Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

Published by อัมรินทร์ บุญเอนก, 2022-04-14 07:35:04

Description: กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

Search

Read the Text Version

การวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของกิจกรรม เสรมิ ประสบการณ์ หน่วย ขนมโค กบั กรอบการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ หนว่ ย ขนมโคสอดคลอ้ ง กบั กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวยั ไดแ้ ก่ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ลกั ษณะสำ� คญั ของการสบื เสาะหาความรสู้ �ำหรับเด็กปฐมวัย กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมและทกั ษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ แสดงดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี 88

1. ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ หนว่ ย ขนมโค ส่งเสรมิ ให้เด็กมเี จตคตทิ ี่ดีต่อ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรอ์ ยา่ งเหมาะสมกบั วยั และมที กั ษะหรอื ความสามารถทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นรู้ แสวงหาความรแู้ ละแกป้ ญั หาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์อย่างเหมาะสมกบั วัย แสดงในตารางท่ี 1 ดังนี้ ตารางท่ี 1 การวเิ คราะห์ความสอดคล้องของกจิ กรรมกับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย ผลการเรียนร้ทู ีค่ าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวัย กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ หน่วยขนมโค กจิ กรรมท่ี 5 รู้จัก กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมท่ี 4 กลอ่ งใส่ 1.1 แสดงความสนใจอยากรูอ้ ยากเห็น กระตอื รอื รน้ สนใจในการเรยี นรู้ ขนมโค แปง้ เปน็ กอ้ น ทำ� ขนมโค ขนมโค ขนมโค 1.2 รว่ มแสดงความคดิ เหน็ และยอมรับความคิดเห็นของผูอ้ นื่ ในการสืบเสาะ ไดอ้ ย่างไร กนั เถอะ ของฉนั 1. มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ การเรยี นรู้ - วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หาความรู้หรอื แกป้ ัญหาร่วมกนั --- และคณิตศาสตร์ 1.3 มุ่งม่นั อดทน พยายามในการทำ� กิจกรรม อย่างเหมาะสมกับวยั -- --- 1.4 ตระหนักรู้ถึงประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สงิ่ ของเครอื่ งใช้ -- ท่อี ยู่ในชวี ิตประจำ� วนั อยา่ งเหมาะสม ปลอดภัย และรักษาสิ่งแวดลอ้ ม 2. มที กั ษะหรือ 2.1 สงั เกต จับคู่ เปรยี บเทียบ จำ� แนก จดั กลมุ่ เรยี งล�ำดับไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั วัย - ความสามารถทีเ่ ปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ 2.2 ตงั้ ค�ำถามและระบปุ ัญหาอย่างง่ายได้อยา่ งเหมาะสมกับวัย -- แสวงหาความรูแ้ ละแก้ 2.3 วางแผนการสบื เสาะหาความรู้ การแกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการ --- ปญั หาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ได้อย่างเหมาะสมกบั วัย --- เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ 2.4 รวบรวมข้อมลู แก้ปัญหาอย่างง่าย ออกแบบหรอื สร้างสรรคว์ ิธกี าร อยา่ งเหมาะสมกับวยั หรือ ชน้ิ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวัย 2.5 คาดคะเน ลงความคดิ เหน็ สรา้ งคำ� อธบิ าย เชอ่ื มโยงและใหเ้ หตผุ ลได้ - อยา่ งเหมาะสมกบั วยั 2.6 สอ่ื สารกระบวนการและสิ่งทคี่ น้ พบจากการสืบเสาะ หาความรู้ -- การแก้ปัญหาหรือสนองความตอ้ งการได้อยา่ งเหมาะสมกบั วัย 89

2. สาระท่คี วรเรียนรทู้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ หน่วย ขนมโค มสี าระท่คี วรเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั เปน็ สอื่ กลางในการจดั ประสบการณเ์ พอื่ ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั การพฒั นาเจตคติและทักษะหรอื ความสามารถตามผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั ซง่ึ มี ขอบเขตของสาระทค่ี วรเรียนรู้ แสดงในตารางที่ 2 ดงั นี้ ตารางท่ี 2 การวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของกจิ กรรมกบั สาระทค่ี วรเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั สาระทค่ี วรเรยี นร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ หนว่ ยขนมโค เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวัย กจิ กรรมที่ 1 กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมที่ 3 กิจกรรมท่ี 4 กิจกรรมที่ 5 1.1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ รู้จกั ขนมโค แปง้ เปน็ กอ้ นไดอ้ ย่างไร ท�ำขนมโคกนั เถอะ ขนมโคของฉนั กล่องใสข่ นมโค 1.2 วิทยาศาสตร์กายภาพ -- หัว ้ขอที่ 1 สาระ ี่ทควรเ ีรยน ู้รทางวิทยาศาสต ์รและ - - - เทคโนโล ียในระดับปฐมวัย 1.3 วิทยาศาสตร์โลกและ - ชื่อ ลกั ษณะและ - การเปล่ียนแปลงของ อวกาศ ส่วนประกอบของขนมโค แปง้ เม่อื ผสมน้ำ� - การเปลยี่ นแปลงของ - การเปลย่ี นแปลงของ - ช่ือและลกั ษณะของ - ผลของการออกแรง ขนมโคเมือ่ ให้ แป้งเมือ่ ผสมน้�ำ วสั ดแุ ละอุปกรณท์ ่ี 2.1 จำ� นวนและพีชคณิต กระทำ� ตอ่ แป้งทผ่ี สมน้ำ� 2.2 การวัดและเรขาคณิต ความรอ้ นโดยการตม้ - ผลของการออกแรง ใชท้ �ำกลอ่ งใส่ขนมโค 2.3 สถิตแิ ละ กระทำ� ตอ่ แปง้ ทผี่ สมนำ้� - การใช้งานและเลอื กใช้ --- ความน่าจะเป็น - การเปลยี่ นแปลงของ สิ่งของเคร่ืองใช้ ขนมโคและไสข้ นมโค อยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั เม่อื ให้ความรอ้ นโดย - การใช้ประโยชนจ์ าก การตม้ วัตถุและการเลอื กใช้ - วตั ถหุ รอื สงิ่ ของเครอื่ งใช้ อยา่ งเหมาะสม - หัว ้ขอ ีท่ 2 สาระ ่ีทควรเรียน ้รู - - - การนับและบอกจำ� นวน - - ทางค ิณตศาสต ์ร ถ้วยใส่แปง้ และนำ้� ในระ ัดบปฐมวัย - การระบรุ ปู รา่ งของ - การเรยี งลำ� ดับขั้นตอน - การตวงและบอกปรมิ าตร - การระบุรปู รา่ งของ - การเรียงลำ� ดบั ขนั้ ตอน ขนมโค การทำ� ผงแปง้ ใหเ้ ปน็ กอ้ น ของแปง้ และนำ�้ ขนมโค การสรา้ งกลอ่ งใสข่ นมโค - วธิ ีการตวงแป้งและนำ�้ - การเรยี งล�ำดับขนั้ ตอน - การท�ำขนมโค - --- 90

3. ลกั ษณะสำ� คญั ของการสบื เสาะหาความร้สู ำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ หน่วย ขนมโค เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กได้ลงมือสืบเสาะหาความรตู้ ามลักษณะ ส�ำคญั ของการสบื เสาะหาความรูส้ ำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั แสดงในตารางที่ 3 ดงั น้ี ตารางท่ี 3 การวเิ คราะห์สิ่งท่ีเดก็ ไดท้ �ำในกจิ กรรมกับลกั ษณะส�ำคัญของการสืบเสาะหาความรสู้ ำ� หรับเดก็ ปฐมวัย ลักษณะสำ� คญั ของการสบื เสาะหาความรู้ ตัวอย่างสิง่ ทีเ่ ดก็ ไดท้ ำ� ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ หนว่ ยขนมโค การมีส่วนรว่ มในคำ� ถาม ตัง้ ค�ำถามสิ่งทอ่ี ยากรเู้ กย่ี วกับขนมโควา่ ขนมโคมีสว่ นผสมอะไรบา้ ง มวี ิธกี ารทำ� อยา่ งไร ค�ำถามเกย่ี วกับขนมโคของตนเองว่า จะทำ� ขนมโคใหเ้ ปน็ อยา่ งไร คำ� ถามเกยี่ วกบั กลอ่ งใสข่ นมโคจะออกแบบใหก้ ลอ่ งมลี กั ษณะอยา่ งไร ใชว้ สั ดอุ ะไรทำ� มขี นาดเทา่ ใด จงึ จะใส่ขนมโคท่ีทำ� ไว้ได้หมด การเกบ็ ข้อมูลหลักฐาน รว่ มวางแผนและลงมอื สำ� รวจตรวจสอบเพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู สบื คน้ สว่ นผสมและวธิ ที ำ� ขนมโค สงั เกตขนมโคและสว่ นผสมของ ขนมโค ทดลองท�ำแป้งผงให้เป็นก้อน ร่วมบันทึกปริมาตรของแป้งและน�้ำด้วยการเขียนสัญลักษณ์ลงในตาราง การท�ำขนมโค ต้งั แต่ตน้ จนจบดว้ ยตนเอง การอธิบายสงิ่ ท่พี บ รว่ มทำ� ความเขา้ ใจขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการทำ� ขนมโค และสรา้ งคำ� อธบิ ายอยา่ งมเี หตผุ ลเพอื่ ตอบคำ� ถามทต่ี งั้ ขนึ้ ดว้ ยการทำ� ขนมโคและ กล่องใสข่ นมโคในแบบของตนเอง การเชอื่ มโยงสง่ิ ท่พี บกับสิ่งทีผ่ ู้อน่ื พบ รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม วิธีการท�ำขนมโค และกล่องใส่ขนมโคแล้วเปรียบเทียบว่าสิ่งที่ตนเองพบกับสิ่งท่ีผู้อ่ืนพบหรือ ค�ำอธบิ ายของตนเองกบั ของผ้อู นื่ เหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร การสอ่ื สารและให้เหตุผล สอื่ สารนำ� เสนอขน้ั ตอนการทำ� ขนมโคและกลอ่ งใสข่ นมโคในแบบของตนเองทไี่ ดท้ ำ� โดย การพดู การทำ� ทา่ ทาง การจดั แสดงผลงาน 91

4. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ หนว่ ย ขนมโค เปดิ โอกาสให้เด็กไดร้ ับการส่งเสรมิ ใหม้ ีทกั ษะหรือความสามารถในการแก้ปัญหา อย่างงา่ ยโดยใช้กระบวนการออกแบบซง่ึ เป็นกระบวนการแกป้ ญั หาหรือพัฒนางานอยา่ งเป็นข้นั ตอน โดยใช้ความรแู้ ละทักษะ รวมทัง้ ความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา แสดง ในตารางที่ 4 ดังน้ี ตารางที่ 4 การวิเคราะห์ส่ิงท่ีเด็กได้ทำ� ในกจิ กรรมกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ตัวอย่างสง่ิ ทีเ่ ด็กได้ทำ� ในกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ หนว่ ยขนมโค ระบุปญั หา ระบุปัญหาหรือความตอ้ งการคือ กล่องใส่ขนมโคทแ่ี ข็งแรงและมีขนาดทสี่ ามารถใสข่ นมโคทที่ �ำขึน้ ได้ครบทุกลกู รวบรวมข้อมลู และแนวคิดเพื่อสรรหา คน้ หา รวบรวมขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทใี่ ชใ้ นการออกแบบกลอ่ งใสข่ นมโค กลอ่ งควรจะมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร จะใสข่ นมกลี่ กู และหากตอ้ งการ วธิ กี ารทเ่ี ปน็ ไปได้ ให้กล่องสวยงามเพอ่ื เป็นของขวญั จะท�ำอย่างไร และจะใชว้ สั ดุอะไรในการท�ำกล่องจงึ จะแข็งแรงรับนำ้� หนกั ขนมโคท้ังหมดได้ เลอื กและออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เลอื กวธิ กี ารแกป้ ญั หาทนี่ า่ จะเปน็ ไปได้ แลว้ ออกแบบกลอ่ งใสข่ นมโคโดยการวาดเขยี นหรอื รา่ งแบบ เพอื่ ถา่ ยทอดสง่ิ ทค่ี ดิ อยา่ งเปน็ ลำ� ดับขัน้ ตอน ท้ังลกั ษณะและวสั ดุอุปกรณ์ท่ีจะใช้ทำ� กลอ่ งใสข่ นมโค ด�ำเนินการแกป้ ัญหาเพ่ือสร้างต้นแบบ วางแผนการแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ลำ� ดบั ขนั้ ตอนตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนสน้ิ สดุ ตามวธิ กี ารทอ่ี อกแบบ โดยวางแผนถงึ วสั ดอุ ปุ กรณท์ จี่ ะใชแ้ ละ วิธีการใช้ แล้วลงมอื สร้างชนิ้ งานหรือวิธกี ารเพื่อแก้ปัญหาตามท่ีวางแผนไว้ ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแก้ไข ทดสอบและประเมนิ โดย นำ� กลอ่ งใสข่ นมโคทที่ ำ� ขน้ึ มาทดสอบใสข่ นมโคไดต้ ามตอ้ งการหรอื ไม่ เดก็ อาจดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ข ตน้ แบบ กลอ่ งใส่ขนมโคใหม้ ีประสิทธภิ าพยงิ่ ขน้ึ หรืออาจแคเ่ สนอเป็นความคดิ เห็นวา่ ควรแกไ้ ขอยา่ งไร นำ� เสนอตน้ แบบ วธิ กี ารและผลการแกป้ ญั หา น�ำเสนอวธิ กี ารหรอื ชน้ิ งานที่สร้างเพอ่ื แก้ปัญหา โดยใชก้ ารสนทนาถงึ วิธีการท�ำอย่างเปน็ ข้ันตอน ผลการทดสอบและปรับปรงุ รับฟังความคิดเห็นจากผู้ท่ีเกีย่ วขอ้ งเพอื่ น�ำมาปรับปรงุ หรอื พฒั นา 92

5. ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ หนว่ ย ขนมโค เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั การสง่ เสรมิ พฒั นาทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ อย่างเหมาะสมตามวยั แสดงในตารางท่ี 5 ดงั นี้ ตารางที่ 5 การวิเคราะหส์ ิ่งที่เดก็ ได้ทำ� ในกิจกรรมกบั ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ตัวอย่างส่งิ ทเ่ี ดก็ ไดท้ �ำในกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ หนว่ ยขนมโค การแกป้ ญั หา ใชค้ วามร้ทู างคณติ ศาสตรเ์ ก่ียวกับการตวงและบอกปริมาตรของแป้งและนำ�้ เพอ่ื แก้ปญั หาการท�ำให้ผงแปง้ กลายเปน็ ก้อน ใชค้ วามรทู้ างคณิตศาสตรเ์ ก่ียวกบั การวัดเพื่อแก้ปญั หาการสร้างกล่องใส่ขนมโคทส่ี ามารถใสข่ นมโคท่ีตนเองทำ� ไดค้ รบทุกลูก การใหเ้ หตุผล ให้เหตผุ ลประกอบเก่ยี วกับจ�ำนวน รูปรา่ งของกลอ่ งใส่ขนมโคที่ตนเองสรา้ ง การเช่อื มโยง เชือ่ มโยงความรูท้ างคณิตศาสตรเ์ ก่ยี วกบั การนับและบอกจ�ำนวนเพอ่ื ตวงและบอกปรมิ าตรของแป้งและน้ำ� เชอื่ มโยงความรู้ การส่อื สารและส่ือความหมาย ทางคณติ ศาสตร์เกย่ี วกบั การตวงกบั ความร้ทู างวิทยาศาสตร์เกี่ยวกบั การเปลีย่ นแปลงของแปง้ เม่อื ผสมน้�ำในการทำ� ขนมโค ทางคณติ ศาสตร์ เชอ่ื มโยงความรู้ทางคณติ ศาสตร์เกย่ี วกบั การวดั กบั ความรทู้ างเทคโนโลยีเกยี่ วกับการเลอื กใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ท่ีเหมาะสม การคดิ สรา้ งสรรค์ ในการสรา้ งกล่องใส่ขนมโค ระบุรูปร่างของขนมโค วาดภาพร่างกล่องใส่ขนมโคทต่ี นเองออกแบบ บอกขั้นตอนการท�ำขนมโคและการสร้างกลอ่ งใส่ ขนมโคตามลำ� ดบั ออกแบบและสรา้ งกลอ่ งใส่ขนมโคตามความคดิ ของตนเอง โดยใช้วสั ดุอปุ กรณร์ อบตัวท่มี รี ปู เรขาคณิตสรา้ งสรรค์ ในการสรา้ งสรรค์ 93

94

บรรณานกุ รม Battelle for Kids. (2019). 21st Century Learning For Early Childhood Framework. Retrieved from http://static.battelleforkids.org/documents/p21/ P21EarlyChildhoodFramework.pdf Bredekamp, S. and Copple, C. (Eds.). (2009). Developmentally Appropriate Practice in Early Childhood Programs Serving Children from birth through age 8. Washington, DC: the National Association for the Education of Young Children. Charlesworth, R. (2016). Math and Science for Young Children (8th ed.). Belmont, CA: Cengage Learning. คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน, ส�ำนกั งาน. (2560). มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวช้ีวัดกลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ ในกล่มุ สาระ การเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั . สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2554). กรอบมาตรฐานและคมู่ ือการจดั การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2546. กรุงเทพมหานคร. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2554). กรอบมาตรฐานการเรยี นรู้คณติ ศาสตรป์ ฐมวยั ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2546. กรงุ เทพมหานคร. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). คู่มอื กรอบมาตรฐานการเรยี นรคู้ ณิตศาสตรป์ ฐมวยั ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพมหานคร: แอดวานซ์ พรน้ิ ติ้ง เซอรว์ ิส. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2561). คมู่ อื การใชห้ ลกั สตู รรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา. กรงุ เทพมหานคร. ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตร แห่งประเทศไทย จ�ำกดั . ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา, กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2561). คมู่ อื หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ส�ำหรับเด็กอายุ 3-6 ป.ี กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั . ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2561). แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดูดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะเพอื่ เพ่มิ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป.ี กรงุ เทพมหานคร: พรกิ หวานกราฟฟิก. ราชบณั ฑิตยสถาน. (2555). พจนานกุ รมศพั ทศ์ ึกษาศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. กรงุ เทพมหานคร: อรุณการพิมพ์. 95

วิทยาศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย Australian Curriculum, Assessment and Reporting Authority. (2016). The Australian Curriculum Science. Retrieved from https://www.australian curriculum.edu.au/f-10-curriculum/science/ Brunsell, E., Kneser, D. M., and Niemi, K. J. (2014). Introducing Teachers and Administrators to the NGSS: A Professional Development Facilitator's Guide. VA: National Science Teachers Association Press. Department for Education. (2013). National Curriculum in England: Science Programmes Of Study - Key Stages 1 and 2 . Retrieved from https://www.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/425618/PRIMARY_national_curriculum_-_Science.pdf Department of Education and Early Childhood Development. (2010). Specific Curriculum Outcomes for Kindergarten Science Exploring My World. Retrieved from http://www.ed.gov.nl.ca/edu/k12/curriculum/guides/completely_kinder/ 21.%20Science-Curriculum%20Outcomes%20FINAL.pdf Department of Education. (2002). Revised National Curriculum Statement for Grades R-9: Natural Sciences. Retrieved from http://www.ibe.unesco.org/curricula/southafrica/sa_al_lf_2002_eng.pdf Ministry of Education, Republic of Singapore. (2013). Nurturing Early Learners: A Curriculum for Kindergartens in Singapore: Discovery of the World. Retrieved from https://www.nel.sg/nel/slot/u566/Resources/Downloadable/pdf/nel-guide/nel-edu-guide-discovery-of-the-world.pdf Ministry of Education, Culture and Sport Pedagogy Administration. (1995). A Comprehensive Framework for Curricula in Israeli Preschools Age 3-6. n.p. National Research Council. (2000). Inquiry and The National Science Education Standards: A Guide for Teaching and Learning. Washington, D.C.: National Academy Press. NGSS Lead States. (2013). Next Generation Science Standards: For States, by States. Washington, DC: The National Academies Press. Office of Child Development and Early Learning. (2016). Pennsylvania Learning Standards for Early Childhood: Kindergarten. Retrieved from https://www.education.pa.gov/Documents/Early%20Learning/Early%20Learning%20Standards/Early%20Learning%20Standards%20Kindergarten %202016.pdf Utah Education Network. (2003). Process Skills Across Content Areas. Retrieved from http://www.uen.org/k-2educator/early_childhood.shtml Welsh Government. (2015). Curriculum for Wales: Foundation Phase Framework (Revised 2015). Retrieved from http://learning.gov.wales/docs/learning wales/publications/150803 -fp-framework-en.pdf 96

เทคโนโลยีในระดบั ปฐมวัย Association for Computing Machinery, Code.org, Computer Science Teachers Association, Cyber Innovation Center, and National Math and Science Initiative. (2016). K–12 Computer Science Framework. Retrieved from http://www.k12cs.org. Australian Curriculum, Assessment and Reporting Authority. (2016). The Australian Curriculum Science. Retrieved from https://www.australian curriculum.edu.au/f-10-curriculum/science/ Bocconi, S. et.al. (2016). JRC Science or Policy Report: Developing Computational Thinking in Compulsory Education. Retrived from https://publications.jrc.ec.europa.eu/repository/bitstream/JRC104188/jrc104188_computhinkreport.pdf Brunsell, E., Kneser, D. M., and Niemi, K. J. (2014). Introducing Teachers and Administrators to the NGSS: A Professional Development Facilitator's Guide. VA: National Science Teachers Association Press. Computer Science Teachers Association. (2017). CSTA K-12 Computer Science Standards (Revised 2017). Retrieved from http://www.csteachers.org/standards. Computing at School Working Group. (2012). Computer Science: A Curriculum for Schools. Retrieved from http://www.computingatschool.org.uk Department for Education. (2014). The National Curriculum in England Framework. Retrieved from https://www.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/381344/Master_final_national_curriculum_28_Nov.pdf Government of Western Australia School Curriculum and Standards Authority. (2017). Digital Technologies Curriculum – Pre-Primary to Year 10. Retrieved from https://k10outline.scsa.wa.edu.au/home/teaching/curriculum-browser/technologies Government of Western Australia School Curriculum and Standards Authority. (2017). Design and Technologies Curriculum – Pre-Primary to Year 10. Retrieved from https://k10outline.scsa.wa.edu.au/home/teaching/curriculum-browser/technologies Ministry of Education. (2007). The New Zealand Curriculum for English-medium Teaching and Learning in Years 1-13. Retrieved from http://nzcurriculum.tki.org.nz/The-New-Zealand-Curriculum 97

