวคดิ ทใ่ี ช้ในการบริหารจัดการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ใน ปีการศึกษา 2564 น้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใช้แนวคิดหลัก 3 แนวคิด ในการบริหาร จัดการ ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียน (Primary Capability) แนวคิดเก่ียวกับการ กระจายอานาจในการบริหารจัดการ (Decentralization) และแนวคิดเกี่ยวกับ ความโปร่งใสในการจัดสอบ (Transparency) โดยมีรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปนี้ 2.1 แนวคดิ เก่ียวกับความสามารถพน้ื ฐานของผ้เู รียน (Primary Capability) ความสามารถพื้นฐานท่ีใช้เป็นกรอบในการประเมินคุณภาพผู้เรียนนี้ เป็นความสามารถ ที่วิเคราะห์มาจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดแนวทางในการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน ว่าเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 เข้ารับการประเมิน รวมท้ังแนวคิด ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ที่กล่าวว่าความสามารถพื้นฐานเปรียบเสมือนเคร่ืองมือในการเรียนรู้ เนอ้ื หาความรู้เชงิ บรู ณาการ โดยในศตวรรษท่ี 21 ไดร้ ะบสุ มรรถนะพื้นฐานที่จาเปน็ ในการเรยี นรู้ 3 ด้าน (3Rs) ได้แก่ การอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) และคณิตศาสตร์ (Arithmetic) ดงั ภาพ

8 ดังน้ัน ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (Primary Capability) ที่ใช้เป็นกรอบในการประเมิน คุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จึงประกอบด้วย ความสามารถตามกรอบตัวช้ีวัดในหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 และผลลัพธ์ทเ่ี กิดขึ้นกบั ผูเ้ รียน (Student Outcomes) จาก แนวคิดในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ความสามารถด้านภาษาไทย และความสามารถด้านคณิตศาสตร์ โดยมี รายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ความสามารถด้านภาษาไทย ความสามารถด้านภาษาไทย หมายถงึ ความสามารถดา้ นการใช้ภาษาไทยเพ่อื การส่ือสารใน ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้ทักษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดอย่างมี วิจารณญาณ ในการใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือสื่อสารเพื่อสรุปความ สืบค้น แสวงหาความรู้อย่างต่อเน่ือง นาเสนออยา่ งสรา้ งสรรค์ ประเมินและตัดสินขอ้ มลู สารสนเทศ เพ่ือนาไปแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันและร้เู ท่าทัน สื่อ ตลอดจนสามารถใช้ภาษาแสดงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติเพื่อสร้างความเข้าใจอันดีในสังคม โดยมี ตัวชว้ี ดั ดังนี้ สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชีวติ และมีนิสยั รกั การอ่าน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรปู แบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา คน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่าและนามาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ

9 2) ความสามารถด้านคณติ ศาสตร์ ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการตคี วามและแปลง จากสถานการณป์ ัญหา หรอื สถานการณต์ ่าง ๆ ในบรบิ ทของชีวติ จรงิ (Problem in context) ให้เปน็ ปัญหาเชิง คณติ ศาสตร์ (Mathematical problem) การใชท้ ักษะการคิดคานวณ การแกป้ ญั หา การเชอื่ มโยง การส่ือสาร และส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การคิดสร้างสรรค์ และการให้เหตุผล โดยอาศัยข้อเท็จจริง ความคิดรวบ ยอด หลักการหรือทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ มีการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ ประเมินและตัดสินใจอย่าง สมเหตุสมผลและสร้างสรรค์ โดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นพลเมืองดีของประชาคมโลก เพื่อ นาไปสู่การหาผลลัพธ์และการอธิบาย/คาดการณ์/พยากรณ์สถานการณป์ ญั หาหรอื ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ดงั นี้ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใชจ้ านวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดข้ึนจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธ์ ระหวา่ งการดาเนินการตา่ ง ๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ปัญหา สาระท่ี 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.2 แกป้ ัญหาเกย่ี วกับการวัด สาระที่ 3 เรขาคณติ มาตรฐาน ค 3.1 อธบิ ายและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณติ สองมติ แิ ละสามมิติ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใชแ้ บบจาลองทางเรขาคณติ (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระท่ี 4 พีชคณติ มาตรฐาน ค 4.1 เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสมั พนั ธ์ และฟังกช์ ัน สาระท่ี 5 การวเิ คราะหข์ ้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 เขา้ ใจและใชว้ ิธีการทางสถิตใิ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 2.2 แนวคิดเกยี่ วกบั การกระจายอานาจในการบริหารจัดการ (Decentralization) การบริหารจดั การประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ปีการศึกษา 2564 นี้ สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ยดึ หลักการกระจายอานาจการบริหารจดั การไปยังศูนย์สอบทุกแหง่ เร่มิ ตั้งแต่การวางแผน การดาเนินงานบรหิ ารจัดการ การตดั สินใจ และความรับผดิ ชอบ โดยมีแนวคิดสาคัญ ดงั ตอ่ ไปน้ี ความหมายของการกระจายอานาจ การกระจายอานาจ คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจ จากภาครัฐ ส่วนกลาง ให้แก่องค์กรอื่นใด ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐส่วนภูมิภาค องค์กรอิสระ องค์กรท้องถ่ิน องค์กรเอกชน โดยเฉพาะภาคประชาชน ไปดาเนินการแทน ซึ่งการถ่ายโอนดงั กล่าว อาจจะมีลักษณะเป็นการถ่ายโอนเฉพาะ ภารกิจ ซึ่งเป็นการแบ่งภารกิจ ให้แก่องค์กรท่ีได้รบั การกระจายอานาจดาเนินการหรอื เป็นการถ่ายโอนโดยยดึ พื้นทเี่ ป็นหลัก ซง่ึ เป็นการแบง่ พนื้ ทีเ่ ปน็ หนว่ ยงานยอ่ ยในการดาเนินการ

10 แนวคิดพน้ื ฐานเกีย่ วกบั การกระจายอานาจ การกระจายอานาจสู่ส่วนภูมิภาค เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในการบริหารจัดการบ้านเมอื งของรัฐ ใน ระบบประชาธิปไตย โดยมงุ่ ลดบทบาทของรัฐส่วนกลาง (Decentralize) ลงเหลือภารกิจหลักเท่าท่ีต้องทา เท่าที่ จาเป็น และให้ประชาชนได้มีส่วนในการบริหารงานชุมชนส่วนภูมิภาค ตามเจตนารมณ์ของประชาชนมากข้ึน การกระจายอานาจ สู่ส่วนภูมิภาค จึงเป็นการจัดความสัมพันธ์ทางอานาจหนา้ ท่ีใหม่ ระหว่างส่วนกลางกบั ส่วน ภูมิภาค ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์บ้านเมือง ท่ีเปล่ียนแปลงไปในสภาวะท่ีสังคม มีกลุ่มท่ีหลากหลาย มคี วามต้องการและความคาดหวังจากรัฐที่เพิม่ ข้ึน และแตกต่างกัน ขัดแยง้ กนั ในขณะท่ีรัฐเองก็มีขดี ความสามารถ และทรัพยากรทจี่ ากดั ในการตอบสนองปญั หา ความต้องการ ท่เี กดิ ขึ้นในแต่ละสว่ นภูมภิ าคได้ทันตอ่ เหตุการณ์ และตรงกบั ความต้องการของส่วนภูมิภาค โดยการกระจายอานาจจากส่วนกลางไปยังส่วนภูมิภาค จะดาเนนิ การ กระจายในสิ่งต่อไปน้ี 1) การกระจายหน้าท่ี เปน็ การกระจายภารกิจหน้าทจ่ี ากส่วนกลางที่เป็นประโยชนโ์ ดยตรงกับ สว่ นภูมภิ าค ใหส้ ว่ นภูมิภาครบั ผิดชอบดาเนนิ การเอง 2) การกระจายอานาจการตัดสินใจ เป็นการกระจายอานาจการตัดสินใจดาเนินการ ตามหน้าท่ี ทีส่ ่วนกลางกระจายไปใหส้ ว่ นภมู ิภาคดาเนินการ 3) การกระจายทรัพยากรการบริหาร เป็นการกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยี ที่เหมาะสม ใหก้ ับสว่ นภูมภิ าค 4) การกระจายความรับผิดชอบ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หน้าที่ ท่ีรัฐกับ ผู้บรหิ ารสว่ นภูมภิ าค และประชาชน รว่ มกันรับผดิ ชอบ 5) การกระจายความพร้อม เป็นการกระจายความพร้อม ท่ีมีอยู่ในส่วนกลางให้กับ ส่วนภูมิภาค เพื่อสร้างขีดความสามารถให้แก่ส่วนภูมิภาค เป็นการทาให้ส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็ง สามารถ บริหารจดั การสว่ นภูมิภาคไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ในการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ในปีการศึกษา 2563 มุ่งเน้นการกระจายอานาจ ในการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบที่เป็นหน่วยงานจากสังกัดต่าง ๆ เพื่อให้การบริหารจัดการสอบสามารถ ดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความรวดเร็ว โดยมีการกาหนดศูนย์สอบในการบริหารจัดการสอบให้ สถานศึกษาในสงั กดั ต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี

11 ศูนยส์ อบและสถานศกึ ษาทเ่ี ขา้ ร่วมสอบในศูนยส์ อบ สานกั งานเขต สานักงาน สานกั การศึกษา สานกั สานักงาน สานักงาน พ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสรมิ การ กรุงเทพมหานคร การศกึ ษา คณะกรรมการ ศกึ ษาธิการ ประถมศกึ ษา เมืองพทั ยา การส่งเสรมิ ปกครองทอ้ งถ่นิ จังหวดั (สพป.) จงั หวดั เอกชน ร.ร. สพป. ร.ร. อบต. ร.ร. กทม. ร.ร.เมอื งพทั ยา ร.ร.เอกชนใน ร.ร.เอกชนใน ร.ร. สพม. ร.ร. เทศบาล กรุงเทพมหานคร จงั หวัด ร.ร. ตชด. ยกเวน้ ร.ร. สาธิต ร.ร. อบจ. กรงุ เทพมหานคร มหาวิทยาลัย ร.ร .ราชประชา นุเคราะห์ ร.ร. การศกึ ษา พเิ ศษ Home school ศนู ย์การเรียนรู้ ชมุ ชน 2.3 แนวคิดเกี่ยวกับความโปร่งใสในการประเมนิ (Transparency) การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ถือเป็นการประเมินคุณภาพ เพื่อตรวจสอบและประเมิน คุณภาพผู้เรยี นในทกุ สังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนัน้ การบรหิ ารจดั การสอบจึงจาเปน็ ต้องมีประสิทธิภาพ และได้มาตรฐาน ซ่ึงจะส่งผลให้ผลท่ีได้จากการประเมินคุณภาพผู้เรียนมีความน่าเช่ือ และเป็นที่ยอมรับจาก หน่วยงานต่าง ๆ ในการทดสอบคร้ังนี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงได้กาหนดแนวปฏิบัติ เพ่ือความโปร่งใสในการบรหิ ารจัดการสอบ ดงั ต่อไปนี้ 1) การจัดสนามสอบ ศูนย์สอบกาหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งเป็นสนามสอบ เพ่ือหลีกเล่ียงการเคลื่อนย้าย นักเรียนออกจากพืน้ ท่ี ยกเว้นในกรณีท่ีมนี ักเรียนจานวนนอ้ ย ไมถ่ งึ 5 คน อนุโลมให้มีการเคลอ่ื นย้ายไปรวมกับ สถานศึกษาที่อยใู่ กลเ้ คียง ขน้ึ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของคณะกรรมการระดับศนู ยส์ อบ แต่ตอ้ งคานึงถึงความโปร่งใส และยตุ ธิ รรมในการสอบ 2) การแตง่ ตั้งคณะกรรมการระดบั สนามสอบ ศูนย์สอบแต่งตั้งคณะกรรมการระดับสนามสอบ ประกอบด้วย ประธานสนามสอบ กรรมการกลาง กรรมการคุมสอบ กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ กรรมการรับ-ส่งแบบทดสอบและ กระดาษคาตอบ นักการภารโรง และกรรมการอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม สาหรับกรรมการคุมสอบ และ กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ ต้องมาจากต่างสถานศึกษา หรือ ต่างกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนที่เปน็ สนาม

12 สอบ โดยใช้วิธีการหมุนเวียนหรือสลับกัน ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการระดับศูนย์สอบ แต่ต้อง คานงึ ถงึ ความโปร่งใสและยตุ ิธรรมในการสอบ 3) การรับ-สง่ กลอ่ งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ การจัดรับ-ส่งกล่องแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานจะมีระบบการขนส่งเอกสารท่ีมีความเครง่ ครดั และปลอดภยั สูง 3.1) ในการรับส่งกลอ่ งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบในทุกศูนย์สอบ จะตอ้ งให้ผู้ ประสานงานระดับศูนย์สอบเปน็ ผ้ลู งนามทกุ ครัง้ และศูนยส์ อบเกบ็ รกั ษากลอ่ งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ ไวใ้ นหอ้ งมนั่ คงหรือหอ้ งท่ีปดิ มิดชดิ มีผูท้ ค่ี อยดูแลตลอดเวลา 3.2) ศูนย์สอบส่งมอบแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบ ใหก้ ับประธานสนามสอบหรอื ตัวแทน ในตอนเชา้ ของวนั สอบ 3.3) หลังจากเสร็จส้ินการสอบ ให้ประธานสนามสอบหรือตัวแทนท่ีมีหน้าท่ีรับ–ส่ง กระดาษคาตอบระดับสนามสอบเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบนาซองกระดาษคาตอบสง่ มอบใหศ้ นู ยส์ อบ 3.4) ศูนย์สอบตรวจสอบความเรียบร้อยของซองกระดาษคาตอบ บรรจุลงในกล่อง พร้อม ส่งมอบให้สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน 4) กล่องบรรจแุ บบทดสอบและกระดาษคาตอบ การบรรจุแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะ บรรจุแบบทดสอบและกระดาษคาตอบ ใสซ่ องแยกเปน็ รายวิชา และนาซองข้อสอบทง้ั 2 วชิ า มาจัดชุดแยกเป็นราย ห้องสอบและบรรจใุ สก่ ล่อง โดยกลอ่ งบรรจแุ บบทดสอบตอ้ งแขง็ แรง และปดิ ผนึกดว้ ยเทปกาว อนุญาตใหป้ ระธาน สนามสอบเปดิ กล่องบรรจุแบบทดสอบได้ไมเ่ กนิ 1 ชว่ั โมงกอ่ นถงึ เวลาสอบ ต่อหนา้ ตวั แทนกรรมการคมุ สอบ 5) การตดิ ตามการบรหิ ารการประเมิน 5.1) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ร่วมกับสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา หรอื หนว่ ยงานต้นสังกดั ของสถานศึกษาทเ่ี ขา้ ร่วมการทดสอบ ทาการติดตามตรวจเยี่ยมการประเมินตาม มาตรฐาน โดยคณะกรรมการจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน จะสุ่มตรวจเย่ียมศูนยส์ อบและ สนามสอบ ในชว่ งก่อนวันสอบ วันสอบ และหลังวันสอบ 5.2) ศูนย์สอบตรวจเยีย่ มสนามสอบในช่วงก่อนวนั สอบ วันสอบ และหลงั วันสอบ