National Association for the Education of Young Children and the Fred Rogers Center for Early Learning and Children’s Media at Saint Vincent College. (2012). Technology and Interactive Media as Tools in Early Childhood Programs Serving Children from Birth through Age 8. Retrieved from https://www.naeyc.org/sites/default/files/globally-shared/downloads/PDFs/resources/topics/PS_technology_WEB.pdf Norwegian Ministry of Education and Research. (2006). Framework Plan for the Content and Tasks of Kindergartens. Retrieved from https://www.udir.no/Upload/barnehage/Rammeplan/Framework_Plan_for_the_Content_and_Tasks_of_Kindergartens_2011_rammeplan_engels k.pdf?epslanguage=no The Ministry of Education, Science, and Technology. (2007). The Kindergarten Curriculum of the Republic of Korea. Retrieved from http://ncm.gu.se/media/kursplaner/andralander/koreaforskola.pdf Toronto District School Board. (2007). TDSB ICT Standards Digital Learning for Kindergarten to Grade 12. Retrieved from http://schoolweb.tdsb.on.ca/Portals/elearning/docs/ICT%20Standards.pdf คณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย Australian Curriculum, Assessment and Reporting Authority. (2015). The Australian Curriculum Mathematics. Retrieved from http://v7-5.australiancurriculum.edu.au/mathematics/curriculum/f-10?layout=1 Canadian Child Care Federation, and Canadian Language and Literacy Research Network. (2010). Foundations for Numeracy: An Evidence-Based Toolkit for Early Learning Practitioners. Ottawa, ON: Canadian Child Care Federation, and Canadian Language and Literacy Research Network. Charlesworth, R. (2010). Experiences in Math for Young Children (6th ed.). Belmont, CA: Wadsworth Cengage Learning. Clements, D. H. and Sarama, J. (2009). Learning Trajectories in Early Mathematics: The Learning Trajectories Approach. London, ON: Canadian Language and Literacy Research Network. Council for the Curriculum Examinations and Assessment. (2007). The Northern Ireland Curriculum Primary. Retrieved from http://ccea.org.uk/sites/default/files/docs/curriculum/area_of_learning/fs_northern_ireland_curriculum_primary.pdf Department for children, school and families. (2008). Practice Guidance for the Early Years Foundation Stage. London: DCFS. 98

Department of Education (2013). Mathematics Programmes of Study: Key Stages 1 and 2 The National Curriculum in England. Retrieved from https://www.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/335158/PRIMARY_national_curriculum_- _Mathematics_220714.pdf Department of Education. (2009). Mathematics Kindergarten Curriculum Guide – interim. Retrieved from http://www.ed.gov.nl.ca/edu/k12/curriculum/guides/mathematics/kindergarten_math_guide.pdf Education Development Center. (2015). Mathematics in the Early Grades: Counting & Cardinality. Retrived from http://interactivestem.org/wp- content/uploads/2015/09/Interactive-STEM-Brief-Counting-and-Cardinality-Sept-16-Final-File.pdf Llywodraeth Cymru Welsh Government. (2015). Curriculum for Wales: Foundation Phase Framework. Retrieved from http://learning.gov.wales/docs/learningwales/publications/150803-fp-framework-en.pdf Ministry of Education, Ontario. (2003). A Guide to Effective Instruction in Mathematics, Kindergarten to Grade 3. Retrieved from http://eworkshop.on.ca/edu/resources/guides/Guide_Math_K_3_NSN.pdf Ministry of Education, Republic of Singapore. (2012). Nurturing Early Learners: A Curriculum for Kindergartens in Singapore NUMERACY. Retrieved from https://www.nel.sg/nel/slot/u566/Resources/Downloadable/pdf/nel-guide/nel-edu-guide-numeracy.pdf National Association for the Education of Young Children and National Council of Teachers of Mathematics. (2010). Early Childhood Mathematics: Promoting Good Beginnings. Retrieved from https://www.naeyc.org/sites/default/files/globally-shared/downloads/PDFs/resources/position- statements/psmath.pdf National Council of Teachers of Mathematics. (2006). Curriculum Focal Points for Prekindergarten through Grade 8 Mathematics: A Quest for Coherence. Retrieved from https://www2.bc.edu/solomon-friedberg/mt190/nctm-focal-points.pdf Reys, R. E. et.al. (2004). Helping Children Learn Mathematics (7th ed.). Hoboken, NJ: John Wiley & Sons. Smith, S.S. (2006). Early Childhood Mathematics (3rd ed.). Boston, MA: Allyn & Bacon. The Council of Chief State School Officers and the National Governors Association. (2016). Common Core State Standards for Mathematics. Retrieved from http://www.nctm.org/uploadedFiles/Standards_and_Positions/Common_Core_State_Standards/Math_Standards.pdf 99

ดัชนี ก ภาคผนวก กรอบการเรียนรู้ 1 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 48, 64, 92, 109 การคิดเชิงคำ� นวณ 49, 65, 110 การจับคู่ 7, 65, 67 การจับคหู่ นึ่งตอ่ หนึง่ 33, 67 การจำ� แนก 7, 62, 65, 68 การบูรณาการ 53 การประเมินการเรยี นรู้ 71 การประเมินพัฒนาการตามสภาพจรงิ 71 การเปรยี บเทยี บ 7, 62, 65, 68 การเรยี งลำ� ดับ 7, 65, 68 การวดั และเรขาคณติ 16, 37, 67 การสบื เสาะหาความรู้ 46, 57, 91, 111 แก้ปญั หา 10, 48, 49, 64, 67 ค ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 67 ความคดิ รวบยอดพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์ 67 ความยาว 16, 37, 69 โค้ดดิง้ 9, 49 100

ง บ ล เงนิ 16, 41, 69 แบบรปู 36, 67, 69 ลมฟ้าอากาศ 15, 29, 63 จ 16, 32, 67 ป ว 15, 17, 62 62 15, 21, 62 จ�ำนวนและพีชคณิต 1, 2, 3, 5 ปรมิ าตร 16, 39, 69 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ 15, 27, 62 จิตวทิ ยาศาสตร์ 62 ผ วิทยาศาสตร์กายภาพ 16, 40, 69 เจตคติ 15, 27, 63 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ 16, 44, 70 เจตคติท่ดี ีต่อวทิ ยาศาสตร์ 8 ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ 1, 2, 3 เวลา 1, 2, 15 ด 32, 69 เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ส 16, 42, 70 ในระดบั ปฐมวัย 34, 69 ดิน 15, 28, 63 แผนการจดั ประสบการณ์ 73, 77 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น 49, 65, 110 ต 16, 38, 69 แผนภูมิอย่างงา่ ย 13, 44, 117 สาระที่ควรเรยี นร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ 47, 59, 64 ตัง้ ค�ำถาม 1, 2, 3, 7 พ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ตวั เลข 50, 67, 93, 112 ในระดบั ปฐมวยั ต�ำแหนง่ ทิศทาง และระยะทาง พลังงาน 15, 26, 63 อ น ม อันดับที่ น้ำ� มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ 2, 3 อลั กอรทิ ึม น�้ำหนัก ร ท รูปเรขาคณิต 16, 43, 70 เทคโนโลยี รวบรวมข้อมูล 10, 44, 48, 57 ทกั ษะหรอื ความสามารถ แรง 15, 24, 63 ทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ 101

ค�ำอธิบายศพั ท์ คำ� อธบิ ายศพั ท์ต่อไปนี้ไม่ใชบ่ ทนยิ าม แตเ่ ป็นการอธิบายศพั ทต์ ่าง ๆ ท่ีปรากฏในกรอบการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรส์ �ำหรบั เด็กปฐมวยั คำ� อธบิ าย ศัพท์เหล่านใ้ี ช้เพ่อื ให้มคี วามเขา้ ใจตรงกนั ศัพท์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คำ� อธบิ าย การส่อื สาร communication การน�ำเสนอการส�ำรวจตรวจสอบทีไ่ ด้ท�ำและส่งิ ท่ีไดค้ น้ พบอย่างมเี หตผุ ลด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ เช่น การพดู การทำ� ทา่ ทาง การจัดแสดงผลงาน การแก้ปัญหา problem solving การท�ำความเขา้ ใจปญั หา คิดวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา และเลอื กใชว้ ธิ ีการที่เหมาะสม โดยคำ� นงึ ถงึ ความสมเหตสุ มผล ของค�ำตอบ พร้อมท้ังตรวจสอบความถูกตอ้ ง ขอ้ มูล data ขอ้ เทจ็ จริงหรอื สง่ิ ท่ียอมรบั ว่าเปน็ ขอ้ เท็จจริงของเรือ่ งทีส่ นใจ ซึง่ ได้จากการเก็บรวบรวม อาจเป็นได้ท้งั ข้อความและตัวเลข คาดคะเน predict คาดการณ์ผลท่จี ะเกิดขึน้ ในอนาคตโดยอาศยั ขอ้ มลู ทีส่ งั เกตได้และประสบการท์ ม่ี ี (พยากรณ์) โคด้ code สญั ลักษณแ์ ทนการดำ� เนินการอาจเปน็ ภาพ ตัวอกั ษร ตัวเลข คำ� หรืออกั ขระพเิ ศษ โค้ดดง้ิ (การเขียนโคด้ ) coding การใชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทนคำ� สงั่ ในการดำ� เนนิ การอยา่ งเปน็ ลำ� ดบั โดยสญั ลกั ษณท์ ก่ี ลา่ วถงึ นอี้ าจอยใู่ นรปู ของภาพ ตวั อกั ษร ตวั เลข คำ� หรืออกั ขระพเิ ศษ จดั กระทำ� กับขอ้ มลู organizing data นำ� ผลการสงั เกต การวดั การทดลอง จากแหลง่ ต่าง ๆ มาจัดกระทำ� ใหอ้ ยู่ในรูปแบบทมี่ คี วามหมายหรอื สมั พนั ธก์ ันมากขนึ้ จนงา่ ยต่อการท�ำความเข้าใจหรอื เหน็ แบบรปู ของขอ้ มูล จ�ำแนก classifying การแยกแยะ จัดพวกหรอื จดั กลุม่ สงิ่ ตา่ ง ๆ ออกเป็นหมวดหมู่ นอกจากนยี้ งั หมายถึงการเลอื กและระบเุ กณฑ์หรือลกั ษณะ ร่วมลกั ษณะใดลักษณะหนึ่งของสิ่งตา่ ง ๆ ทีต่ ้องการจ�ำแนก ตระหนักรู้ awareness ภาวะการรู้ชัดเกีย่ วกบั ตนเอง ผู้อ่ืน และเหตุการณต์ ่าง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ทนั ทจี ากฐานความรู้เกี่ยวกบั คุณประโยชน์ โทษ และ เกดิ ความระมดั ระวงั ทจี่ ะเตรยี มความพรอ้ ม ปอ้ งกัน และแกป้ ัญหาจากภาวการณ์ต่าง ๆ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ 102

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ค�ำอธิบาย ทดลอง conduct ปฏิบัติการเพ่อื หาคำ� ตอบของคำ� ถาม หรอื ปญั หาในการทดลอง โดยต้ังสมมตฐิ านเพอื่ เป็นแนวทางในการก�ำหนดตวั แปรและ experiment วางแผนด�ำเนนิ การเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน ทกั ษะและ science process กระบวนการทนี่ ักวทิ ยาศาสตร์น�ำมาใชเ้ พือ่ สบื เสาะหาความรู้ สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ข้นั คือ กระบวนการทาง skills ขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ ทกั ษะการสงั เกต ทกั ษะการวดั ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ทกั ษะการจ�ำแนกประเภท วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะการหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ และสเปซกบั เวลา ทกั ษะการใชจ้ �ำนวน ทกั ษะการจัดกระทำ� และ record ส่ือความหมายข้อมูล ทกั ษะการพยากรณ์ บันทกึ identify ขน้ั ผสม ได้แก่ ทกั ษะการต้ังสมมติฐาน ทักษะการกำ� หนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ ทกั ษะการก�ำหนดและควบคุมตัวแปร ระบุ trial and error ทักษะการทดลอง ทักษะการตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำลอง การลองผิดลองถกู วาดหรอื เขยี นขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสังเกตเพอ่ื ช่วยจำ� หรือเพือ่ เป็นหลักฐาน select ช้ีบอกส่งิ ตา่ ง ๆ โดยใชข้ อ้ มูลประกอบอยา่ งเพียงพอ เลือกใช้ object วธิ ีการแก้ปัญหาหรือการเรยี นรูโ้ ดยให้ผ้เู รียนซึ่งมพี นื้ ฐานความร้เู พียงเล็กนอ้ ย คาดเดาคำ� ตอบไปจนกระทงั่ สามารถตอบได้ วัตถุ อย่างถูกตอ้ ง วัสดุ พิจารณา และตัดสนิ ใจนำ� วัสดุสง่ิ ของ อปุ กรณ์ หรือวิธีการมาใช้ได้อยา่ งเหมาะสม วิทยาการค�ำนวณ สิง่ ของตา่ ง ๆ รอบตวั เชน่ จาน ชอ้ น หนังสือ material สิ่งท่ีนำ� มาท�ำเป็นวตั ถุหรือสิง่ ของเคร่อื งใช้ตา่ ง ๆ เช่น ผา้ ไม้ กระดาษ โลหะ แกว้ computing science การจัดการเรยี นรู้ในสาระเทคโนโลยี ที่มงุ่ หวังให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้และมีการคิดเชิงคำ� นวณ คิดวเิ คราะห์ แก้ปญั หา เปน็ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรดู้ ้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการแก้ปัญหาที่พบในชีวติ จริงได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 103

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ค�ำอธบิ าย การแก้ปัญหาอย่างเปน็ ขัน้ ตอนและเป็นระบบ การใช้แนวคิดเชิงคำ� นวณในการแกป้ ญั หาในชวี ิตประจ�ำวัน การบรู ณาการ วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ computer science กับสาระอื่น การเขยี นโปรแกรม การคาดการณ์ผลลัพธ์ การตรวจหาข้อผิดพลาด การพัฒนาแอปพลิเคชันหรอื พฒั นา โครงงานอย่างสร้างสรรคเ์ พือ่ แก้ปัญหาในชีวิตจรงิ ซง่ึ ในระดับปฐมวยั เนน้ การลงมอื ปฏิบตั แิ ละการเลน่ โดยใชส้ อื่ แบบไมใ่ ช้ สร้างแบบจ�ำลอง construct model คอมพวิ เตอร์ น�ำเสนอแนวคดิ หรอื เหตกุ ารณ์ในรูปแบบของแผนภาพ ช้ินงาน สมการ ข้อความ คำ� พูดและ/หรอื ใช้แบบจำ� ลองเพ่ืออธบิ าย ความคดิ วตั ถุ หรอื เหตุการณ์ต่าง ๆ สังเกต observe หาขอ้ มลู ดว้ ยการใชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ หา้ ทเ่ี หมาะสมตามขอ้ เทจ็ จรงิ ทปี่ รากฎ โดยไมใ่ ชป้ ระสบการณเ์ ดมิ หรอื ความคดิ เหน็ ของ ผู้สงั เกต สำ� รวจ explore หาขอ้ มูลเก่ยี วกบั สิง่ ต่าง ๆ โดยใชว้ ธิ กี ารและเทคนคิ ทเ่ี หมาะสม เพือ่ น�ำขอ้ มูลมาใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กำ� หนดไว้ สืบค้นขอ้ มลู search หาข้อมูลหรอื ข้อสนเทศทีม่ ผี ู้รวบรวมไว้แลว้ จากแหลง่ ต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ อธิบาย explain กล่าวถงึ เรือ่ งราวต่าง ๆ อย่างมเี หตุผล และมขี อ้ มูล หรอื ประจกั ษพ์ ยานอ้างองิ อภปิ ราย discuss แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือค�ำถามอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู้และประสบการณ์ของผู้อภิปรายและข้อมูล ประกอบ 104

ศัพทท์ ีเ่ กย่ี วข้องกบั คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คำ� อธบิ าย ความเขา้ ใจเก่ียวกับจำ� นวนในความหมายและบริบทตา่ ง ๆ เช่น จ�ำนวนที่ใช้บอกปริมาณ จำ� นวนท่ใี ชบ้ อกอนั ดับท่ี ความรู้สึกเชงิ จ�ำนวน number sense ความสมั พนั ธท์ ี่หลากหลายของจำ� นวน ผลทเี่ กดิ ขึน้ กบั การดำ� เนนิ การของจ�ำนวน การอนรุ ักษ์จำ� นวน สว่ นย่อยและ สว่ นใหญข่ องจ�ำนวน จ�ำนวน number เป็นค�ำทไ่ี มม่ คี ำ� จำ� กดั ความ (ค�ำนยิ าม) จ�ำนวนแสดงปริมาณของส่ิงต่าง ๆ จำ� นวนมหี ลายชนิด เช่น จ�ำนวนนบั จ�ำนวนเต็ม จำ� แนก classifying เศษส่วน ทศนิยม ทกั ษะกระบวนการ mathematical การแยกแยะ จัดพวกหรอื จดั กล่มุ สิง่ ต่าง ๆ ออกเป็นหมวดหมู่ นอกจากนย้ี งั หมายถงึ การเลือกและระบเุ กณฑ์หรือ ทางคณิตศาสตร์ process skills ลกั ษณะรว่ มลักษณะใดลักษณะหน่ึงของส่ิงตา่ ง ๆ ท่ตี ้องการจำ� แนก ความสามารถท่จี ะน�ำความร้ไู ปประยุกต์ใชใ้ นการเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ เพือ่ ให้ไดม้ าซง่ึ ความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�ำวนั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ในท่ีนี้ เน้นทีท่ กั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ี่จ�ำเป็น และต้องการพัฒนาให้เกดิ ข้ึนกบั ผเู้ รียน ไดแ้ ก่ • การแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการทำ� ความเขา้ ใจปญั หา คดิ วเิ คราะห์ วางแผนแกป้ ญั หาและเลอื กใชว้ ธิ กี าร ทเี่ หมาะสมโดยคำ� นงึ ถึงความสมเหตุสมผลของคำ� ตอบพร้อมทง้ั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง • การส่อื สารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ เปน็ ความสามารถในการใชร้ ปู ภาษาและสัญลกั ษณ์ทาง คณติ ศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และน�ำเสนอไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ชดั เจน • การเชอื่ มโยง เปน็ ความสามารถในการใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตร์เปน็ เคร่อื งมอื ในการเรียนรู้คณติ ศาสตรเ์ น้อื หา ต่าง ๆ หรือศาสตร์อนื่ ๆ และนำ� ไปใช้ในชีวติ จรงิ • การให้เหตผุ ล เปน็ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล รับฟงั และใหเ้ หตุผล สนับสนนุ หรือโตแ้ ยง้ เพื่อนำ� ไปสกู่ ารสรปุ โดยมีขอ้ เทจ็ จริงทางคณติ ศาสตรร์ องรับ • การคิดสรา้ งสรรค์ เปน็ ความสามารถในการขยายแนวคดิ ใหมเ่ พอ่ื ปรบั ปรงุ พฒั นาองค์ความรู้ 105

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ค�ำอธบิ าย แบบรปู pattern ความสัมพันธท์ ่ีแสดงลกั ษณะส�ำคญั รว่ มกนั ของรปู รา่ ง เรขาคณิต ขนาด สี หรอื รปู แบบอื่นๆ เชน่ เสียง ทา่ ทาง ตำ� แหนง่ เหตุการณห์ รอื เวลา ท่ีมคี วามสมั พนั ธ์กันอยา่ งใดอย่างหน่ึง ด้วยการน�ำส่งิ ตา่ งๆ มาเรยี งลำ� ดับกนั ตามกฎเกณฑ์ รปู เรขาคณิต geometric figure เมอ่ื มองเหน็ กฎเกณฑ์จากการสังเกตและวเิ คราะหแ์ ล้ว สามารถคาดคะเนได้วา่ ส่ิงตอ่ ไปคืออะไร แบบรปู เบือ้ งต้นของเด็ก ปฐมวยั น้นั เปน็ ประสบการณ์ที่เกย่ี วขอ้ งกบั สี หรอื ตำ� แหนง่ จากนน้ั จึงพัฒนาเป็นประสบการณ์ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับแบบรูปและ ความสัมพันธ์ของเรขาคณติ และจ�ำนวน พัฒนาการของการส�ำรวจแบบรปู ของเด็กมี 4 ขัน้ ไดแ้ ก่ การรับรูแ้ บบรูป (recognize) การอธิบายแบบรูป (describe) การตอ่ เตมิ แบบรูป (extend) และการสรา้ งแบบรูป (create) เป็นรปู ที่ประกอบด้วย จุด เสน้ ตรง เสน้ โค้ง ระนาบ ฯลฯ อยา่ งนอ้ ยหน่ึงอย่าง ตวั อย่างของรปู เรขาคณติ หนึ่งมิติ เช่น เสน้ ตรง สว่ นของเสน้ ตรง รังสี ตัวอย่างของรูปเรขาคณิตสองมิติ เช่น วงกลม รปู สามเหลี่ยม รูปสี่เหล่ยี ม ตวั อย่างของรูปเรขาคณติ สามมิติ เชน่ ทรงกลม ทรงส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก กรวย ลูกบาศก์ ปริซึม พรี ะมิด 106