13 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ งำน การบรหิ ารจัดการสอบ ระดบั ศนู ยส์ อบ ในการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 เก่ียวกบั ภารกจิ ของศูนย์สอบ คณะกรรมการระดบั ศนู ย์สอบ และบทบาทของคณะกรรมการ ระดบั ศูนย์สอบ โดยมีรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ภำรกจิ ระดบั ศนู ยส์ อบ ศูนย์สอบ มีภาระหน้าท่ีและบทบาทที่สาคัญที่สุดในการบริหารการทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน การบริหารการทดสอบ ซ่ึงได้รับการกระจายอานาจการบริหารจัดการมาจากสานักงาน คณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ท้ังในเร่ืองของการวางแผนการจัดสอบ การตัดสินใจ การบริหารจัดการ และ ความรับผิดชอบ เพ่ือให้การดาเนินงานการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 มีประสทิ ธิภาพและมาตรฐานเดียวกนั โดยมภี ารกจิ สาคัญ ดงั ต่อไปนี้ 1.1 แต่งต้ังคณะกรรมการระดับศนู ยส์ อบและระดบั สนามสอบ 1.2 จัดพมิ พแ์ บบทดสอบและกระดาษคาตอบ 1.3 ประสานความรว่ มมอื กบั หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งในการบริหารจัดการสอบ 1.4 ดาเนนิ การจดั สอบใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการดาเนนิ งาน 1.5 กากับ และตดิ ตาม การดาเนนิ การสอบ 1.6 รายงานผลการทดสอบ และเผยแพร่ 2. บทบำทของคณะกรรมกำรระดับศูนย์สอบ ศูนย์สอบจะมีคณะกรรมการในการบริหารจัดการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ให้แก่ สถานศึกษา ประกอบด้วย ประธานศูนยส์ อบ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ คณะกรรมการรับ-ส่ง แบบทดสอบ เก็บรักษา แบบทดสอบ และเอกสารธุรการ และคณะกรรมการตรวจเย่ียม โดยมบี ทบาทหน้าท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 ประธำนศูนย์สอบ ได้แก่ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หรือ ผูบ้ งั คบั บญั ชาของหนว่ ยงานที่เป็นศูนย์สอบ หรอื ผู้ท่ีไดร้ ับมอบหมายมีหน้าที่ ดังนี้ 1) ดาเนนิ การตามแนวปฏิบัตทิ ่สี านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานกาหนด โดยบริหาร การประเมินให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการประเมิน 2) แตง่ ต้ังคณะกรรมการระดับศนู ยส์ อบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ 3) ควบคุม กากับ และติดตามให้การดาเนินการบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบ และสนาม สอบเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

14 4) พิจารณาตรวจสอบ ส่ังการ และติดตามในกรณีที่เกดิ ปัญหาการบริหารการจัดสอบ ทั้งระดบั ศูนย์สอบ และระดับสนามสอบ 2.2 คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรทดสอบ มหี น้าท่ี ดังนี้ 1) ประสานงานการจัดสอบในด้านต่าง ๆ ระหว่างสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ศูนย์สอบ และสนามสอบ 2) ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและคะแนนนักเรียนท่ีได้ดาเนินการนาเข้าสู่ ระบบ NT Access 3) แต่งต้งั คณะกรรมการระดับศนู ยส์ อบ และสนามสอบ 4) จัดประชมุ ชแี้ จงคณะกรรมการท่ีเกย่ี วข้องกับการทดสอบทง้ั ระดับศูนย์สอบและระดบั สนามสอบ 5) บรหิ ารการจัดสอบใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย 6) จดั ส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบใหก้ ับสนามสอบ 7) ดาเนินการตรวจแบบทดสอบเขียนตอบ ณ ศูนยส์ อบหรือสนามสอบท่ีกาหนด 8) กรณีตรวจแบบทดสอบแบบเขียนตอบ ณ สนามสอบให้รวบรวมส่งแบบทดสอบ แบบเขียน ตอบไปยังศูนยส์ อบ 9) จัดทารายงานผลการประเมนิ ระดับศนู ย์สอบ 2.3 คณะกรรมกำรรับ - ส่งแบบทดสอบ เก็บรักษำแบบทดสอบ กระดำษคำตอบ และ อุปกรณ์ กำรสอบ มีหน้าที่ ดงั นี้ 1) จัดเตรียมสถานท่ีท่ีมีความปลอดภัย เหมาะสม เพื่อใช้ในการเก็บรักษา แบบทดสอบและ กระดาษคาตอบ 2) ดแู ล และรกั ษาแบบทดสอบและกระดาษคาตอบใหเ้ ก็บรักษาไว้ในท่ปี ลอดภัย 3) ควบคุม ดูแล กากับการขนส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบจากศูนยส์ อบ ไปยงั สนามสอบ 2.4 คณะกรรมกำรตรวจเย่ียมสนำมสอบ มีหน้าที่ ดงั นี้ มีหน้าท่ี กากับ ติดตาม และตรวจเย่ียมการดาเนินการจัดสอบของคณะกรรมการ ระดับสนาม สอบระหว่างวันที่ 14 - 18 มนี าคม 2565 เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ การจัดสอบเปน็ ไปตาม แนวปฏิบัตกิ ารจัดสอบและ มาตรฐานการประเมิน คณะกรรมการตรวจเยี่ยมไม่ควรถ่ายรูปในห้องสอบหรือ กระทาการใด ๆ ท่ีเป็นการ รบกวนการดาเนนิ การสอบ 2.5 คณะกรรมกำรตรวจขอ้ สอบเขยี นตอบ ตอ้ งเปน็ ผูท้ ม่ี ีความรู้ความสามารถ ด้านภาษาไทย และ ด้านคณิตศาสตร์ หรือเป็นครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยกรรมการ 1 คน ต้อง ตรวจข้อสอบทั้ง 2 ด้าน และใช้กรรมการตรวจข้อสอบเขยี นตอบ 2 คน ตอ่ กระดาษคาตอบ 1 ฉบบั โดยให้ คะแนนแบบฉันทามตริ ว่ มกนั ท้ังนี้กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบควรมาจากต่างสถานศึกษา หรือต่างกลุ่มเครือข่ายเท่านั้น โดยมีหน้าท่ี ดังน้ี 1) ตรวจสอบ และศกึ ษาเกณฑก์ ารตรวจใหค้ ะแนนในแตล่ ะวิชาอยา่ งละเอยี ด

15 2) ตรวจข้อสอบเขียนตอบแล้วให้คะแนนนกั เรยี น 2.6 กรรมกำรบันทึกข้อมูลและคะแนนนักเรียน การบันทึกคะแนนข้ึนอยู่กับดุลพินิจ กรรมการ ระดบั ศูนยส์ อบ ท่จี ะทาการบันทกึ คะแนน ณ สนามสอบหรือศูนย์สอบก็ได้ 1) นาแบบบันทึกคะแนนด้านคณิตศาสตร์(แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึก คะแนนด้าน ภาษาไทย (แบบบันทึกคะแนน 2) ฉบับสาเนา ไปบันทึกคะแนนในแบบฟอร์มบันทึกคะแนน (ไฟล์ Excel) ท่ี ดาวน์โหลดมาจากระบบ NT Access 2) นาไฟล์ Excel ที่บันทึกข้อมูลและคะแนนนักเรียนแล้ว เข้าสู่ระบบ NT Access พร้อม ตรวจสอบความถูกต้องของคะแนนนักเรียนรายบุคคลในระบบ NT Access อีกคร้ังหน่ึง โดยให้ กรรมการ ตรวจสอบกอ่ นนาส่งเข้าระบบ 3) นาเข้าคะแนนด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาไทย บันทึกคะแนนรายบุคคล ในระบบ NT Access โดยให้กรรมการหรอื ผแู้ ทนเป็นผนู้ าเข้า 3. กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือให้เป็นมาตรฐานเดียวกันสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 และโรงเรยี นไดด้ าเนินการตามขนั้ ตอนและวธิ กี าร ดังนี้ 1. คณะกรรมการระดับเขตพ้ืนที่การศึกษามีหน้าท่ีวางแผนประสานงาน อานวยการเก่ียวกับ การดาเนินงานการจัดสอบของสนามสอบ ตลอดจนตรวจเย่ียมสนามสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส บริสทุ ธ์ิ และยตุ ธิ รรม 2. คณะกรรมการรับ-ส่งแบบทดสอบและเอกสารประกอบการสอบ มีหน้าท่ีส่งมอบแบบทดสอบ กระดาษคาตอบและเอกสารประกอบการสอบใหส้ นามสอบ 3. สนามสอบดาเนินการประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 วันท่ี 17 มนี าคม 2565 4. คณะกรรมการระดับสนามสอบ มีหน้าที่ ดาเนินการจัดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้วยความเรยี บรอ้ ย โปรง่ ใส บรสิ ุทธ์ิ และยตุ ิธรรม 5. คณะกรรมการประมวลผล สรุปผล และจัดทารายงาน มีหน้าท่ี สรุปผลและจัดทารายงาน การประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 4. กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้ทาการประมวลผล วเิ คราะหค์ า่ สถิตพิ ืน้ ฐาน ไดแ้ ก่ คา่ คะแนนเฉลยี่ ( X ) และคา่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D)