ศัพทท์ ่เี กยี่ วขอ้ งกับการศึกษาปฐมวยั ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ค�ำอธิบาย การคดิ สรา้ งสรรค์เปน็ กระบวนการคดิ ทีอ่ าศยั ความรพู้ ื้นฐาน จนิ ตนาการและวจิ ารณญาณในการพัฒนาหรือคดิ คน้ การคดิ สร้างสรรค์ creative thinking องคค์ วามร้หู รอื ส่งิ ประดษิ ฐ์ใหม่ ๆ ทมี่ ีคณุ ค่าและเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ความคดิ สรา้ งสรรคม์ หี ลายระดบั ตั้งแตร่ ะดับพน้ื ฐานไปจนกระทงั่ เป็นความคดิ ทอี่ ยู่ในระดบั สงู การเรยี นรแู้ บบโครงงาน project-based การจัดการเรียนรู้ทใ่ี ชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้อย่างล่มุ ลกึ โดยมกี ระบวนการขั้นตอนท่ไี ม่ตายตวั ใช้ลกั ษณะสำ� คญั learning ของกระบวนการในการท�ำโครงงาน (Project) มาเป็นฐานหรือแนวทางของการดำ� เนนิ การจดั การเรยี นรู้ในชัน้ เรยี น การสอนแบบโครงการ project approach การเรยี นร้รู ปู แบบหน่ึงของ Project-Based Learning ที่เปิดโอกาสใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ทีเ่ ดก็ สนใจในโลกแห่ง ความเป็นจรงิ และพบเหน็ อยู่ในชวี ิตประจำ� วนั อย่างล่มุ ลึก แตม่ ีกระบวนการในการจดั การเรยี นรู้ทม่ี ลี �ำดบั ขัน้ ตอน การเรียนรโู้ ดยใช้ problem-based อยา่ งชดั เจน ซึง่ อาจแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะเริม่ ต้น ระยะพฒั นา ระยะสรุป ปัญหาเปน็ ฐาน learning วิธกี ารเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลางโดยจัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนเผชิญสถานการณ์ปญั หาจริงและดำ� เนินการแกป้ ญั หาน้ัน โดยเช่ือว่ากระบวนการตา่ ง ๆ ทีผ่ ้เู รยี นดำ� เนนิ การ เชน่ การคิดวเิ คราะหป์ ญั หา การแสวงหาทางแกป้ ัญหา ปฏบิ ตั กิ าร การสื่อสาร communication แกป้ ัญหา การเก็บขอ้ มลู วิเคราะหแ์ ละสรุปผล โดยผสู้ อนเปน็ ผอู้ �ำนวยความสะดวก (Facilitator) จะทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกิด การเรยี นรู้อย่างลกึ ซึง้ รวมทง้ั ช่วยพฒั นาทกั ษะการคิดและทักษะทางสงั คมของผู้เรยี นได้ดว้ ย ความคิดรวบยอด concept วิธีการแลกเปลย่ี นความคิดและสรา้ งความเขา้ ใจระหว่างบุคคล ผา่ นช่องทางการสอ่ื สารตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การฟัง การพดู (มโนทศั น์/แนวคดิ ) competency การอ่าน การวาด/เขียน และการแสดงท่าทาง ความสามารถ indicators ภาพหรือความคิดในสมองทเ่ี ป็นตวั แทนของสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ ประกอบด้วยคณุ สมบัติรว่ มท่ีส�ำคัญของสงิ่ นน้ั ซง่ึ ขาดไมไ่ ด้ (สมรรถนะ) หากขาดไปจะท�ำให้ไมใ่ ช่ส่ิงนน้ั เชน่ ดอกไมท้ กุ ชนิดมีลกั ษณะร่วมคอื มีกลบี ดอก เกสร และก้านดอก ตวั บ่งช้ี คุณลักษณะและพฤติกรรมทีบ่ ง่ ชถ้ี ึงการท�ำส่งิ ตา่ ง ๆ ได้ มคี วามชำ� นาญในการใชค้ วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะทมี่ อี ยู่ อยา่ งเชยี่ วชาญ รวมทัง้ รูว้ ธิ ีการทีจ่ ะทำ� งานใหส้ �ำเรจ็ ซ่งึ นำ� มาใชใ้ นการพัฒนาวัดและประเมนิ ผลด้วย เปา้ หมายในการพัฒนาเด็กทมี่ ีความสมั พนั ธ์สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ เป็นเกณฑ์สำ� คัญส�ำหรับ การประเมนิ พัฒนาการเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพผู้เรยี น 107

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ค�ำอธบิ าย ทักษะ skill ความชำ� นาญที่เป็นความสามารถในการกระทำ� หรอื การปฏิบัตอิ ยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง อนั เกดิ ขึ้นจากการฝึกฝนหรือกระทำ� บ่อย ๆ จนเกิดเปน็ ทักษะพิสยั ด้านรา่ งกาย สติปัญญา หรอื สังคม ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 21st century skills การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การส่อื สาร ความรว่ มมือ การสรา้ งสรรค์ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร น�ำเสนอ present แสดงขอ้ มลู เรอื่ งราว หรอื ความคดิ เพื่อใหผ้ ู้อ่นื รบั รู้หรอื พจิ ารณา ชว่ ยอธิบายให้ผ้สู อนเข้าใจว่าเด็กปฐมวยั ตอ้ งทำ� อะไร เรียนรสู้ ง่ิ ต่าง ๆ รอบตัวอย่างไร ชว่ ยแนะผูส้ อนในการสังเกต ประสบการณส์ �ำคัญ key experiences สนับสนนุ และวางแผนการจัดกิจกรรมใหเ้ ด็กได้เรียนรู้ ลงมือฏิบัติ ซง่ึ สง่ ผลให้เดก็ เกิดความรู้หรอื ทักษะท่สี ่งเสรมิ พฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา พฒั นาการ development การเปล่ียนแปลงด้านโครงสร้างและวุฒภิ าวะของอวยั วะและระบบต่าง ๆ ของรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา ของแตล่ ะบุคคล ทที่ ำ� ใหส้ ามารถทำ� สงิ่ ตา่ ง ๆ ไดม้ ากขึ้น รวมถึงสามารถเพ่มิ ทักษะใหม่ ๆ และปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะ desirable แวดลอ้ มทเี่ ปน็ ตวั บุคคลและสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพในบรบิ ทตา่ ง ๆ ทพ่ี ึงประสงค์ characteristic คณุ ภาพท่ีต้องการให้เกิดขนึ้ ในตวั เดก็ ท้งั ดา้ นความดี มีปัญญา และการอยรู่ ว่ มกบั ผู้อื่นได้อย่างมคี วามสุข เมื่อจบหลกั สูตร standards การศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ในแตล่ ะระดบั อายุ คือ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี และอายุ 5-6 ปี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ desirable พฤตกิ รรมหรอื ความสามารถตามวยั ทคี่ าดหวังให้เด็กเกดิ บนพ้ืนฐานพัฒนาการตามวยั หรือความสามารถในแต่ละ conditions ระดับอายุ สอ่ื กลางในการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ให้กบั เด็ก เพอ่ื ส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกดา้ นใหเ้ ปน็ ไปตามจดุ หมายของหลกั สูตร สาระการเรยี นรู้ learning strand ที่กำ� หนด สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย ประสบการณส์ ำ� คญั และสาระทีค่ วรเรยี นรู้ เรือ่ งราวรอบตัวเด็กทีน่ ำ� มาเป็นสอ่ื กลางในการจดั กิจกรรมให้เด็กเกดิ แนวคิดหลงั จากนำ� สาระทีค่ วรเรียนรู้น้นั ๆ มาจัด สาระท่คี วรเรียนรู้ content for ประสบการณใ์ ห้เดก็ เพ่ือใหบ้ รรลจุ ุดหมายที่ก�ำหนดไว้ learning 108

109 น�ำเสนอต้นแบบ วธิ ีการและ ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ ดำ� เนินการแก้ปญั หาเพอ่ื เลือกและออกแบบวธิ กี าร รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ระบปุ ญั หา กระบวนการออกแบบ ตารางที่ 6 การวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมกบั กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยัการวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของกรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ผลการแก้ปญั หา แก้ไขต้นแบบ สรา้ งตน้ แบบ แก้ปญั หา เพอ่ื สรรหาวธิ ีการทเี่ ป็นไปได้ เชงิ วศิ วกรรม - - 1.1 แสดงความสนใจอยากรู้อยากเหน็ ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ส�ำหรบั เดก็ ปฐมวยั กระตอื รอื รน้ สนใจในการเรียนรู้ 1. มเี จตคตทิ ่ีดตี อ่ การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ 2. มีทักษะหรอื ความสามารถท่ีเป็นพื้นฐานในการเรยี นรู้ แสวงหา - ---- 1.2 ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรอ์ ยา่ งเหมาะสม ความรแู้ ละแก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื ในการสืบเสาะหา กับวยั อย่างเหมาะสมกบั วัย ---- -- -- -- -- ความรู้หรอื แกป้ ัญหาร่วมกนั -- -- -- ------ 1.3 มุ่งม่นั อดทน พยายามในการท�ำกจิ กรรม สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ทางวิทยาศาสตร์ 1.4 ตระหนักรถู้ ึงประโยชน์ การใช้งาน และ เทคโนโลยี และ การเลอื กใชส้ ่งิ ของเครอ่ื งใช้ท่อี ยู่ในชวี ติ ประจ�ำวนั อยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั และรักษาสิง่ แวดลอ้ ม คณติ ศาสตร์ 2.1 สงั เกต จับคู่ เปรยี บเทียบ จ�ำแนก จัดกลมุ่ ในระดับปฐมวัย เรยี งลำ� ดับไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวยั ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสมกบั วยั 2.2 ตั้งคำ� ถามและระบุปัญหาอยา่ งงา่ ย ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวัย 2.3 วางแผนการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา หรอื สนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั วัย 2.4 รวบรวมข้อมูล แก้ปญั หาอยา่ งงา่ ย ออกแบบ หรอื สร้างสรรค์วธิ ีการหรือ ชิน้ งานได้อย่าง เหมาะสมกบั วยั 2.5 คาดคะเน ลงความคดิ เหน็ สรา้ งค�ำอธิบาย เช่อื มโยงและให้เหตุผลได้อย่างเหมาะสมกับวัย 2.6 สื่อสารกระบวนการและสิ่งท่ีค้นพบ จากการสบื เสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการได้อย่างเหมาะสมกับวัย หวั ข้อท่ี 1 สาระทคี่ วรเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในระดับปฐมวยั หัวขอ้ ที่ 2 สาระทีค่ วรเรยี นรู้ทางคณติ ศาสตร์ ในระดับปฐมวัย

การออกแบบอัลกอริทมึ การพจิ ารณาสาระสำ� คญั ของ การพิจารณารูปแบบของปัญหา การแบง่ ปญั หาใหญ่ออกเป็น องคป์ ระกอบของ ตารางท่ี 7 การวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งขององคป์ ระกอบการคดิ เชงิ คำ� นวณกบั กรอบการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั ปัญหา หรอื วิธกี ารแก้ปญั หา ปัญหา/งานยอ่ ย การคดิ เชิงคำ� นวณ --- - --- - - --- - 1.1 แสดงความสนใจอยากรู้อยากเหน็ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ สำ� หรับเดก็ ปฐมวัย กระตอื รอื รน้ สนใจในการเรียนรู้ 1. มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 2. มีทักษะหรอื ความสามารถทเ่ี ป็นพนื้ ฐานในการเรียนรู้ แสวงหา - 1.2 ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรอ์ ย่างเหมาะสม ความร้แู ละแก้ปัญหาด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื ในการสืบเสาะหา กบั วยั อยา่ งเหมาะสมกับวัย - ความรู้หรอื แกป้ ัญหาร่วมกนั - 1.3 มุ่งม่นั อดทน พยายามในการท�ำกจิ กรรม - -- - -- --- ------- 1.4 ตระหนักรถู้ ึงประโยชน์ การใช้งาน และ การเลอื กใชส้ ่งิ ของเครอ่ื งใช้ท่อี ยู่ในชวี ติ ประจ�ำวนั --- -- อยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั และรักษาสิง่ แวดลอ้ ม สาระที่ควรเรียนรู้ 2.1 สงั เกต จับคู่ เปรยี บเทียบ จ�ำแนก จัดกลมุ่ ทางวิทยาศาสตร์ เรยี งลำ� ดับไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวยั ไดอ้ ยา่ ง เทคโนโลยี และ เหมาะสมกบั วยั 2.2 ตั้งคำ� ถามและระบุปัญหาอยา่ งงา่ ย คณิตศาสตร์ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวัย ในระดับปฐมวัย 2.3 วางแผนการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา หรอื สนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั วัย 2.4 รวบรวมข้อมูล แก้ปญั หาอยา่ งงา่ ย ออกแบบ หรอื สร้างสรรค์วธิ ีการหรือ ชิน้ งานได้อย่าง เหมาะสมกบั วยั 2.5 คาดคะเน ลงความคดิ เหน็ สรา้ งค�ำอธิบาย เช่อื มโยงและให้เหตุผลได้อย่างเหมาะสมกับวัย 2.6 สื่อสารกระบวนการและสิ่งท่ีค้นพบ จากการสบื เสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการได้อย่างเหมาะสมกับวัย หวั ข้อท่ี 1 สาระทคี่ วรเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในระดับปฐมวยั หัวขอ้ ที่ 2 สาระทีค่ วรเรยี นรู้ทางคณติ ศาสตร์ ในระดับปฐมวัย 110