16 บทที่ 4 ผลการประเมนิ การประเมินคณุ ภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 ในปีการศกึ ษา 2564 สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้ดาเนินการทดสอบกับนักเรียนในทุกโรงเรียน และทุกคน ผลการประเมิน ปรากฏ ดังน้ี ตารางท่ี 1 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น(NT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 ของ สานักงานเขต พน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ความสามารถ จานวนนักเรียนท่เี ข้าสอบ คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ ส่วนเบีย่ งเบน มาตรฐาน ดา้ นภาษาไทย 1,871 55.61 17.86 ด้านคณติ ศาสตร์ 1,871 50.27 รวม 2 ดา้ น 1,871 52.95 19.32 34.04 ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น(NT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 พบว่า นักเรยี นมีคะแนน ทัง้ 2 ดา้ น เฉลี่ยรอ้ ยละ 52.95 โดยนักเรยี นทงั้ เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีคะแนนเฉล่ีย รอ้ ยละ ในความสามารถดา้ นภาษาไทย เท่ากับ 55.61 และมีคะแนนเฉล่ียในความสามารถด้านคณิตศาสตร์ เท่ากับ 50.27 แผนภมู แิ สดงผลการประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน(NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 57 55.61 56 55 54 53 52.95 52 51 50.27 รวม 2 ดา้ น 50 49 ด้านคณติ ศาสตร์ 48 47 ดา้ นภาษาไทย

17 ตารางท่ี 2 ผลการเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน(NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 กบั ปกี ารศกึ ษา 2564 ของ สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ความสามารถ คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ เพม่ิ ขึ้น/ลดลง เพ่ิมขึ้น/ลดลง ปกี ารศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 (+/-) รอ้ ยละ ด้านภาษาไทย 6.40 13.01 ด้านคณติ ศาสตร์ 49.21 55.61 5.73 12.86 รวม 2 ดา้ น 44.54 50.27 6.08 12.97 46.87 52.95 ผลการเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน(NT) ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 พบวา่ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละรวม 2 ด้านของปกี ารศกึ ษา 2564 เพิม่ ขึ้นจากปีการศกึ ษา 2563 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละทั้ง 2 ความสามารถ ได้แก่ ด้านภาษาไทย และ ด้านคณิตศาสตร์ ระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 เพ่มิ ขน้ึ จากปีการศึกษา 2563 แผนภมู ิแสดงผลการเปรียบเทียบการประเมินคุณภาพผเู้ รียน(NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา 2563 กับ ปกี ารศึกษา 2564 ของ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 60 55.61 50.27 52.95 50 49.21 44.54 46.87 40 30 20 10 0 ด้านคณติ ศาสตร์ รวม 2 ด้าน ด้านภาษาไทย คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ปกี ารศึกษา 2563 คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ ปีการศึกษา 2564

18 ตารางท่ี 3 ผลการเปรยี บเทียบผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น(NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2564 ระหวา่ งระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา กับ ระดบั สังกดั สพฐ. ความสามารถ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ สงู กว่า/ตา่ กวา่ ระดบั เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา ระดับสังกัด สพฐ. (+/-) ดา้ นภาษาไทย (สพป.ลาปาง เขต 1) ดา้ นคณิตศาสตร์ 55.48 0.13 55.61 48.73 1.54 รวม 2 ด้าน 52.11 0.84 50.27 52.95 ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระหว่างระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา กับ ระดับสังกัด สพฐ. พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละรวม 2 ด้านของระดับเขต พืน้ ทกี่ ารศึกษา สงู กว่าระดับสังกัด สพฐ. เม่ือพจิ ารณาเป็นรายด้านยงั พบว่า คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละในทุกความสามารถ ไดแ้ ก่ ดา้ นภาษาไทย และ ดา้ นคณติ ศาสตร์ ระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษาสูงกว่าระดับสังกดั สพฐ. แผนภมู ผิ ลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน(NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 ระหวา่ งระดับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา กบั ระดบั สงั กัด สพฐ. 58 56 55.61 55.48 54 52.95 52.11 52 50.27 50 48.73 48 46 44 ดา้ นคณติ ศาสตร์ รวม 2 ดา้ น ดา้ นภาษาไทย คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ ระดับเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา (สพป.ลาปาง เขต 1) คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ ระดับสงั กดั สพฐ.

19 ตารางท่ี 4 ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี น(NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 ระหว่างระดบั เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา กับ ระดบั ประเทศ ความสามารถ คะแนนเฉล่ียร้อยละ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ สูงกวา่ /ตา่ กว่า ระดบั ประเทศ (+/-) ระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา (สพป.ลาปาง เขต 1) ดา้ นภาษาไทย 55.61 56.14 -0.53 ด้านคณติ ศาสตร์ 50.27 49.44 0.83 รวม 2 ดา้ น 52.95 52.80 0.15 การเปรียบเทียบผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน(NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระหว่าง ระดับเขตพื้นทก่ี ารศึกษา กับ ระดบั ประเทศ พบว่า คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละรวม 2 ด้านของระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา สงู กวา่ ระดับประเทศ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ระดับเขตพ้ืนที่ การศึกษาสูงกว่าระดับประเทศ แต่ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละความสามารถด้านภาษาไทย ระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ตา่ กว่าระดบั ประเทศ แผนภมู ผิ ลการเปรียบเทียบผลการการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น(NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 ระหวา่ งระดบั เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา กบั ระดับประเทศ 58 56 55.61 56.14 54 52.95 52.8 52 50.27 50 49.44 48 46 ดา้ นคณิตศาสตร์ รวม 2 ดา้ น ด้านภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา (สพป.ลาปาง เขต 1) คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ ระดับประเทศ

20 การยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน(NT) จากการดาเนินงานในปีการศึกษา 2564 ท่ีผ่านมา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ดาเนินการตามนโยบายการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของสานักงานคระกรรมการการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน ดงั นี้ 1. สร้างความตระหนัก โดยแจ้งนโยบายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สถานศึกษาวิเคราะห์ผลการทดสอบ NT และจัดทา แผนงาน/โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน จัดส่งแผนผังโครงสร้างขอ้ สอบ NT ให้สถานศึกษาเตรยี ม ความพรอ้ ม 2. จัดทาตัวอย่างข้อสอบ ตามโครงสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยให้ สถานศกึ ษาในสงั กัดนาไปใช้ในการเตรียมความพรอ้ มให้กับนกั เรียน 3. ส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างข้อสอบคู่ขนาน NT ช้ัน ป.3 ท้ัง 2 ด้าน คือ ด้านภาษาไทย และด้านคณิตศาสตร์ 4. สง่ เสริมครผู ูส้ อนในการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ดู า้ นเทคนคิ วิธกี ารเพอ่ื พัฒนา ทกั ษะการคิด และทักษะ การแกป้ ัญหา ของผเู้ รียนในชนั้ เรียน 5. ดาเนินการนิเทศ ติดตาม สถานศึกษาในสังกัดดาเนินงานการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน NT ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE) 6. จัดกิจกรรมถอดบทเรียนและการแลกเปล่ียนเรยี นรู้นวัตกรรมของครูผู้สอนท่ีใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นตามกลมุ่ สาระการเรียนและระดบั ชนั้ โดยใช้กระบวนการ PLC

21 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การประเมนิ คุณภาพผเู้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศกึ ษา 2564 สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาลาปางเขต 1 ไดด้ าเนินการจัดการทดสอบใหก้ ับนักเรยี นในสังกดั ผลการประเมินสรปุ ดังนี้ สรุปผล 1. ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน(NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 พบว่า นักเรียนมคี ะแนน ท้ัง 2 ด้าน เฉลี่ยร้อยละ 52.95 โดยนักเรียนทั้งเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีคะแนนเฉล่ีย ร้อยละในความสามารถด้านภาษาไทย เท่ากับ 55.61 และมีคะแนนเฉล่ียในความสามารถด้านคณิตศาสตร์ เท่ากบั 50.27 2. เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 กับ ปีการศกึ ษา 2564 ของ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผ้เู รยี น(NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละรวม 2 ดา้ นของปีการศึกษา 2564 เพ่มิ ขน้ึ จากปกี ารศกึ ษา 2563 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละทั้ง 2 ความสามารถ ได้แก่ ด้านภาษาไทย และ ดา้ นคณติ ศาสตร์ ระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 เพ่ิมขึน้ จากปกี ารศึกษา 2563 3. เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระหวา่ งระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา กับ ระดับสังกัด สพฐ. ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน(NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 ระหว่างระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา กับ ระดับสังกัด สพฐ. พบว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละรวม 2 ด้านของระดับเขต พ้ืนทกี่ ารศึกษา สงู กวา่ ระดับสังกดั สพฐ. เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านยังพบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละในทุกความสามารถ ได้แก่ ด้านภาษาไทย และ ด้านคณิตศาสตร์ ระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาสงู กว่าระดบั สงั กดั สพฐ. 4. เปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระหว่างระดบั เขตพืน้ ที่การศึกษา กับ ระดับประเทศ การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรยี น(NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระหว่าง ระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา กบั ระดบั ประเทศ พบว่า คะแนนเฉล่ยี ร้อยละรวม 2 ดา้ นของระดับเขตพื้นทก่ี ารศึกษา สูงกว่าระดับประเทศ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ระดับเขตพื้นที่ การศึกษาสูงกวา่ ระดบั ประเทศ แต่ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละความสามารถดา้ นภาษาไทย ระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษาต่า กว่าระดบั ประเทศ อภิปรายผล จากการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 สานักงานเขต พ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 พบวา่ คะแนนเฉลี่ยร้อยละทั้ง 2 ด้าน เท่ากับ 52.95 โดยนักเรียนท้ังเขตพื้นท่ีการศึกษามคี ะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ ความสามารถด้านภาษาไทย 55.61 และมีคะแนนเฉล่ียร้อยละความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 50.27 แต่ก็มี

22 ค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉล่ียระดับสังกัด(สพฐ.) และระดับประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในสังกดั สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีความรูค้ วามสามารถทงั้ 2 ด้าน อยู่ในระดับดี เพราะสูงกว่าค่าเฉลี่ยของระดับสังกัด (สพฐ.) และประเทศ แสดงว่าแบบทดสอบ NT เน้นทักษะการคิดข้ันสูง มีรูปแบบที่หลากหลาย เพ่ือวัดความรู้ ความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน ซ่ึงครูผู้สอนได้เน้นการวัดและ ประเมินผลทักษะการคิดข้ันพื้นฐานมากขึ้น พร้อมท้ังมีการนารูปแบบของแบบทดสอบตามแนวทาง PISA มาใช้ ทาให้นักเรียนคุ้นเคยกับรูปแบบของแบบทดสอบ นอกจากน้ี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ยังใช้วิธีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ไม่หลากหลาย สื่อการเรียนการสอนมีจานวนจากัด ตลอดจนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ออกแบบการวัดและ ประเมินผลไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ท้ังน้ี สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้จัดทาโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา กลุม่ เครอื ข่าย และ โรงเรยี น ภายใตร้ ูปแบบ APICE และการประเมินหอ้ งเรียนคุณภาพ ทาให้เกิดความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจของทีมบริหารสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ศกึ ษานิเทศก์ และบุคลากรทีเ่ กี่ยวขอ้ งจากกลมุ่ งานต่าง ๆ ที่ได้มีการสง่ เสริม สนบั สนนุ ท้งั ในเร่อื งของงบประมาณในการ พัฒนา/ส่งเสริมโครงการ/กิจกรรมทางวิชาการของเครือข่าย ศูนย์พัฒนาวิชาการของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในการสร้าง/พัฒนาส่ือการเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผล แบบทดสอบเพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ NT ตลอดจนการพฒั นาศกั ยภาพของครผู ู้สอนทง้ั ในเร่อื งของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลตามศตวรรษ ท่ี 21 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การแก้ปัญหาการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัย การวัดและประเมินผลท่ีเน้น Formative Assessment (for learning, as learning) เน้น Summative Assessment (of learning) ซึ่งใช้รูปแบบ วธิ กี ารในการพัฒนาท่ีหลากหลาย จงึ สง่ ผลทาให้ครูผู้สอนเกิดความตระหนักและเหน็ ความสาคญั ในการจัดกิจกรรการ เรียนรู้ และการพัฒนานักเรียนให้เต็มศักยภาพท่ีมุ่งเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนักเรยี นใหส้ ูงขนึ้ นอกจากน้ีทางรัฐบาล ซึง่ รว่ มมอื กบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ ได้จัดสรรงบประมาณและสื่อการเรียนสอนทางไกลผ่านดาวเทียมมาสนับสนุนช่วยเหลือครูผู้สอนในโรงเรยี นขนาดเล็ก เกี่ยวกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามตัวช้ีวัดและมาตรฐานการเรียนรู้ ทใ่ี ช้เทคนิคการเรียนการสอนอยา่ งหลากหลาย ในการส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้เต็มศักยภาพ จึงส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน NT ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ของ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ปีการศึกษา 2564 สูงกว่าระดับสังกัด (สพฐ.) และ ระดบั ประเทศ นอกจากน้ี ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 จะชว่ ยในการเตรยี มพรอ้ มสาหรบั การทดสอบระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) เน่ืองจากใชก้ รอบมาตรฐานตัวชี้วัด ของหลกั สูตรเหมอื นกัน ข้อเสนอแนะ 1. สนับสนุนให้ครผู ู้สอน มีการวางแผน/ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่เนน้ ทักษะการคิด โดย ผา่ นกิจกรรมการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน และใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรู้จากการปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning) 2. ครูผู้สอน ควรนาผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ มาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของส่ือการเรียนรู้ ความรู้ความสามารถของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนาผลท่ีได้มาใช้แก้ปัญหา การเรยี นรูข้ องนกั เรียน โดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั ในชัน้ เรียน 3. ครูผู้สอน ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้รูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ท่ีมีความหลากหลาย ตลอดจนดาเนินการวัดและประเมินผลนักเรียนท่ีเน้น Formative Assessment (for learning, as learning) and Summative Assessment (of learning)

23 4. ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ควรมีการวางแผน ร่วมกับครูผู้สอน ใน การแกป้ ัญหาการเรยี นรูข้ องนักเรียนในแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ โดยคานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 5. บคุ ลากรหรอื ผู้ที่มสี ่วนเก่ยี วข้อง ควรมกี ารส่งเสรมิ และจดั ทา/พฒั นาเครื่องมอื วัดและประเมินผลที่ สอดคลอ้ งกับรูปแบบการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT) และ PISA ท่สี ะทอ้ นตัวช้วี ัด/มาตรฐานการเรยี นรู้ในแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูผู้สอนได้นาไปใช้ในระดับช้ันเรียน หรือเป็นต้นแบบในการสร้างและพัฒนา นาไปใช้วัด และประเมินผลนกั เรียนในแต่ละหน่วยการเรยี นรตู้ ่อไป

24 ภาคผนวก

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41