การมสี ว่ นรว่ มในค�ำถาม ลักษณะส�ำคญั ของ ตารางที่ 8 การวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของลักษณะสำ� คัญของการสบื เสาะหาความรู้กบั กรอบการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั การเก็บข้อมูลหลักฐาน การสบื เสาะหาความรู้ การอธิบายสง่ิ ท่ีพบ การเช่ือมโยงส่ิงท่ีพบ กบั สิ่งท่ผี ้อู ่ืนพบ การสอื่ สารและใหเ้ หตผุ ล 111 -- - 1.1 แสดงความสนใจอยากรู้อยากเหน็ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ส�ำหรบั เด็กปฐมวัย - กระตอื รอื รน้ สนใจในการเรียนรู้ 1. มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 2. มที กั ษะหรอื ความสามารถทีเ่ ปน็ พนื้ ฐานในการเรียนรู้ แสวงหา 1.2 ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรอ์ ย่างเหมาะสม ความรู้และแกป้ ัญหาด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ - ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื ในการสืบเสาะหา กับวยั อย่างเหมาะสมกับวยั - ความรู้หรอื แกป้ ัญหาร่วมกนั ---- 1.3 มุ่งม่นั อดทน พยายามในการท�ำกจิ กรรม -- -- 1.4 ตระหนักรถู้ ึงประโยชน์ การใช้งาน และ การเลอื กใชส้ ่งิ ของเครอ่ื งใช้ท่อี ยู่ในชวี ติ ประจ�ำวนั --- อยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั และรักษาสิง่ แวดลอ้ ม 2.1 สงั เกต จับคู่ เปรยี บเทียบ จ�ำแนก จัดกลมุ่ --- เรยี งลำ� ดับไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวยั ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสมกบั วยั 2.2 ตั้งคำ� ถามและระบุปัญหาอยา่ งงา่ ย สาระท่ีควรเรียนรู้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวัย ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ 2.3 วางแผนการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา หรอื สนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั วัย คณติ ศาสตร์ 2.4 รวบรวมข้อมูล แก้ปญั หาอยา่ งงา่ ย ออกแบบ ในระดับปฐมวยั หรอื สร้างสรรค์วธิ ีการหรือ ชิน้ งานได้อย่าง เหมาะสมกบั วยั 2.5 คาดคะเน ลงความคดิ เหน็ สรา้ งค�ำอธิบาย เช่อื มโยงและให้เหตุผลได้อย่างเหมาะสมกับวัย 2.6 สื่อสารกระบวนการและสิ่งท่ีค้นพบ จากการสบื เสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการได้อย่างเหมาะสมกับวัย หวั ข้อท่ี 1 สาระทคี่ วรเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในระดับปฐมวยั หัวขอ้ ที่ 2 สาระทีค่ วรเรยี นรู้ทางคณติ ศาสตร์ ในระดับปฐมวัย

การแกป้ ญั หา ทกั ษะและกระบวนการ ตารางที่ 9 การวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์กบั กรอบการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั การให้เหตผุ ล ทางคณติ ศาสตร์ การเช่ือมโยง การสือ่ สารและส่อื ความหมาย ทางคณติ ศาสตร์ การคดิ สร้างสรรค์ -- 1.1 แสดงความสนใจอยากรู้อยากเหน็ ผลการเรียนรูท้ ่คี าดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ สำ� หรับเด็กปฐมวัย -- กระตอื รอื รน้ สนใจในการเรียนรู้ 1. มีเจตคติทีด่ ีต่อการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 2. มที ักษะหรือความสามารถทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรู้ แสวงหา 1.2 ร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรอ์ ย่างเหมาะสม ความรูแ้ ละแก้ปัญหาด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ - ความคิดเหน็ ของผู้อ่นื ในการสืบเสาะหา กับวัย อย่างเหมาะสมกับวัย ความรู้หรอื แกป้ ัญหาร่วมกนั -- 1.3 มุ่งม่นั อดทน พยายามในการท�ำกจิ กรรม - - 1.4 ตระหนักรถู้ ึงประโยชน์ การใช้งาน และ การเลอื กใชส้ ่งิ ของเครอ่ื งใช้ท่อี ยู่ในชวี ติ ประจ�ำวนั -- อยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั และรักษาสิง่ แวดลอ้ ม -- 2.1 สงั เกต จับคู่ เปรยี บเทียบ จ�ำแนก จัดกลมุ่ เรยี งลำ� ดับไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวยั ไดอ้ ยา่ ง - เหมาะสมกบั วยั 2.2 ตั้งคำ� ถามและระบุปัญหาอยา่ งงา่ ย - ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวัย - 2.3 วางแผนการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา หรอื สนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั วัย สาระท่ีควรเรยี นรู้ 2.4 รวบรวมข้อมูล แก้ปญั หาอยา่ งงา่ ย ออกแบบ ทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื สร้างสรรค์วธิ ีการหรือ ชิน้ งานได้อย่าง เทคโนโลยี และ เหมาะสมกบั วยั 2.5 คาดคะเน ลงความคดิ เหน็ สรา้ งค�ำอธิบาย คณติ ศาสตร์ เช่อื มโยงและให้เหตุผลได้อย่างเหมาะสมกับวัย ในระดับปฐมวัย 2.6 สื่อสารกระบวนการและสิ่งท่ีค้นพบ จากการสบื เสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการได้อย่างเหมาะสมกับวัย หวั ข้อท่ี 1 สาระทคี่ วรเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในระดับปฐมวยั หัวขอ้ ที่ 2 สาระทีค่ วรเรยี นรู้ทางคณติ ศาสตร์ ในระดับปฐมวัย 112

การเชอื่ มโยงสาระทคี่ วรเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดบั ปฐมวยั กบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระทคี่ วรเรียนรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย เป็นสอื่ กลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ใหเ้ ด็กได้รบั การพฒั นาเจตคติและทักษะ หรอื ความสามารถตามผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั อีกท้ังสาระทคี่ วรเรยี นรนู้ ีเ้ ป็นการปูพ้ืนฐานเพือ่ เชือ่ มต่อระหวา่ งระดบั การศกึ ษาปฐมวยั และประถมศึกษา ซึง่ มคี วามเชือ่ มโยงและ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ดงั นี้ กรอบการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หวั ขอ้ ท่ี 1 สาระทีค่ วรเรียนรูท้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นระดับปฐมวัย สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ 1.1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ เรยี นร้เู ก่ยี วกับร่างกายของมนุษย์ สัตว์ และพืช การดูแล สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ รกั ษารา่ งกายของตนเอง การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์ สตั ว์ และพชื การใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง และการดแู ลรักษาสตั วแ์ ละพชื สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ กบั สงิ่ มชี วี ติ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สง่ิ มชี วี ติ 1) ชอ่ื ลกั ษณะ และสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายของมนษุ ย์ สตั ว์ และพชื ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศการถา่ ยทอดพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงแทนทใี่ น 2) การดูแลรักษารา่ งกายของตนเอง ระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทมี่ ตี ่อ 3) การเปลี่ยนแปลงลกั ษณะของมนษุ ย์ สัตว์ และพืช เมื่อเจริญเติบโต ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ 4) ลักษณะท่ีคลา้ ยกนั ของมนษุ ยใ์ นครอบครัวเดยี วกนั ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิง่ แวดล้อมรวมทัง้ นำ� ความรู้ 5) ประโยชนแ์ ละอนั ตรายของสตั วแ์ ละพชื ทมี่ ตี อ่ มนุษย์ และการดแู ลรักษาสัตว์ ไปใช้ประโยชน์ และพชื 113

กรอบการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1.2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั วตั ถแุ ละการเปลยี่ นแปลงของวตั ถุ การใช ้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสิ่งมชี วี ิต หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมชี วี ิต การลำ� เลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง ประโยชน์จากวัตถุ ผลของแรงทกี่ ระท�ำตอ่ วตั ถุ พลังงานในชีวิตประจ�ำวัน และหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทีท่ �ำงานสัมพนั ธก์ นั 1) ช่ือ ลกั ษณะและสว่ นประกอบของวัตถหุ รือส่ิงของเครือ่ งใช้ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ ี 2) การใชป้ ระโยชน์จากวตั ถแุ ละการเลอื กใชว้ ัตถุหรือสงิ่ ของเครอ่ื งใชอ้ ย่าง ทำ� งานสมั พนั ธ์กนั รวมท้งั นำ� ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำ� คญั ของการถา่ ยทอดลกั ษณะ เหมาะสม ทางพนั ธุกรรมสารพนั ธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมทมี่ ผี ล 3) การเปลย่ี นแปลงของวตั ถุหรอื สิ่งของเคร่ืองใช้ ตอ่ สง่ิ มีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของ 4) ผลของแรงท่กี ระท�ำต่อวัตถหุ รือสงิ่ ของเครื่องใช้ สิ่งมชี ีวติ รวมท้งั นำ� ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 5) พลังงานในชีวติ ประจำ� วนั และการใช้ประโยชน์จากพลงั งาน สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธ์ ระหวา่ งสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิด สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจำ� วนั ผลของแรงทก่ี ระทำ� ตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะการเคลอ่ื นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นำ� ความรไู้ ปใช ้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอน พลงั งานปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลงั งานใน ชีวติ ประจำ� วัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมทง้ั นำ� ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 114

กรอบการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดบั ปฐมวยั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 1.3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ เรียนรเู้ กยี่ วกับดิน นำ้� และการใชป้ ระโยชนล์ มฟ้า สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ อากาศและการปฏิบัติตน ทอ้ งฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการ 1) บรเิ วณทพี่ บ ลกั ษณะ การใช้ประโยชน์ และการดแู ลรักษาดนิ ของเอกภพกาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ ์ 2) บริเวณทพ่ี บ ลักษณะ การใชป้ ระโยชน์ และการดแู ลรักษาน้ำ� ภายในระบบสุริยะทีส่ ง่ ผลต่อสง่ิ มชี วี ติ และการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี 3) ลกั ษณะและการเปลย่ี นแปลงของลมฟา้ อากาศ และการปฏบิ ตั ติ นใหเ้ หมาะสม อวกาศ 4) สิง่ ทพ่ี บบนท้องฟา้ และลักษณะของทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวันและกลางคนื มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการ เปลยี่ นแปลงภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ภิ ยั กระบวนการ เปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อส่ิงมชี ีวิต และสงิ่ แวดลอ้ ม หมายเหตุ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี 1. สาระทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เทคโนโลยสี อดแทรกอยใู่ นสาระทค่ี วรเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพอ่ื การดำ� รงชวี ิตในสังคมท่ีม ี และเทคโนโลยี หวั ขอ้ 1.2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เปน็ การปพู นื้ ฐานความรเู้ พอื่ การเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทกั ษะทางดา้ น น�ำไปใชใ้ นการแก้ปญั หาอยา่ งเหมาะสมกับวัย ดงั นี้ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ น่ื ๆ เพอื่ แกป้ ญั หาหรอื พฒั นา 1) ช่อื ลักษณะและสว่ นประกอบของวตั ถหุ รือสง่ิ ของเครื่องใช้ งานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 2) การใชป้ ระโยชนจ์ ากวตั ถุและการเลือกใช้วตั ถุหรือสิ่งของเครื่องใชอ้ ย่าง เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม เหมาะสม และสง่ิ แวดลอ้ ม 3) การเปล่ียนแปลงของวตั ถุหรือสงิ่ ของเคร่ืองใช้ 2. กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมสอดแทรกอยู่ในผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั ดา้ นที่ 2 มที กั ษะหรอื ความสามารถทเ่ี ปน็ พนื้ ฐานในการเรยี นรู้ แสวงหาความรู้ และแกป้ ญั หาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรอ์ ยา่ งเหมาะสมกบั วยั (รายละเอยี ดดังตารางการวิเคราะหค์ วามเชือ่ มโยง) 115

กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดับปฐมวัย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 3. การคิดเชิงค�ำนวณสอดแทรกอยู่ในผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำ� นวณในการแกป้ ญั หาทพี่ บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเป็นขนั้ ตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ ดา้ นท่ี 2 มที กั ษะหรอื ความสามารถทเ่ี ปน็ พนื้ ฐานในการเรยี นรู้ แสวงหาความรู้ การส่ือสารในการเรยี นร้กู ารทำ� งาน และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งม ี และแกป้ ญั หาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรอ์ ยา่ งเหมาะสมกบั วยั ประสิทธิภาพ ร้เู ทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม (รายละเอียดดงั ตารางการวิเคราะหค์ วามเชื่อมโยง) หัวขอ้ ท่ี 2 สาระทค่ี วรเรยี นรู้ทางคณิตศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ 2.1 จำ� นวนและพชี คณติ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั การแสดงจำ� นวน การดำ� เนนิ การของจำ� นวน สาระที่ 1 จำ� นวนและพืชคณติ แบบรปู และความสัมพนั ธ์ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ� นวน ระบบจ�ำนวน 1) จ�ำนวนและการดำ� เนินการ การดำ� เนนิ การของจำ� นวน ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการดำ� เนนิ การ สมบตั ขิ อง 2) แบบรูปและความสัมพันธ์ การดำ� เนินการ และน�ำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรปู ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ ัน ล�ำดับและ อนกุ รม และนำ� ไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นพิ จน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พนั ธ์ หรือช่วย แก้ปญั หาทีก่ ำ� หนดให้ 2.2 การวดั และเรขาคณติ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั การวดั ความยาว นำ�้ หนกั ปรมิ าตร เวลา เงนิ สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ ตำ� แหนง่ ทศิ ทาง ระยะทาง และรูปเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกยี่ วกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ที่ 1) ความยาว ต้องการวัดและนำ� ไปใช้ 2) น�ำ้ หนกั มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณติ 3) ปรมิ าตร ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และ 4) เวลา น�ำไปใช้ 5) เงิน 6) ต�ำแหนง่ ทิศทาง และระยะทาง 7) รูปเรขาคณติ สามมติ ิ และรูปเรขาคณติ สองมติ ิ 116

กรอบการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 2.3 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น เรยี นร้เู กย่ี วกับการใหข้ อ้ มลู การจดั กระทำ� และ สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ การนำ� เสนอขอ้ มูลทเี่ กี่ยวกับตนเองและสิง่ แวดล้อมในรปู แผนภมู อิ ย่างงา่ ย มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถติ ิใน 1) การเก็บรวบรวมข้อมลู และการนำ� เสนอข้อมูล การแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบือ้ งต้น ความนา่ จะเป็น และนำ� ไปใช้ หมายเหตุ การเชอื่ มโยงสาระที่ควรเรยี นร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวยั กบั ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สามารถดาวน์โหลดเพ่มิ เตมิ ได้ท่ี http://ipst.me/11315 หรอื สแกน QR Code 117

คณะผ้จู ัดทำ� คณะท่ปี รึกษา ดร.วรนาท รกั ษส์ กลุ ไทย ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นเกษมพทิ ยา (แผนกอนบุ าล) ศ.ดร.ชกู จิ ลมิ ปจิ ำ� นงค ์ ผอู้ ำ� นวยการ นางเอมอร รสเครอื ขา้ ราชการบำ� นาญ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางจงจติ เคา้ สมิ ขา้ ราชการบำ� นาญ ดร.พรชัยั อินิ ทร์ฉ์ าย รองผู้้�อำำ�นวยการ ดร.ชบา พนั ธศ์ุ กั ด ิ์ สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สถาบันั ส่ง่ เสริมิ การสอนวิทิ ยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี สพุ รรณบรุ ี เขต 1 ดร.วนิดิ า ธนประโยชน์ศ์ ักั ดิ์์� ผู้้�ช่ว่ ยผู้้�อำำ�นวยการ ดร.นทิ รา ชอ่ สงู เนนิ โรงเรยี นอนบุ าลอดุ รธานี จ.อดุ รธานี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.กนั ตฤ์ ทยั นาหว้ ยทราย โรงเรยี นบา้ นคณุ แม่ จ.เชยี งใหม่ ดร.กศุ ลนิ มสุ กิ ลุ ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการ นางจำ� ลองลกั ษณ ์ กอ้ นทอง โรงเรยี นชมุ ชนบงึ บา จ.ปทมุ ธานี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางพชั รา องั กรู ขจร โรงเรยี นบา้ นแมล่ ะเมา จ.ตาก ดร.สพุ รรณ ี ชาญประเสรฐิ ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการ นางภชั ราภรณ ์ โพธสิ าร โรงเรยี นบา้ นสดำ� จ.ศรสี ะเกษ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางฐติ มิ า ศรสี ขุ โรงเรยี นสาธติ เทศบาลนครระยอง จ.ระยอง ดร.สมเกยี รต ิ เพญ็ ทอง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางเยาวนารถ เลาหบรรจง โรงเรยี นอนบุ าลกะบ่ี จ.กระบ่ี คณะผู้ยกรา่ ง นางสพุ ร โขขดั โรงเรยี นอนบุ าลตรงั จ.ตรงั ดร.เทพกญั ญา พรหมขตั แิ กว้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางวรรณภา มงั บแู่ วน่ โรงเรยี นอนบุ าลนครราชสมี า จ.นครราชสมี า นางสาวแคทลยี า จกั ขจุ นั ทร์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางเลศิ นาร ี รอดกำ� เนดิ โรงเรยี นอนบุ าลสมทุ รสงคราม จ.สมทุ รสงคราม นางสาวณญาดา ณ นคร สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวจเี รยี ง บญุ สม โรงเรยี นบา้ นทงุ่ มะขามเฒา่ จ.กาญจนบรุ ี นางสาวสณุ สิ า สมสมยั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผพู้ ิจารณา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวภสั รำ� ไพ จอ้ ยเจรญิ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางชตุ มิ า เตมยี สถติ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางพชั รดา รกั ยงิ่ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายประสาท สอา้ นวงศ ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางนงลกั ษณ ์ ศรสี วุ รรณ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.ณฐั ธดิ า พรหมยอด สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.อรพรรณ บตุ รกตญั ญ ู คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ดร.วนั ชยั นอ้ ยวงศ ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.วนั ดี เกษมสขุ พพิ ฒั น ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ดร.พจนา ดอกตาลยงค ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.สริ มิ ณี บรรจง คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา ดร.เบญ็ จวรรณ หาญพพิ ฒั น ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางภาวณิ ี แสนทวสี ขุ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ดร.อรนษิ ฐ ์ โชคชยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดร.กานจลุ ี ปญั ญาอนิ ทร ์ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 118

ดร.รณชยั ปานะโปย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ลเทคโนโลยี ดร.สทุ ธาภา โชตปิ ระดษิ ฐ ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ดร.ภทั รวด ี หาดแกว้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รศ.ดร.นพพร แหยมแสง คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง นางสาวนวลจนั ทร์ ฤทธข์ิ ำ� สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.ขวญั ฟา้ รงั สยิ านนั ท ์ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ดร.เหมอื นฝนั เยาวว์ วิ ฒั น ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.สทุ ธพิ รรณ ธรี พงศ ์ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ดร.เขมวด ี พงศานนท ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.สนิ ชยั จนั เสม คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ดร.อภสิ ทิ ธ ์ิ ธงไชย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.รงั รอง สมมติ ร คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ นางสาวสทุ ธดิ า การมี ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.ชนพิ รรณ จาตเิ สถยี ร สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ดร.บญุ วทิ ย์ รตั นทพิ ยาภรณ ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช นายศลิ ปเวท คนธคิ ามี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รศ.ดร.อรณุ ี หรดาล สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ดร.จรี ะพร สงั ขเวทยั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช นางสาวจนิ ดาพร หมวกหมน่ื ไวย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.อญั ชล ี ไสยวรรณ วทิ ยาลยั ฝกึ หดั ครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร นางสาวชริ พรรณ ทองวจิ ติ ร สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร.พชั ราภรณ์ พทุ ธกิ ลุ วทิ ยาลยั ฝกึ หดั ครู มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร ศ.ดร.อาร ี สณั หฉว ี ขา้ ราชการบำ� นาญ ผศ.เยย่ี มลกั ษณ ์ อดุ าการ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ รศ.ดร.จรี ะพนั ธ์ุ พลู พฒั น ์ ขา้ ราชการบำ� นาญ ผศ.ดร.ศศธิ ร จนั ทมฤก คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ รศ.พญ.นติ ยา คชภกั ด ี สถาบนั แหง่ ชาตเิ พอ่ื การพฒั นาเดก็ และครอบครวั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ผศ.ดร.สภุ ทั รา คงเรอื ง คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ผศ.ดร.วรวรรณ เหมชะญาต ิ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พระนครศรอี ยธุ ยา ผศ.ดร.ยศวรี ์ สายฟา้ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นางสาวนภสั ศรเี จรญิ ประมง คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รำ� ไพพรรณี ดร.อไุ รวาส ธำ� รงธรรถ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ดร.อภริ ดี ไชยกาล คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ ดร.ประภาศรี นนั ทน์ ฤมติ คณะแพทยศ์ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ดร.อไุ รรตั น ์ สำ� เรงิ วงศ ์ นกั วชิ าการอสิ ระ รศ.ดร.ปทั มาวดี เลห่ ม์ งคล คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ผศ.ดร.จรรยา ดาสา ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั รศ.ดร.บปุ ผชาติ ทฬั หกิ รณ ์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ รศ.ดร.ศศเิ ทพ ปติ พิ รเทพนิ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ดร.ประภาพรรณ จเู จรญิ สถาบนั พฒั นาสขุ ภาพอาเซยี น มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ผศ.ดร.ชลาธปิ สมาหโิ ต คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นางสาวธดิ า พทิ กั ษส์ ขุ สมาคมอนบุ าลศกึ ษาแหง่ ประเทศไทย ผศ.ดร.ตอ้ งตา สมใจเพง็ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นางสาวกนั ยา สตั ถาสาธชุ นะ สำ� นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพ ผศ.ดร.นฤมล ชา่ งศร ี คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ การศกึ ษา ผศ.ดร.ศริ ประภา พฤทธกิ ลุ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา นางกาญจนา คงสวสั ด ิ์ ฝา่ ยการศกึ ษา อคั รสงั ฆมณฑล กรงุ เทพฯ 119

นายอมฤต แยม้ กมล นกั วชิ าการศกึ ษา เทศบาลนครลำ� พนู นางพนดิ า ฉมิ รกั แกว้ โรงเรยี นเทศบาล 1 (บรู พาวทิ ยากร) นางสาวกรกมล จงึ สำ� ราญ นกั วชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการสภาการศกึ ษา นางพรทพิ ย์ เวชกามา โรงเรยี นสาธติ เทศบาลนครระยอง (วดั ตรรี ตั นาราม) นางเกศรา สรุ วลั ลภ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการ เทศบาลเมอื งนราธวิ าส คณะโรงเรยี นร่วมทดลองใช้ โรงเรยี น ตชด.เจา้ พอ่ หลวงอปุ ถมั ภ์ 2 จ.เชยี งใหม่ นางจรรยารกั ษ ์ โพธทิ์ องงาม ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ เทศบาลนครราชสมี า นางสาวกรรณกิ าร ์ ชมู อื ก ู่ โรงเรยี นบา้ นคณุ แม่ จ.เชยี งใหม่ นายสมบตั ิ เนตรสวา่ ง ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ สพป.สระบรุ ี นางปานหทยั อง้ึ เกษมศร ี โรงเรยี นบา้ นคณุ แม่ จ.เชยี งใหม่ นางสาวลกั คะณา เสโนฤทธ์ิ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ สำ� นกั การศกึ ษา กทม. นางสาวชชั ดาพร อมั พรสายชล โรงเรยี นอนบุ าลเชยี งใหม่ จ.เชยี งใหม่ นางสทุ ธาทพิ ย ์ เมอื งสขุ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ เทศบาลนครนนทบรุ ี นางสาวนสิ ารตั น ์ สดุ ใจ โรงเรยี นบา้ นแมล่ ะเมา จ.ตาก ดร.ชยั วฒุ ิ สนิ ธวุ งศานนท์ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ สพป.นครราชสมี า นางสาวกนกทพิ ย ์ สนี วลใหญ ่ โรงเรยี นเทศบาลสนั ปา่ ยางหลวง จ.ลำ� พนู นางสาวธติ มิ า เรอื งสกลุ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ สพป.นราธวิ าส นางจฑุ ามาศ นนั ตาใหม ่ โรงเรยี นสนามบนิ จ.ขอนแกน่ นางหรณิ ญา รงุ่ แจง้ ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ สพป.ประจวบครี ขี นั ธ์ นางอรญั ญา วจิ ติ ร โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนบา้ นปากลา นางโสรจั จะ มที รพั ยม์ น่ั ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ สำ� นกั การศกึ ษา กทม. ด.ต.หญงิ ชนญั ธดิ า ดำ� งาม จ.อบุ ลราชธานี นายบรรพต ขนั คำ� ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพแิ ศษ สพป.เชยี งราย โรงเรยี นบา้ นเดก็ วารนิ ชำ� ราบ จ.อบุ ลราชธานี นายอรรถวิ เดชรตั นสวุ รรณ ์ ผอู้ ำ� นวยการ โรงเรยี นนครนนทว์ ทิ ยา 4 นางสาวเพยี งใจ สมโสภา โรงเรยี นบา้ นสดำ� จ.ศรสี ะเกษ ดร.เขมศริ ิ ประภามนตรพี งศ ์ ผอู้ ำ� นวยการ โรงเรยี นประภามนตรี 2 นางสาวนงเยาว ์ ปรอื ทอง โรงเรยี นเทศบาล 2 (วดั สมอราย) จ.นครราชสมี า ดร.รศั ม ี แดงสวุ รรณ ผอู้ ำ� นวยการ โรงเรยี นมนิ เดอรพ์ ฒั นาศกึ ษา นางลดั ดา แสนทวสี ขุ โรงเรยี นวดั ยางเกาะ จ.กาญจนบรุ ี ผศ.อรณุ ศร ี จนั ทรท์ รง ผอู้ ำ� นวยการ โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ นางสาวเปรมวราพร พณิ จริ วทิ ย ์ โรงเรยี นสมาคมสตรไี ทย กรงุ เทพฯ นางสาวแสงมณ ี มนี อ้ ย ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ งานสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาทอ้ งถน่ิ นางสาวธนนิ ทธ์ ร แดงทมิ โรงเรยี นคลองปกั หลกั กรงุ เทพฯ นางสาวชลติ ตา สงิ หส์ ขุ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นปางมะหนั นางสภุ าภรณ์ โพธช์ิ ยั โรงเรยี นชมุ ชนบงึ บา จ.ปทมุ ธานี รศ.ลดั ดา พเู่ กยี รต ิ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นสาธติ พฒั นา นางสาวธญั ญาภรณ์ ปญั ญาธรากร โรงเรยี นบา้ นมาบตาพดุ จ.ระยอง รศ.ประภาภทั ร นยิ ม ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นรงุ่ อรณุ นางสาวดารนิ ทร์ สขุ สวสั ด ์ิ โรงเรยี นสาธติ เทศบาลนครระยอง(วดั ตรรี ตั นาราม) ดร.คำ� แกว้ ไกรสรพงษ ์ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นอนบุ าลกรแกว้ นางสาวรตั นา โนนกลาง จ.ระยอง นายประโมทย์ เยย่ี มสวสั ด ์ิ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นอนบุ าลบา้ นแพว้ โรงเรยี นสาธติ เทศบาลนครระยอง(วดั ตรรี ตั นาราม) นายจรญู ยอดอโุ มงค ์ รองผอู้ ำ� นวยการ โรงเรยี นเทศบาลประตลู ี้ นาย นางสาวจนิ ตนา พนั ธพ์ุ านชิ ย ์ จ.ระยอง นายอดสุ ทิ ธ ์ คดิ รมั ย ์ รองผอู้ ำ� นวยการ โรงเรยี นสเุ หรา่ หวั หมากนอ้ ย โรงเรยี นตชด.บา้ นคลองนอ้ ย จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ นางสาวสริ วิ รรณ สงั ขต์ ระกลู รองผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นปากแพรก นางสาวยพุ นิ เจมิ สวุ รรณ ์ โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนบา้ นสวนเพชร นายฉตั รมงคล รตั นปญั ญา รองผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นอนบุ าลงาว (ภาณนุ ยิ ม) นางวาสนา นโุ รจน ์ จ.ชมุ พร ดร.นฤมล เนยี มหอม โรงเรยี นทงุ่ มหาเมฆ 120

นางสภุ คั จริ า ศกั ดนิ์ ำ� ชยั โรงเรยี นเทศบาล 1 (ถนนนครนอก) จ.สงขลา คณะบรรณาธกิ าร ขา้ ราชการบำ� นาญ นางโสภดิ า เพญ็ แกว้ โรงเรยี นเทศบาล 1 (อนบุ าลอจั ฉรยิ ะ) จ.สงขลา รศ.ดร.นอ้ มศร ี เคท ขา้ ราชการบำ� นาญ นางเฉดิ ฉนั ท ์ สง่ เสรมิ โรงเรยี นบรู ณะรำ� ลกึ จ.ตรงั รศ.ดร.พชั ร ี ผลโยธนิ ขา้ ราชการบำ� นาญ นางมารยี า แมหะ โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา จ.ยะลา ผศ.พวงทอง ออ่ นจำ� รสั คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นายอนั วาร ์ ตอเลาะ โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา จ.ยะลา ดร.ปนฐั ษรณ์ จารชุ ยั นวิ ฒั น ์ นกั วชิ าการอสิ ระ นางสาวจนั ทรเ์ พญ็ สวุ รรณฤทธ ์ิ โรงเรยี นอนบุ าลกระบี่ จ.กระบี่ ดร.อญั ญมณ ี บญุ ซอื่ นางสาวขนษิ ฐา มาระพงษ ์ โรงเรยี นอนบุ าลตรงั จ.ตรงั นางจงกล คารมยก์ ลาง โรงเรยี นอนบุ าลนครราชสมี า จ.นครราชสมี า ภาพประกอบ นางสาวปรยี าภรณ ์ สอ่ งแสง โรงเรยี นอนบุ าลบา้ นเดก็ จ.อบุ ลราชธานี โรงเรยี นดาราคาม จ.กรงุ เทพมหานคร นางสาวภทั ราภา จนั ทรเ์ พญ็ โรงเรยี นอนบุ าลเปลง่ ประสทิ ธศิ์ รนี ครนิ ทร์ โรงเรยี นชมุ ชนบงึ บา จ.ปทมุ ธานี กรงุ เทพฯ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษา (ทอ้ งฟา้ จำ� ลองกรงุ เทพฯ) นางสาวธนญั กรณ ์ ไมตร ี โรงเรยี นอนบุ าลเมอื งเชยี งราย (สนั ทรายราษฎร์ ดรณุ านเุ คราะห)์ จ.เชยี งราย นางสวุ รรณ ี คงทองจนี โรงเรยี นอนบุ าลระนอง จ.ระนอง นางวนั เพญ็ ทพิ ยเ์ วยี ง โรงเรยี นอนบุ าลลำ� พนู จ.ลำ� พนู นางสาวสภุ ารตั น ์ กาเสม็ โรงเรยี นอนบุ าลสตลู จ.สตลู นางรชั นี นลิ ศร ี โรงเรยี นอนบุ าลสมทุ รสงคราม จ.สมทุ รสงคราม นางสาวนสิ า พนมตง้ั โรงเรยี นอนบุ าลอดุ รธานี จ.อดุ รธานี นางอรพรรณ สทุ ธคิ ำ� มงคล โรงเรยี นอยวู่ ทิ ยา จ.นา่ น นางสาวอรพรรณ มคั ศรพี งษ ์ โรงเรยี นอนิ ทรศ์ รทั ธาราษฎร์ จ.สพุ รรณบรุ ี นางจนิ ตนา โคทนา ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลตำ� บลมว่ งหวาน จ.ขอนแกน่ นางสาวกรณุ า แจม่ หมอ้ ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลเมอื งลำ� พนู จ.ลำ� พนู นางสาวเพญ็ นภา เวสยา ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ เทศบาลเมอื งลำ� พนู จ.ลำ� พนู 121

บันั ทึกึ

บนั ทกึ

บนั ทกึ

บันั ทึกึ

บันั ทึกึ

บันั ทึกึ

บันั ทึกึ


















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook