Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

Published by อัมรินทร์ บุญเอนก, 2022-04-14 07:35:04

Description: กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

Search

Read the Text Version

หวั ข้อย่อย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทค่ี วรเรยี นร้ทู างคณติ ศาสตร์ ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ 2) น�้ำหนัก • หนกั กว่า เบากวา่ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • นำ� สง่ิ ของตา่ ง ๆ ทม่ี นี ำ�้ หนกั แตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน หนกั เท่ากนั เป็นคำ� ท่ี (2) การเปรยี บเทียบ (2) การเรยี งล�ำดบั (2) การชงั่ และบอก ให้เด็กสังเกต และลองยกด้วยมือท้ังสองข้าง ใช้ในการเปรียบเทียบ น้ำ� หนกั ของ นำ�้ หนกั ของ นำ้� หนักของ แลว้ บอกวา่ สง่ิ ของช้ินใดหนักกวา่ หรือเบากวา่ น�้ำหนกั ของส่ิงต่าง ๆ สง่ิ ตา่ ง ๆ 2 สงิ่ ส่งิ ต่าง ๆ 3-5 ส่ิง ส่ิงตา่ ง ๆ โดยใช้ • ใหเ้ ดก็ เปรยี บเทยี บสงิ่ ของทม่ี นี ำ�้ หนกั ตา่ งกนั 3 สงิ่ • การเรยี งลำ� ดับ โดยใช้คำ� โดยใชค้ ำ� เครอ่ื งมอื และ ทลี ะคู่แลว้ เรยี งลำ� ดบั จากหนกั ทสี่ ดุ ไปเบาทสี่ ดุ หรอื น�้ำหนกั ของส่งิ ตา่ ง ๆ หนักกว่า-เบากว่า หนกั ทสี่ ดุ -เบาทส่ี ดุ หน่วยทไี่ มใ่ ช่ จากเบาท่ีสดุ ไปหนักทส่ี ุด อาจเรียงจากนอ้ ยไป หนกั เทา่ กัน หนว่ ยมาตรฐาน • บอกน้�ำหนักของผลไม้ด้วยเคร่ืองช่ังสองแขน มากหรอื มากไปน้อย อยา่ งงา่ ยโดยใชไ้ มบ้ ลอ็ กทมี่ รี ปู ทรงและขนาดเทา่ กนั • การชัง่ นำ�้ หนักของ เป็นหนว่ ยในการช่ังนำ�้ หนัก ส่ิงตา่ ง ๆ อาจใช้ • สอดแทรกภาษาท่ีเก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ เคร่อื งมือและหนว่ ยที่ ในชีวติ ประจ�ำวนั เช่น เปรียบเทยี บ เรียงล�ำดับ ไมใ่ ช่หนว่ ยมาตรฐาน เท่ากัน ไม่เทา่ กัน หนกั เบา หนักกว่า เบากวา่ หนกั ท่สี ดุ เบาที่สดุ • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วกบั การชงั่ ส่ือสารโดยการพูด การวาด การใช้ส่ือ หรือ การกระทำ� อธบิ าย และใหเ้ หตผุ ลเกย่ี วกบั การชง่ั เชื่อมโยงการช่ังในการเล่นหรือการท�ำกิจกรรม ตา่ ง ๆ 38

หัวขอ้ ยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระท่ีควรเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างแนวการจัดประสบการณ์ 3) ปริมาตร • ปรมิ าตรมากกวา่ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี ปริมาตรนอ้ ยกว่า (3) การเปรยี บเทียบ (3) การเรยี งลำ� ดับ (3) การตวงและบอก • น�ำภาชนะที่มีรูปร่างเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ปรมิ าตรเท่ากัน ปรมิ าตรของ ปรมิ าตรของ ปรมิ าตรของ มาบรรจทุ รายหรอื ถว่ั เขยี ว ใหเ้ ดก็ สงั เกตวา่ สง่ิ ของ เปน็ ค�ำทใี่ ช้ใน สิง่ ตา่ ง ๆ 2 สิง่ สง่ิ ตา่ ง ๆ 3-5 สิง่ สิง่ ต่าง ๆ ในภาชนะใบไหนมปี รมิ าตรมากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ การเปรยี บเทียบ โดยใชค้ ำ� มากกวา่ - โดยใชค้ ำ� มากทสี่ ดุ - ทก่ี ำ� หนดให้ โดยเปรยี บเทยี บระดบั ความสงู ของสงิ่ ของทบ่ี รรจอุ ยู่ ปริมาตรของสง่ิ ตา่ ง ๆ น้อยกว่า เท่ากนั น้อยท่สี ุด โดยใช้เคร่อื งมือ ภายในภาชนะ • การเรียงลำ� ดับ และหน่วยท่ีไม่ใช่ • เลน่ ตวงทรายหรอื นำ้� และบอกปรมิ าตรของทราย ปริมาตรของสงิ่ ต่าง ๆ หนว่ ยมาตรฐาน หรือนำ�้ ทตี่ วงได้ อาจเรยี งจากน้อยไป • ร่วมกันคิดสูตรการท�ำอาหารง่าย ๆ โดยตวง มากหรือมากไปนอ้ ย ส่วนประกอบตามทก่ี �ำหนด • การตวงสิ่งต่าง ๆ • สอดแทรกภาษาท่ีเก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ อาจใช้เคร่อื งมือและ ในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น เปรียบเทยี บ เรยี งล�ำดับ หนว่ ยทไ่ี ม่ใช่หนว่ ย เท่ากัน ไม่เท่ากนั มาก น้อย มากกว่า น้อยกวา่ มาตรฐาน มากที่สดุ นอ้ ยทส่ี ุด • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วกบั การตวง ส่ือสารโดยการพูด การวาด การใช้สื่อ หรือ การกระทำ� อธบิ ายและใหเ้ หตผุ ลเกยี่ วกบั การตวง เชอ่ื มโยงการตวง ในการเลน่ หรอื การทำ� กจิ กรรม ต่าง ๆ 39

หัวข้อยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทค่ี วรเรยี นรู้ทางคณติ ศาสตร์ ตวั อย่างแนวการจดั ประสบการณ์ 4) เวลา • เวลาแต่ละวนั แบ่งเป็น อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 2 ช่วงใหญ่ ๆ คือ (4) การบอกกจิ กรรม (4) การบอกกิจกรรม (4) การบอกกจิ กรรม • เลน่ เกมการศกึ ษาเรยี งลำ� ดบั ภาพเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ กลางวันและกลางคนื หรือเหตุการณ์ หรอื เหตุการณ์ หรือเหตุการณ์ ในชว่ งเวลา กลางวนั กลางคนื เชา้ บา่ ย เยน็ หรอื • กอ่ น หลงั เชา้ บา่ ย ท่เี กดิ ขนึ้ ตาม ที่เกิดขึน้ ตาม ทเ่ี กดิ ข้ึนตาม เลา่ กจิ กรรมของตนเองทเ่ี กดิ ขนึ้ ในแตล่ ะวนั ตง้ั แต่ เยน็ เม่อื วานน้ี วนั นี้ ชว่ งเวลา ชว่ งเวลา ชว่ งเวลา เชา้ บา่ ย เช้าถงึ เยน็ พรุ่งนี้ เปน็ ค�ำทใ่ี ช้ กลางวนั -กลางคนื กลางวัน-กลางคนื เยน็ และใช้ค�ำ • วาดภาพและเล่ากิจกรรมท่ีตนเองท�ำเม่ือวานน้ี บอกชว่ งเวลาของ ก่อน-หลงั ก่อน-หลัง เชา้ บ่าย เยน็ วนั นี้ พร่งุ นี้ เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ และใชค้ ำ� และใช้คำ� เพ่ือระบชุ ว่ งเวลา • สอดแทรกภาษาที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ กลางวนั -กลางคนื กลางวนั -กลางคนื ของกิจกรรมหรอื ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ กลางวนั กลางคนื กอ่ น หลงั เพือ่ ระบุชว่ งเวลา กอ่ น-หลัง เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ เชา้ บ่าย เย็น เมื่อวานนี้ วันน้ี พรุ่งนี้ ของกจิ กรรม เพอ่ื ระบลุ �ำดับ (5) การบอกกิจกรรม • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั การบอก หรือเหตกุ ารณ์ ของกจิ กรรมหรือ หรือเหตุการณ์ กิจกรรมหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นตามช่วงเวลา ทเี่ กดิ ข้ึน เหตุการณท์ ี่ ที่เกิดขึน้ วันนี้ หรือวัน ส่ือสารโดยการพูด การวาด การใช้ส่ือ เกดิ ข้นึ เมอื่ วานนี้ พร่งุ น้ี หรือการกระท�ำ อธิบายและให้เหตุผลเกี่ยวกับ (6) การเรยี งลำ� ดบั การบอกกจิ กรรมหรอื เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ตามชว่ ง กิจกรรมหรอื เวลาหรอื วัน เชอื่ มโยงช่วงเวลาในแต่ละวันและ เหตุการณใ์ น ค�ำที่ใช้บอกเก่ียวกับวันในการเล่นหรือการท�ำ ชวี ติ ประจำ� วนั ตาม กจิ กรรมต่าง ๆ ชว่ งเวลา เชา้ บา่ ย เย็น เมื่อวานนี้ วันน้ี พรุ่งน้ี 40

หวั ข้อยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระท่ีควรเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างแนวการจดั ประสบการณ์ 5) เงิน • เงินเหรียญและ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี ธนบัตรเปน็ สิง่ ทใ่ี ช้ (5) การสำ� รวจและ (5) การจำ� แนกและ (7) การจ�ำแนกและ • เล่นเกมจำ� แนกเงนิ เหรยี ญและธนบตั ร หรือเงิน ในการซือ้ ขายสนิ ค้า จำ� แนกเงินออก บอกชนิดของเงนิ บอกชนิดของเงิน เหรียญชนิดต่าง ๆ หรือการบรกิ าร จากสิ่งอ่นื เหรยี ญ 1 บาท เหรียญ 1 บาท • ระบายสลี อกลายเหรยี ญและสงั เกตลกั ษณะ ตวั เลข • ตวั เลขท่ดี ้านหลัง 2 บาท 5 บาท 2 บาท 5 บาท บุคคลหรือสถานทท่ี ่ีแสดงบนเหรียญ เงนิ เหรยี ญ บอกชนดิ 10 บาท 10 บาทและ • เลน่ บทบาทสมมตซิ อ้ื ขายสนิ คา้ ในมมุ ประสบการณ์ และค่าของเงนิ เหรียญ ธนบัตรฉบบั ละ และสถานการณ์จำ� ลอง แต่ละเหรียญ 20 บาท • สอดแทรกภาษาที่เก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ • ตัวเลขทอี่ ยู่บนธนบัตร (8) การบอกคา่ ของ ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ เงนิ เหรยี ญแบงค์ธนบตั รบาท บอกชนดิ ของธนบตั ร เงนิ เหรยี ญ 1 บาท • แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ แตล่ ะฉบับ 2 บาท 5 บาท การจ�ำแนกและบอกชนิดของเงิน ส่ือสารโดย • บาท เป็นหนว่ ยของ และ 10 บาท การพูด การวาด การใช้สื่อ หรือการกระท�ำ เงินไทย อธิบายและให้เหตุผลเก่ียวกับการจ�ำแนกและ บอกชนดิ ของเงนิ เชอ่ื มโยงการจำ� แนกและบอก ชนดิ ของเงนิ ในการเลน่ หรอื การทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ 41

หวั ข้อยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระที่ควรเรยี นรทู้ างคณติ ศาสตร์ ตัวอยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 6) ตำ� แหนง่ ทศิ ทาง • ขา้ งบน ข้างลา่ ง (6) การบอกตำ� แหนง่ (6) การบอกตำ� แหนง่ (9) การบอกต�ำแหนง่ • สังเกตสิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั ท่อี ยู่ในห้องเรียน หรอื และระยะทาง ข้างใต้ ข้างใน ของสิง่ ตา่ ง ๆ ของสิ่งต่าง ๆ ทิศทาง และ ในสนามเดก็ เลน่ และสนทนาถงึ ตำ� แหน่ง ขา้ งนอก ข้าง ๆ โดยใช้ค�ำ โดยใชค้ ำ� ระยะทางของ • บอกตำ� แหนง่ ของสงิ่ ของ หรอื หยบิ สงิ่ ของไปวาง ข้างหนา้ ข้างหลงั ข้างบน ข้างล่าง ขา้ งบน ข้างลา่ ง สิ่งต่าง ๆ โดยใชค้ �ำ ตามตำ� แหนง่ ทีค่ รหู รือเพือ่ นบอก ระหว่าง ขา้ งซา้ ย ข้างใต้ ข้างใน ขา้ งใต้ ข้างใน ข้างบน ข้างล่าง • วาดภาพโดยก�ำหนดส่ิงของในต�ำแหน่งต่าง ๆ ขา้ งขวา ใกล้ ไกล ขา้ งนอก ขา้ ง ๆ ข้างนอก ขา้ ง ๆ ขา้ งใต้ ข้างใน ตามทต่ี อ้ งการ เปน็ คำ� ท่ใี ช้บอก ข้างหนา้ ข้างหลัง ขา้ งนอก ข้าง ๆ • เล่นเกมนักสืบค้นหาสิ่งของต่าง ๆ ท่ีถูกซ่อนไว้ ตำ� แหนง่ ทศิ ทาง และแสดงสงิ่ ตา่ ง ๆ ขา้ งหน้า ข้างหลงั ในตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ หรอื เลน่ เกมเขาวงกตเพอ่ื เดนิ และระยะทางของ ตามต�ำแหนง่ ระหวา่ ง ข้างซา้ ย ตามเสน้ ทางไปส่จู ุดหมายทก่ี ำ� หนด สงิ่ ตา่ ง ๆ ทีก่ �ำหนด ข้างขวา ใกล้ ไกล • เคลื่อนไหวร่างกายสมมติเป็นกระต่ายกระโดด และแสดงสง่ิ ตา่ ง ๆ เขา้ ขา้ งใน-ขา้ งนอกโพรง ตามต�ำแหน่ง • สอดแทรกภาษาท่ีเก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ ทิศทาง และ ในชวี ิตประจำ� วนั เช่น ที่ไหน ขา้ งไหน ขา้ งบน ระยะทางทก่ี ำ� หนด ขา้ งลา่ ง ขา้ งหนา้ ขา้ งหลงั ระหวา่ ง ใกล้ ไกล ขา้ ง ๆ • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วกบั ตำ� แหนง่ ทศิ ทาง ระยะทาง ส่อื สารโดยการพูด การวาด การใชส้ อื่ หรอื การกระทำ� อธบิ ายและใหเ้ หตผุ ล เก่ียวกับต�ำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง เช่ือมโยง ตำ� แหนง่ ทศิ ทาง ระยะทาง ในการเลน่ หรอื การทำ� กจิ กรรมต่าง ๆ 42

หัวขอ้ ย่อย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระท่ีควรเรยี นรทู้ างคณิตศาสตร์ ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 7) รปู เรขาคณิต • การจำ� แนกทรงกลม (7) การจำ� แนก (7) การจ�ำแนก (10) การจ�ำแนก • จดั ประสบการณผ์ า่ นสอ่ื ของจรงิ ก่อนรปู ภาพ สามมติ ิ และ ทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรง ทรงกลม ทรงกลม • เลน่ ตอ่ บลอ็ กรปู ทรงตา่ ง ๆ ตามจนิ ตนาการและ รูปเรขาคณติ ทรงกระบอก และ ส่เี หลย่ี มมมุ ฉาก ทรงส่ีเหล่ียม ทรงสีเ่ หล่ยี ม ความคดิ สรา้ งสรรค์ สนทนาถงึ รปู ทรงของบลอ็ กทใ่ี ช้ สองมิติ กรวย ใช้วธิ พี จิ ารณา มมุ ฉาก มุมฉาก • เลน่ เกมคน้ หาสง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั ทเ่ี หมอื นหรอื คลา้ ย รูปรา่ ง ทรงกระบอก ทรงกระบอก รปู เรขาคณติ และกรวย และกรวย • ปน้ั แปง้ โด/ดนิ น�้ำมนั เปน็ รปู ทรงต่าง ๆ • การจำ� แนกวงกลม (8) การระบุสิ่งต่าง ๆ (8) การระบสุ งิ่ ตา่ ง ๆ (11) การระบสุ งิ่ ตา่ ง ๆ • ประดษิ ฐช์ น้ิ งานโดยใชร้ ปู ทรง รปู รา่ งของสง่ิ ตา่ ง ๆ รูปส่ีเหล่ยี ม ในชีวิตประจ�ำวัน ในชีวิตประจำ� วนั ในชวี ิตประจ�ำวัน รอบตวั มาประกอบกัน รูปสามเหลีย่ ม ทเ่ี หมอื นหรอื คลา้ ย ทเ่ี หมอื นหรอื คลา้ ย ท่เี หมอื นหรอื • เคลอื่ นไหวรา่ งกายเดนิ ตามเสน้ เชอื กรปู รา่ งตา่ ง ๆ ใช้วธิ ีพจิ ารณารูปร่าง ทรงกลม ทรงกลม คลา้ ยทรงกลม • สังเกตรูปเรขาคณิตที่พบในส่วนประกอบของ และขอบของรปู ทรงส่ีเหลย่ี ม- ทรงสเ่ี หลยี่ ม- ทรงสีเ่ หล่ยี ม- สิ่งต่าง ๆ โดยการน�ำสิ่งของมาพิมพ์ภาพ เช่น มมุ ฉาก มุมฉาก มุมฉาก แก้วน�้ำ ฝาขวดน้�ำ กล่องนม โคนไอศกรีม ทรงกระบอก ทรงกระบอก • สอดแทรกภาษาที่เก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ และกรวย และกรวย ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ ทรงกลม ทรงสเี่ หลยี่ มมมุ ฉาก (12) การจำ� แนก ทรงกระบอก กรวย วงกลม รูปสี่เหล่ียม วงกลม รูปสามเหล่ยี ม รปู สเ่ี หลย่ี ม • แก้ปัญหาในสถานการ์ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับรูป รปู สามเหลีย่ ม เรขาคณติ สอื่ สารโดยการพดู การวาด การใชส้ อ่ื (13) การระบสุ งิ่ ตา่ ง ๆ หรือการกระท�ำ อธิบายและให้เหตุผลเก่ียวกับ ในชวี ติ ประจ�ำวัน รปู เรขาคณิต เช่ือมโยงรปู เรขาคณติ ในการเล่น ทเ่ี หมอื นหรอื หรือการทำ� กิจกรรมต่าง ๆ คล้าย วงกลม รูปสเี่ หลี่ยม รูปสามเหลีย่ ม 43

หัวข้อย่อย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระท่คี วรเรยี นรู้ทางคณิตศาสตร์ ตัวอยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • สนทนาถงึ ผลไมท้ เี่ ดก็ ๆ ชอบรบั ประทานมากทส่ี ดุ 2.3 สถติ แิ ละ • ขอ้ มลู หมายถงึ (1) การมสี ว่ นรว่ ม (1) การมีสว่ นร่วม (1) การมสี ว่ นรว่ ม โดยติดสตกิ เกอร์บนแผนภูมริ ปู ภาพ ความน่าจะเป็น ข้อเท็จจริงของสงิ่ ที่ ในการให้ข้อมูล ในการใหข้ อ้ มลู และ ในการใหข้ ้อมลู • อา่ นแผนภมู ริ ปู ภาพผลไมท้ เ่ี ดก็ ๆ ชอบรบั ประทาน 1) การเกบ็ รวบรวม สนใจ ซง่ึ ไดจ้ าก จัดกระท�ำกับ จัดกระท�ำ และ ข้อมูล และ การเกบ็ รวบรวม ข้อมูล นำ� เสนอขอ้ มูล มากท่ีสุด และสนทนาถึงจ�ำนวนเด็กที่ชอบ การน�ำเสนอ อาจเปน็ ไดท้ ้ังภาพ ในรูปแผนภูมิ รับประทานผลไมแ้ ตล่ ะชนดิ ข้อมลู สัญลกั ษณ์ ข้อความ อย่างงา่ ย • เปรยี บเทยี บจำ� นวน และเรยี งลำ� ดบั ผลไมท้ เ่ี ดก็ ๆ และตวั เลข (2) การสนทนา ชอบรบั ประทานมากทส่ี ุดจากแผนภมู ริ ูปภาพ • แผนภูมอิ ยา่ งงา่ ย เกย่ี วกับขอ้ มูล • กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตง้ั คำ� ถามและตอบคำ� ถาม รวบรวม เปน็ การนำ� เสนอ ในแผนภูมิ จดั ประเภท นบั นำ� เสนอ และสนทนาเกยี่ วกบั ขอ้ มลู ขอ้ มลู อยา่ งง่าย อยา่ งงา่ ย • กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตคี วามและคาดคะเนผลทจ่ี ะตามมา โดยใชส้ ิ่งของ รปู ภาพ จากขอ้ มลู ท่ีได้ หรอื สญั ลักษณ์แสดง • สอดแทรกภาษาท่ีเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ จ�ำนวนของสง่ิ ต่าง ๆ ในชวี ิตประจ�ำวนั เช่น เหมอื นกัน ไม่เหมือนกนั อาจวางตามแนวนอน เทา่ ไร เทา่ กนั ไมเ่ ทา่ กนั มากกวา่ นอ้ ยกวา่ มากทสี่ ดุ หรอื แนวต้งั กไ็ ด้ น้อยทส่ี ุด • แกป้ ญั หาในสถานการต์ า่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วกบั การนำ� เสนอ ขอ้ มลู ในรปู แผนภมู อิ ยา่ งงา่ ย สอื่ สารโดยการพดู การวาด การใชส้ ื่อ หรือการกระทำ� อธบิ ายและ ใหเ้ หตผุ ลเกยี่ วกบั ขอ้ มลู เชอื่ มโยงการเกบ็ รวบรวม ข้อมูล และการน�ำเสนอข้อมูลในการเล่นหรือ การท�ำกจิ กรรมตา่ ง ๆ 44

สว่ นท่ี 2 ธรรมชาตกิ ารเรยี นรู้ของเดก็ ปฐมวัยกับการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ความร้เู บอื้ งตน้ ส�ำหรบั ครใู นการจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ ูรณาการ เด็กปฐมวัยมีความสนใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัว มีค�ำถามเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมหรือ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่พบ อยากค้นหาค�ำตอบในส่ิงที่สงสัย หาเหตุผลและค�ำอธิบาย วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ เกี่ยวกับส่ิงทสี่ งสัย ชอบการเล่นเกมท่ีทา้ ทายการคดิ และการแกป้ ัญหา มีความตอ้ งการ คณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวัย ทจ่ี ะรว่ มทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ กบั ผใู้ หญห่ รอื ลงมอื ทำ� ดว้ ยตนเอง มคี วามสามารถ ในการนำ� สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั มาประดษิ ฐส์ รา้ งสรรคเ์ ปน็ ผลงานตามจนิ ตนาการ ชอบหยบิ จบั สงิ่ ของ 45 เคร่ืองใช้ต่าง ๆ และสามารถเรยี นรกู้ ารใชง้ านสิง่ เหล่าน้ันได้อยา่ งรวดเร็ว การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์เป็นการตอบสนองต่อ ธรรมชาตกิ ารเรยี นรขู้ องเดก็ ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ไดพ้ ฒั นาทกั ษะในการเรยี นรดู้ ว้ ยการสบื เสาะ หาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ พัฒนาความสามารถในการคิดรวบยอดเพื่อ ทำ� ความเขา้ ใจกบั ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ รอบตวั ซง่ึ สามารถนำ� ไปใชใ้ นการดำ� รงชวี ติ รวมถงึ พฒั นาใหเ้ ดก็ มเี จตคตทิ สี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เชน่ เปน็ คนชา่ งสงั เกต รจู้ กั คดิ อยา่ งมเี หตผุ ล ถ่ายทอดความคดิ อย่างเป็นระบบ ครูจึงควรตอบสนองตอ่ ธรรมชาติการเรยี นรขู้ องเด็ก ดว้ ยการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละคณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวยั อยา่ งเหมาะสม ดว้ ยการปพู นื้ ฐานใหเ้ ดก็ มที กั ษะการคดิ และการแกป้ ญั หา มกี ระบวนการเรยี นรู้ และมเี จตคตทิ เ่ี หมาะสมตอ่ การเรยี นรผู้ า่ นการเลน่ และการลงมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละคณติ ศาสตรท์ เ่ี หมาะสมกบั พฒั นาการตามวยั และศกั ยภาพในการเรยี นรขู้ องเดก็ เพอื่ เปน็ การปพู น้ื ฐานการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ในระดบั ตอ่ ไป

ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเป้าหมายในการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ แนวคดิ กฎ หลกั การ หรอื ทฤษฎี รวมถงึ แบบจำ� ลองทใ่ี ช้อธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ วิทยาศาสตร์เป็นความพยายามของมนุษย์ในการศึกษา ท�ำความเข้าใจ และ ซ่ึงผลจากการสืบเสาะหาความรู้น้ีอาจน�ำไปสู่การเกิดค�ำถามใหม่และการสืบเสาะ สรา้ งคำ� อธบิ ายเกย่ี วกบั ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ โดยอา้ งองิ หลกั ฐานทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตหรอื หาความรู้ต่อไป ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์นั้นเปลี่ยนแปลงไดเ้ มือ่ มีข้อคน้ พบใหมเ่ กดิ ข้ึน ทดลอง ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรน์ นั้ สามารถเปลยี่ นแปลงไดเ้ มอ่ื มขี อ้ มลู หลกั ฐานเพม่ิ ขนึ้ ทั้งนี้การท�ำงานของนักวิทยาศาสตร์ไม่ได้มีล�ำดับข้ันตอนที่แน่นอนโดยขั้นตอนท้ังหมด ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรบ์ างสว่ นไดม้ าจากการลงความเหน็ จากขอ้ มลู บางสว่ นไดม้ าจาก สามารถยอ้ นกลบั ไปมาไดแ้ ละอาศยั ทกั ษะหรอื ความสามารถตา่ ง ๆ มาชว่ ยในการทำ� งาน จนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ โดยนกั วทิ ยาศาสตรใ์ ชก้ ารสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry) เชน่ ทกั ษะการคิด ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การตง้ั ค�ำถาม การวางแผน ซงึ่ ตอ้ งอาศยั ทกั ษะหรอื ความสามารถตา่ ง ๆ ในการลงมอื ทำ� การศกึ ษาเกย่ี วกบั ปรากฏการณ์ และการรวบรวมขอ้ มลู โดยวธิ ีการตา่ ง ๆ การอธบิ ายหรอื สื่อสารอย่างมีเหตผุ ล รวมถึง เหลา่ นั้นอยา่ งเป็นกระบวนการ และใช้เจตคติทางวิทยาศาสตร์ (Scientific attitude) การนำ� เครอื่ งมอื และอปุ กรณท์ างเทคโนโลยมี าใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มลู และการใชท้ กั ษะและ หรอื จติ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific mind) เชน่ ความสงสยั ใครร่ ู้ การชา่ งสงั เกต ความอดทน ความรูท้ างคณิตศาสตรใ์ นการเก็บขอ้ มลู และวิเคราะห์ข้อมูล เพยี รพยายาม จนิ ตนาการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความมีเหตุผล การเปดิ ใจกว้างรับฟัง การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรจ์ งึ มเี ปา้ หมายเพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดส้ รา้ งองคค์ วามรหู้ รอื ความคิดเห็น และความมีจริยธรรมในการท�ำงาน เพ่ือส่งเสริมการสืบเสาะหาความรู้ ความคดิ รวบยอดทางวทิ ยาศาสตรไ์ ปพรอ้ ม ๆ กบั การพฒั นาทกั ษะหรอื ความสามารถตา่ ง ๆ ใหป้ ระสบความสำ� เร็จ ทใ่ี ชใ้ นการสบื เสาะหาความรแู้ ละเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตรห์ รอื จติ วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื นำ� ไปใช้ การสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific inquiry) เปน็ กระบวนการ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คมและการดำ� รงชวี ติ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ทน่ี กั วทิ ยาศาสตรก์ ำ� หนดปญั หาขอ้ สงสยั หรอื คำ� ถามทเ่ี กดิ จากการสงั เกตสงิ่ ตา่ ง ๆ หรอื สง่ิ ท่ี จึงควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ท�ำกิจกรรมเช่นเดียวกับนักวิทยาศาสตร์ด้วยการสืบเสาะ ต้องการรู้ วางแผนและทำ� การรวบรวมขอ้ มลู โดยใช้กระบวนการตา่ ง ๆ เชน่ การสังเกต หาความรู้ การส�ำรวจ การทดลอง การสืบคน้ การบนั ทึก จากนั้นจึงจัดกระท�ำและวิเคราะห์ข้อมลู ลงความคิดเหน็ สร้างค�ำอธิบายเพอ่ื ตอบคำ� ถามหรือขอ้ สงสัย นกั วทิ ยาศาสตร์จะมกี าร พิจารณาเช่ือมโยงค�ำอธิบายของตนเองกับค�ำอธิบายหรือ ผลการศึกษาค้นคว้าของ นักวิทยาศาสตร์คนอื่น ๆ เพื่อตรวจสอบความน่าเชื่อถือของค�ำอธิบายที่ตนสร้างขึ้น แล้วน�ำเสนอเผยแพร่ผลการศึกษา โดยอ้างอิงข้อมูลและหลักฐานจากการศึกษาและ เปิดให้มีการอภิปรายถกเถียงกันอย่างมีเหตุผล ผลท่ีได้จากการสืบเสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์คือ ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในรูปของข้อเท็จจริง 46

ธรรมชาติของเทคโนโลยีและเป้าหมายในการเรียนรู้เทคโนโลยี เทคโนโลยเี ปน็ สงิ่ ทม่ี นษุ ยส์ รา้ งหรอื พฒั นาขนึ้ ซงึ่ เปน็ ไดท้ งั้ สงิ่ ของทจ่ี บั ตอ้ งได้ หรอื สงิ่ ทจี่ บั ตอ้ งไมไ่ ด้ โดยอาจเปน็ วธิ กี ารหรอื กระบวนการ เพอ่ื อำ� นวยความสะดวก ในชวี ติ หรอื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของมนษุ ยใ์ หด้ ขี นึ้ รวมถงึ การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ ม และใช้ทรัพยากรเพ่ือให้ชีวิตดีขึ้น ช่วยแก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิ่ม ความสามารถในการทำ� งานของมนษุ ย์ ปจั จบุ นั เทคโนโลยรี อบตวั เรามกี ารเปลยี่ นแปลง อยตู่ ลอดเวลา ขน้ึ อยกู่ บั สาเหตหุ รอื ปจั จยั ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ปญั หาหรอื ความตอ้ งการของมนษุ ย์ หรอื เกดิ จากปจั จยั อน่ื ๆ เชน่ สภาพเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และสง่ิ แวดลอ้ ม จงึ ทำ� ให้ เกิดการคดิ ค้นเทคโนโลยแี ละเกดิ เป็นเทคโนโลยใี นรูปแบบต่าง ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกับ ปัญหาหรือความต้องการ การจัดการเรียนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีจึงควรมุ่งเน้นที่การลงมือปฏิบัติ พัฒนาการคิด ทักษะการแกป้ ัญหามากกว่าเรียนรู้เพื่อเป็นผใู้ ชง้ าน ซง่ึ ทกั ษะและ กระบวนการสำ� คญั ของการสรา้ งเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ การคดิ สรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมี วจิ ารณญาณ การทำ� งานรว่ มกนั และการสอื่ สาร กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม และการคดิ เชิงคำ� นวณ 47

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (Engineering design process) • ระบปุ ญั หา (Identify problem) เปน็ การคน้ หาสาเหตขุ องปญั หา เป็นหนึ่งในกระบวนการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ซ่ึงประกอบด้วยขั้นตอนที่ส�ำคัญ หรือความไมส่ ะดวกสบาย จ�ำเปน็ ตอ้ งแกป้ ัญหา ดังแสดงในแผนภาพท่ี 2 • รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ เพอื่ สรรหาวธิ กี ารทเ่ี ปน็ ไปได้ (Gather possible solutions) เป็นการคิด ค้นหา และรวบรวมแนวคิดต่าง ๆ เพื่อแก้ แผนภาพท่ี 2 กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ปัญหา อาจทำ� ไดจ้ ากการสบื คน้ สบื เสาะ ระดมความคดิ เสวนา สมั มนา หรอื อน่ื ๆ เพอ่ื นำ� ขอ้ มลู มาประมวลและวิเคราะห์หาวิธีที่เป็นไปได้ให้ได้มากท่ีสุดท่ีน่าจะสามารถน�ำไป แก้ปัญหาได้ • เลอื กและออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา (Select and design solution) เปน็ การวเิ คราะห์ และประเมนิ วธิ ตี า่ ง ๆ ทเี่ ปน็ ไปไดแ้ ลว้ ตดั สนิ ใจเลอื กวธิ ที ดี่ ที ส่ี ดุ ทอี่ าจ แก้ปญั หาไดต้ ามเง่อื นไขท่กี �ำหนดแลว้ ออกแบบตามวิธีที่เลอื ก • ด�ำเนินการแก้ปัญหาเพื่อสร้างต้นแบบ (Create prototype) เป็นการวางแผนการด�ำเนินการอย่างเป็นล�ำดับขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนส้ินสุด กระบวนการตามวิธีท่ีออกแบบ แล้วลงมือแก้ปัญหาตามที่วางแผนไว้ จนได้ต้นแบบ (Prototype) ซ่งึ อาจเป็นวิธกี ารหรือชน้ิ งานก็ได้ • ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ แกไ้ ขตน้ แบบ (Test, evaluate and redesign prototype) เป็นการทดสอบและประเมนิ การท�ำงานของต้นแบบ ซึ่งอาจเป็นวิธีการหรือชิ้นงานโดยผลท่ีได้อาจน�ำมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา ตน้ แบบใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ • น�ำเสนอต้นแบบ วิธีการและผลการแก้ปัญหา (Communicate solutions and prototype) เป็นการน�ำเสนอตน้ แบบ พร้อมทงั้ ผลการทดสอบและ ประเมนิ การทำ� งานของชิน้ งานหรอื วิธกี าร โดยผลที่ได้อาจนำ� มาใชใ้ นการปรบั ปรงุ และ พฒั นาการแกป้ ญั หาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ พรอ้ มทงั้ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผเู้ กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื นำ� มาปรับตน้ แบบหรือการท�ำงานในครง้ั ถัดไป ทั้งน้ีในการแก้ปญั หาตามกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมนั้น ไมไ่ ด้มีลำ� ดบั ขนั้ ตอนทตี่ ายตวั โดยขนั้ ตอนทงั้ หมดสามารถยอ้ นกลบั ไปมาได้ ซง่ึ กระบวนการแกป้ ญั หา สามารถเกดิ ซำ�้ (Iterate) ในบางขน้ั ตอนหากตอ้ งการพฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ้ โดยอาจ ปรบั ขน้ั ตอนให้เหมาะสมกบั ความสามารถตามวยั ของเด็ก 48

การคิดเชิงค�ำนวณ (Computational thinking) เป็นกระบวนการ • การแบง่ ปญั หาใหญอ่ อกเปน็ ปญั หา/งานยอ่ ย (Decomposition) ในการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลเป็นข้ันตอน เพ่ือหาวิธีการแก้ปัญหา เปน็ การพจิ ารณาและแบง่ ปญั หา/งาน/สว่ นประกอบออกเปน็ สว่ นยอ่ ย เพอ่ื ใหจ้ ดั การกบั ในรปู แบบทสี่ ามารถนำ� ไปประมวลผลไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การคดิ เชงิ คำ� นวณนยี้ งั เปน็ ปญั หาไดง้ ่ายขึ้น พน้ื ฐานส�ำคญั ของความสามารถในการเขยี นโปรแกรมหรือ โค้ดด้งิ (Coding) ซ่ึงเปน็ • การพิจารณารูปแบบของปัญหาหรือวิธีการแก้ปัญหา (Pattern ภาษาท่ีใช้สื่อสารระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์โดยการสร้างล�ำดับของค�ำสั่งให้ recognition) เป็นการพิจารณารูปแบบ แนวโน้มและลักษณะทั่วไปของข้อมูล คอมพิวเตอร์ท�ำงาน ช่วยให้มนุษย์ส่ือสารวิธีการแก้ปัญหาออกมาอย่างมีตรรกะ โดยพจิ ารณาวา่ เคยพบปญั หาลกั ษณะนม้ี ากอ่ นหรอื ไม่ หากมรี ปู แบบของปญั หาทคี่ ลา้ ยกนั มีโครงสร้างและเป็นระบบ การคิดเชิงค�ำนวณมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญดังแสดงใน สามารถน�ำวิธีการแก้ปัญหานั้นมาประยุกต์ใช้และพิจารณารูปแบบปัญหาย่อยซ่ึงอยู่ แผนภาพที่ 3 ภายในปัญหาเดียวกัน ว่ามีส่วนใดท่ีเหมือนกัน เพื่อใช้วิธีการแก้ปัญหาเดียวกันได้ ทำ� ให้จดั การกับปญั หาไดง้ ่ายข้ึน และทำ� งานอย่างมปี ระสิทธภิ าพเพ่ิมข้นึ • การพจิ ารณาสาระสำ� คญั ของปญั หา (Abstraction) เปน็ การพจิ ารณา รายละเอียดทสี่ ำ� คญั ของปัญหาแยกแยะสาระสำ� คัญออกจากส่วนท่ไี ม่ส�ำคญั • การออกแบบอัลกอริทึม (Algorithms) เป็นการก�ำหนดข้ันตอน ในการแกป้ ญั หาหรอื การทำ� งานโดยมลี ำ� ดบั ของคำ� สง่ั หรอื วธิ กี ารทช่ี ดั เจน ทค่ี อมพวิ เตอร์ สามารถปฏิบัติตามได้ แผนภาพที่ 3 องคป์ ระกอบของการคิดเชิงคำ� นวณ การเรียนรู้เทคโนโลยีจึงมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความ สามารถในการเปน็ ผอู้ อกแบบและสรา้ งเทคโนโลยี โดยใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะเพอื่ แกป้ ญั หา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่มี การบูรณาการกับสาระอ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์อย่างเหมาะสม รจู้ กั การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งประหยดั และปลอดภยั คำ� นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และ สงิ่ แวดลอ้ ม และใชก้ ารคิดเชิงคำ� นวณในการคิด วิเคราะห์ แกป้ ัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และเปน็ ระบบ มีทกั ษะในการค้นหาข้อมลู หรือสารสนเทศ ประเมิน จดั การ วิเคราะห์ สงั เคราะหแ์ ละนำ� สารสนเทศไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา สามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรดู้ า้ นวทิ ยาการ คอมพิวเตอร์ สอื่ ดิจิทัล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาในชีวติ จริง การท�ำงานรว่ มกันอยา่ งสรา้ งสรรค์เพอื่ ประโยชน์ตอ่ ตนเองหรือสงั คม ตลอดจนใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารอยา่ งปลอดภยั รูเ้ ทา่ ทัน มคี วามรับผดิ ชอบ และ มีจรยิ ธรรม 49

ธรรมชาติของคณติ ศาสตรแ์ ละเป้าหมายในการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ การเรียนรู้คณิตศาสตร์จึงมีเป้าหมายเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิด คณิตศาสตร์เป็นการศึกษาท�ำความเข้าใจเพ่ืออธิบายและแก้ปัญหาเก่ียวกับ รวบยอดทางคณติ ศาสตร์ ความรสู้ กึ เชงิ จำ� นวนควบคไู่ ปกบั การพฒั นาทกั ษะและกระบวนการ โครงสร้าง (Structure) ล�ำดบั (Order) และความสัมพันธ์ (Relation) ของสิง่ ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติกับส่ือที่เป็นรูปธรรมและ ในเชิงจ�ำนวน แบบรูป การวัด เรขาคณิต และการวิเคราะหข์ ้อมลู เชงิ ปรมิ าณ โดยใช้ การแก้ปัญหาในสถานการณต์ า่ ง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมคี วามคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์ คดิ อย่างมี ทักษะและกระบวนในการแกป้ ัญหา การส่ือสารและการสือ่ ความหมาย การเช่ือมโยง เหตุผล เป็นระบบ สามารถประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาและใช้ใน การใหเ้ หตผุ ล และการคดิ สรา้ งสรรค์ ธรรมชาตขิ องคณติ ศาสตรม์ ลี กั ษณะเปน็ นามธรรม ชีวิตประจ�ำวันได้ มคี วามถกู ตอ้ งเทยี่ งตรง คงเสน้ คงวา มรี ะเบยี บแบบแผน เปน็ เหตเุ ปน็ ผล และมคี วามสมบรู ณ์ ในตวั เอง เปน็ ภาษาสากลทท่ี กุ คนเขา้ ใจตรงกนั ในการสอ่ื สาร สอื่ ความหมายและถา่ ยทอด ความรรู้ ะหวา่ งศาสตรต์ า่ ง ๆ เปน็ ทงั้ ศาสตรแ์ ละศลิ ปท์ เ่ี กยี่ วกบั แบบรปู และความสมั พนั ธ์ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ และนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ความรเู้ ชงิ คณติ ศาสตรม์ ลี กั ษณะเหมอื นบนั ไดเวยี น มคี วามตอ่ เนอ่ื งกนั มลี ำ� ดบั ความยากงา่ ยทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นรขู้ นั้ ตอ่ ๆ ไป ซงึ่ ผเู้ รยี น จะต้องมพี ้นื ฐานทีเ่ พยี งพอส�ำหรบั การเรยี นรใู้ นเรอ่ื งน้ัน คณติ ศาสตรช์ ว่ ยใหม้ นษุ ยม์ คี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ คดิ อยา่ งมเี หตผุ ล เปน็ ระบบ มแี บบแผน สามารถวเิ คราะหป์ ญั หาหรอื สถานการณไ์ ดอ้ ยา่ งรอบคอบและถถ่ี ว้ น ชว่ ยให้ คาดการณ์ วางแผน ตดั สินใจ แก้ปญั หาได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม และสามารถน�ำไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือ ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตรอ์ ่ืน ๆ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถท่ีจะน�ำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซ่ึงความรู้และน�ำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ใน การแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยในชวี ติ ประจำ� วนั ดว้ ยตนเอง การใหเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจและ สรุปผลในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์อย่างง่าย ๆ การใชภาษาและสัญลักษณ ทางคณติ ศาสตรใ นการสอ่ื สาร การสอ่ื ความหมาย และการนาํ เสนอเพอื่ ถา่ ยทอดความคดิ ทางคณติ ศาสตรข์ องตนเองใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ การเชอ่ื มโยงความรทู้ างคณติ ศาสตร์ ไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันและเช่ือมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ในการเรียนรู้เรื่องอื่น ๆ รวมไปถึงการคิดสร้างสรรค์ในการขยายแนวคิดหรือสร้างแนวคิดใหม่เพ่ือปรับปรุง พฒั นาความรู้ 50

ความสัมพันธ์ของวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ เชื่อถอื ได้ ซง่ึ ในทางกลบั กนั ความตอ้ งการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ก็สามารถผลกั ดนั ให้ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ มจี ดุ ประสงคห์ รอื เปา้ หมายแตกตา่ งกนั เกิดการศกึ ษาค้นคว้าวจิ ยั ทางวิทยาศาสตรม์ ากขน้ึ เพ่ือให้ไดอ้ งคค์ วามร้ใู หมท่ ่จี ะนํามา คอื วทิ ยาศาสตรม์ เี ปา้ หมายเพอ่ื ทาํ ความเขา้ ใจและสรา้ งคาํ อธบิ ายเกยี่ วกบั ปรากฏการณ์ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา ทางธรรมชาติผ่านการสืบเสาะหาความรู้ เทคโนโลยีมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาหรือ คณิตศาสตร์ช่วยส่งเสริมให้การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมี สนองความต้องการของมนุษย์ผ่านกระบวนการออกแบบเพื่อแก้ปัญหา คณิตศาสตร์ ความเจริญก้าวหน้า จากความต้องการของนักวิทยาศาสตร์ท่ีจะศึกษาปรากฏการณ์ มเี ปา้ หมายเพอื่ ศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจ อธบิ ายและแกป้ ญั หาเกยี่ วกบั โครงสรา้ ง ลำ� ดบั และ ทางธรรมชาตินําไปสู่การพัฒนาอุปกรณ์และเคร่ืองมือทางเทคโนโลยีเพื่อช่วยใน ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ในเชงิ จ�ำนวน แบบรปู การวัด เรขาคณิต และการวิเคราะห์ การเก็บรวบรวมข้อมูล และมีการพัฒนาทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ใหม่ ๆ เพื่อใช้อธิบาย ขอ้ มลู ผา่ นทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ แตท่ งั้ สามสาระตา่ งมคี วามเกยี่ วขอ้ ง ความสัมพนั ธข์ องข้อมูล แลว้ ทาํ ใหเ้ กิดความรทู้ างวิทยาศาสตรใ์ หม่ ๆ ซงึ่ สามารถนําไป สัมพันธ์กันอย่างลกึ ซง้ึ ดงั ตวั อย่างต่อไปน้ี ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการแกป้ ญั หาหรอื สนองความตอ้ งการทางเทคโนโลยี หรอื สรา้ งเครอ่ื งมอื การสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ นกั วทิ ยาศาสตรจ์ าํ เปน็ ตอ้ งอาศยั อปุ กรณ์ เพื่อใช้ในการศึกษาทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรต์ อ่ ไป เครื่องมอื ทางวิทยาศาสตร์ซงึ่ เปน็ ผลผลติ ของเทคโนโลยีมาช่วยในการสํารวจตรวจสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์จึงสามารถ และเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น ไม้บรรทัด หลอดทดลอง เคร่ืองชั่ง กล้องจุลทรรศน์ สรปุ ได้ดงั แผนภาพท่ี 4 กล้องโทรทัศน์ และอาศัยความร้แู ละทกั ษะทางคณิตศาสตรเ์ พอ่ื เกบ็ รวบรวม วิเคราะห์ และน�ำเสนอข้อมลู เช่น การชง่ั ตวง วดั การคํานวณ การหาแบบรูปและความสมั พนั ธ์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ของข้อมูลในเชิงสมการความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ค่าสถิติต่าง ๆ การสร้างแผนภูมิ คณติ ศาสตร์ ซึ่งในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีเป็นผลผลิตของ เทคโนโลยีเพื่อชว่ ยในการคาํ นวณและวเิ คราะห์ค่าทางสถิติตา่ ง ๆ ได้ แผนภาพที่ 4 ความสมั พันธร์ ะหว่างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ การสร้างเทคโนโลยีต้องอาศัยข้อมูล ความรู้และทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์มาใช้ในหลายข้ันตอน เช่น การรวบรวมข้อมูลความรู้ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ประกอบกบั ขอ้ มูลดา้ นอน่ื ๆ เพ่อื ใชใ้ นการเลือกและ ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา นอกจากนี้ยังต้องอาศัยทักษะทางคณิตศาสตร์ เช่น การคํานวณและการวัด หรือใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาช่วยในการออกแบบ ผลติ ภณั ฑ์ และในการทดสอบผลติ ภัณฑต์ อ้ งอาศัยทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การตง้ั คำ� ถาม การวางแผน การออกแบบและทาํ การทดลอง การจดั กระทาํ กับขอ้ มูล และการลงความเหน็ หรอื ลงขอ้ สรุป เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่เี ทย่ี งตรงและ 51

การสง่ เสรมิ การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย หลักการเบือ้ งตน้ ในการส่งเสรมิ การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ • ใชส้ ง่ิ ทอี่ ยรู่ อบตวั เดก็ เปน็ สอ่ื ในการเรยี นรแู้ ละจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ในระดับปฐมวัย ตอ่ การเรียนรู้ เด็กสามารถเรียนรู้และพัฒนาเจตคติและทักษะหรือความสามารถ รวมถึง • ยึดเด็กเป็นส�ำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยครูเป็น ความคดิ รวบยอดทเี่ ปน็ พน้ื ฐานของการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ผอู้ ำ� นวยความสะดวกในการเรยี นรู้ (Facilitator) และคำ� นงึ ถงึ ความสนใจและพฒั นาการ ไดต้ ง้ั แตใ่ นระดบั ปฐมวยั การสง่ เสรมิ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ตามวัยของเดก็ ในระดบั ปฐมวยั ควรยึดหลักการเบ้ืองตน้ ดังต่อไปน้ี • ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ ละสรา้ งความคดิ รวบยอดทเ่ี ปน็ • มงุ่ เนน้ การพฒั นาเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ การเรยี นรแู้ ละทกั ษะหรอื ความสามารถ พ้ืนฐานของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในเรื่องที่เด็กสนใจ ที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้และการแก้ปัญหาด้านวิทยาศาสตร์ ตามบรบิ ทรอบตวั ของเดก็ ผา่ นการลงมอื ปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ นน้ การพยายามใหเ้ ดก็ ทำ� ความเขา้ ใจ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์อยา่ งเหมาะสมกบั พฒั นาการตามวัย หรือจดจ�ำองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ท่ีเป็นนามธรรม • จดั ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ กยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี หรอื ซับซอ้ น และคณติ ศาสตรโ์ ดยการบรู ณาการในกจิ วตั รประจำ� วนั อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ หรอื บรู ณาการ กบั กจิ กรรมในหนว่ ยการเรยี นรหู้ รอื กจิ กรรมตามแนวนวตั กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นโดย ไม่ตอ้ งแยกเปน็ วชิ าหรอื กจิ กรรมเสริมพเิ ศษนอกเวลา • ใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ และลงมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง (Hands-on Minds-on) และเรยี นรู้ผ่านการเลน่ เพ่ือใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์ตรง 52

การจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้บู ูรณาการ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั แนวทางในการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในการจัด ประสบการณก์ ารเรยี นร้ใู นระดับปฐมวัย ครสู ามารถจดั ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ โดยการบรู ณาการเข้าไปในการจัดประสบการณ์การเรียนร้ไู ด้ 2 ลักษณะ ดงั น้ี 1. การบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นกจิ วตั ร ประจำ� วนั เปน็ การจดั กจิ วตั รประจำ� วนั ตามปกติ โดยสอดแทรกการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี หรือคณิตศาสตร์เข้าไปในระหว่างการท�ำกิจวัตรตามความเหมาะสม เช่น สอดแทรกการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรใ์ นการทงิ้ ขยะ โดยใหเ้ ดก็ ๆ สงั เกตลกั ษณะของขยะตา่ ง ๆ และคัดแยกขยะตามประเภท แล้วน�ำไปท้ิงลงในถังขยะให้ตรงตามประเภทของ ถังขยะ สอดแทรกการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตรใ์ นการเข้าแถวเคารพธงชาติ โดยครูกระต้นุ ให้เด็กสังเกตและเปรียบเทียบความสูงของตนเองและเพ่ือนแล้วเข้าแถวตามล�ำดับ ความสูง สอดแทรกการฝกึ การคิดเชิงคำ� นวณในการเล่นหรอื การเกบ็ ของเลน่ อยา่ งเป็น ระเบียบ โดยให้เด็กร่วมกันสร้างข้อตกลงและทบทวนขั้นตอนการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ตามลำ� ดบั สอดแทรกการเรยี นรเู้ ทคโนโลยใี นการใชอ้ ปุ กรณ์ เชน่ กรรไกร อยา่ งถกู ตอ้ ง ปลอดภยั และรจู้ กั การเก็บรกั ษาหลังเลกิ ใช้ 2. การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในหน่วย การเรยี นรหู้ รอื กจิ กรรมตามแนวนวตั กรรมการเรยี นรู้ เปน็ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ในลกั ษณะของหนว่ ยการเรยี นรหู้ รอื กจิ กรรมตามแนวนวตั กรรมตา่ ง ๆ ในระดบั ปฐมวยั โดยจัดให้เดก็ ไดเ้ รียนร้สู าระส�ำคัญในหัวข้อท่ีเกย่ี วข้องกับวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี หรือ คณิตศาสตร์ผ่านการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม การคิด เชิงค�ำนวณ หรือมีการฝึกฝนทักษะหรือความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หรือคณิตศาสตร์ในหน่วยการเรียนรู้หรือกิจกรรมน้ัน ๆ และมีการระบุจุดประสงค์ การเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หรือคณิตศาสตร์ใน หน่วยการเรยี นรู้หรือกจิ กรรมอยา่ งชดั เจน 53

รูปแบบของการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ • การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) คือ ในระดบั ปฐมวยั สามารถทำ� ไดโ้ ดยบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เด็กได้เรียนรู้และฝึกทักษะเก่ียวกับวิทยาศาสตร์ ในหนว่ ยการเรยี นรหู้ รอื กจิ กรรมทง้ั แบบแยกสาขาวชิ า (Disciplinary) แบบพหวุ ทิ ยาการ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ อย่างนอ้ ย 2 สาระขนึ้ ไปรว่ มกนั ภายในกจิ กรรมเดยี วกนั (Multidisciplinary) แบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรอื แบบขา้ มสาขาวิชา โดยมีการเรยี นรู้และใชท้ กั ษะของสาระเหล่านัน้ เชอื่ มโยงสมั พนั ธก์ ัน เช่น ครกู ำ� หนด (Transdisciplinary) โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ หนว่ ยการเรียนรู้เรอ่ื งขา้ ว และจดั กิจกรรมเก่ียวกบั การเจรญิ เติบโตของขา้ วเพอ่ื ใหเ้ ด็ก • การบูรณาการแบบแยกสาขาวิชา (Disciplinary) คือการจัด เรยี นรวู้ ่าตน้ ข้าวมีการเจริญเตบิ โตเป็นอย่างไร โดยใหส้ ังเกตการเปลย่ี นแปลงความสงู ประสบการณก์ ารเรยี นร้ทู ่เี ดก็ ได้เรยี นรแู้ ละฝึกทักษะเก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ของต้นข้าว จัดประสบการณ์ให้เด็กรู้จักการใช้เคร่ืองมืออย่างง่ายในการวัดและบอก และคณิตศาสตรแ์ ยกจากกนั ในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรหู้ รือกจิ กรรม เชน่ ครูก�ำหนด ความสูงของต้นข้าวในแต่ละวัน แล้วน�ำข้อมูลมาร่วมกันจัดกระท�ำในรูปของแผนภูมิ หนว่ ยการเรยี นรเู้ รอื่ งขา้ วเพอ่ื ใหเ้ ดก็ เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เชน่ การเจรญิ เตบิ โตของตน้ ขา้ ว อยา่ งงา่ ยเพอื่ แสดงการเปลยี่ นแปลงความสงู ของตน้ ขา้ วในแตล่ ะวนั ในกจิ กรรมเดก็ จะได้ ลกั ษณะของเมล็ดขา้ วพันธุ์ตา่ ง ๆ การเปลี่ยนแปลงของเมลด็ ข้าวเมื่อนำ� ไปหงุ โดยไม่มี เรียนรู้ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงลักษณะของพืชเมื่อ จุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์หรือเทคโนโลยีในหน่วย เจริญเติบโต เรียนรู้และใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ในการวัดความสูงของต้นข้าวและ การเรยี นรู้น้ี กำ� หนดหน่วยการเรียนรู้เรือ่ งบ้านเพ่ือให้เดก็ เรียนรู้คณติ ศาสตร์ ก�ำหนด การน�ำเสนอข้อมูลในรูปของแผนภูมิ รวมถึงรู้จักการใช้เครื่องมืออย่างง่ายในการวัด หนว่ ยการเรยี นรเู้ รอ่ื งยานพาหนะเพอ่ื ใหเ้ ดก็ เรยี นรเู้ ทคโนโลยี รวมไปถงึ จดั มมุ ประสบการณ์ ความสงู ซ่งึ เปน็ การเรียนรู้เทคโนโลยไี ปพรอ้ ม ๆ กัน เพอื่ สง่ เสรมิ การเรียนรแู้ ละฝกึ ทักษะเกยี่ วกบั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ เช่น มมุ ธรรมชาติ มุมรา้ นค้า มุมบล็อก มมุ วิทยาศาสตร์ มมุ คณติ ศาสตร์ มมุ เคร่อื งเล่น สมั ผสั • การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) คือ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เด็กได้เรียนรู้และฝึกทักษะเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์แยกกิจกรรมกัน แต่อยู่ภายใต้หัวข้อหลัก (Theme) เดียวกันภายในหน่วยการเรียนรูเ้ ดยี วกนั เชน่ ครูกำ� หนดหัวข้อหลักในหนว่ ยการเรยี นรู้ เรือ่ งข้าว โดยจดั กิจกรรมใหเ้ ด็กได้เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เช่น การเจรญิ เตบิ โตของต้นข้าว จัดกิจกรรมให้เด็กเรียนรู้คณิตศาสตร์ เช่น การตวงและบอกปริมาตรของเมล็ดข้าว โดยใช้อุปกรณ์และหนว่ ยท่ไี ม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จัดกิจกรรมให้เด็กไดเ้ รยี นรูเ้ ทคโนโลยี เช่น เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ที่ใช้ในการหงุ ข้าว 54

• การบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา (Transdisciplinary) คือ วิธีการที่ร่วมกันก�ำหนดขึ้น ตลอดจนสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้แล้วน�ำเสนอส่ิงท่ีได้เรียนรู้ใน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยให้เด็กได้เรียนรู้และประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ รปู แบบตา่ ง ๆ ซง่ึ เดก็ จะไดเ้ รียนรูแ้ ละฝกึ ทักษะตา่ ง ๆ เกี่ยวกับวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นการแกป้ ญั หาในชวี ติ จรงิ ตามความสนใจหรอื ปญั หาของเดก็ หรอื คณติ ศาสตร์ สอดแทรกอยูใ่ นระหว่างการท�ำโครงงานเรื่องขา้ ว หรืออาจจดั เปน็ โดยครูอาจก�ำหนดกรอบหรือ theme ของปัญหาหรือเรื่องท่ีอยากให้เด็กได้เรียนรู้ กิจกรรมตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) หรือสตีมศึกษา (STEAM อย่างกวา้ ง ๆ ใหเ้ ดก็ ระบปุ ัญหาหรอื สง่ิ ท่สี งสัยอยากเรียนรู้ทเ่ี ฉพาะเจาะจง แลว้ รว่ มกัน Education) ใหเ้ ดก็ ใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมในการออกแบบและแกป้ ญั หา หาวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื หาคำ� ตอบของสง่ิ ทสี่ งสยั ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ซง่ึ อาจจดั ในรปู แบบ ในสถานการณแ์ ละเงอ่ื นไขตา่ ง ๆ เชน่ ออกแบบและสรา้ งกระเปา๋ กนั นำ้� โดยสงิ่ ของทอี่ ยู่ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ บบโครงงาน (Project-based learning) หรอื โครงการ ภายในกระเป๋าไมเ่ ปียก (Project approach) เช่น การท�ำโครงงานเร่ืองขา้ ว โดยครูจดั สถานการณ์เพ่ือกระตนุ้ ระดับของการบูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในหนว่ ย ใหเ้ ด็กเกิดความสนใจ แลว้ ให้เดก็ ระบุสง่ิ ทสี่ งสยั หรอื อยากรู้เกีย่ วกบั ข้าว จากน้นั ให้เด็ก การเรยี นรหู้ รือกิจกรรมในระดับปฐมวัย สามารถสรปุ ไดด้ งั แผนภาพท่ี 5 รว่ มกนั วางแผนกำ� หนดขนั้ ตอนและวธิ ีการในการหาค�ำตอบ และลงมอื หาค�ำตอบตาม ระดับของการบรู ณาการ ข้ามสาขาวิชา Transdisciplinary การแยกสาขาวิชา พหวุ ทิ ยาการ สหวิทยาการ Disciplinary Multidisciplinary Interdisciplinary เรยี นรู้ S, M, T เรยี นรู้ S, M, T เรยี นรู้ S, M, T เรยี นรู้ S, M, T ร่วมกนั ในกจิ กรรม แยกกจิ กรรมใน ร่วมในกจิ กรรม แยกกนั คนละหน่วย หนว่ ยการเรียนรู้ เดียวกนั ในหนว่ ย หรอื โครงงาน/ การเรียนรู้ การเรียนรู้เดียวกนั โครงการเพอื่ เดยี วกัน การแก้ปัญหา เดยี วกนั แผนภาพท่ี 5 ระดับของการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นหน่วยการเรียนรหู้ รือกจิ กรรมในระดับปฐมวัย 55

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย นอกจากครูจะต้องค�ำนึงถึงพัฒนาการตามวัยและ ความสนใจหรอื บรบิ ทของเดก็ ปฐมวยั แลว้ ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในธรรมชาตแิ ละเปา้ หมาย ของการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ รวมถงึ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง สาระวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ เพ่ือที่จะสามารถจัดประสบการณ์ การเรียนรู้โดยบูรณาการสาระเหล่าน้ีได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ เด็กปฐมวัย จุดเน้นของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติและ เปา้ หมายของการเรียนรู้แต่ละสาระ มรี ายละเอียดดงั น้ี การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ควรมงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดค้ ิดและลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry - based learning) ที่เหมาะสมกับวยั และศักยภาพของเด็ก เพอ่ื พัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์ หรอื จติ วทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะหรอื ความสามารถตา่ ง ๆ ในการสบื เสาะหาความรู้ ซงึ่ จะ น�ำไปสู่การสร้างความคิดรวบยอดที่เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยตี อ่ ไป 56

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นการเปิดโอกาสให้ การมีส่วนร่วมในค�ำถาม เด็กได้สืบเสาะหาความรู้ซ่ึงคล้ายคลึงกับการท�ำงานของนักวิทยาศาสตร์ ครูควรจัด ประสบการณ์การเรียนรู้โดยให้เด็กปฐมวัยได้ลงมือสืบเสาะหาความรู้ตามลักษณะ การใหส่อืเ้ หสตาุผรลและ กาหรเลกกั ็บฐขา้อนมลู ส�ำคญั ของการสบื เสาะหาความร้สู ำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั ดังนี้ • การมีส่วนร่วมในค�ำถาม เดก็ ตั้งคำ� ถามตามความสนใจเพ่ือนำ� ไปสู่ สง่ิ ที่พกบากรเับชสื่อง่ิ มทโผ่ียู้องื่นพบ กาสร่ิงอทธีพ่ บิ บาย การหาคำ� ตอบด้วยการลงมอื ปฏบิ ัติ ซึ่งค�ำถามอาจเกิดจากตัวเดก็ เอง มาจากเด็กกบั ครู รว่ มกนั ตงั้ คำ� ถามขน้ึ หรอื มาจากครเู ปน็ ผกู้ ำ� หนดและใหเ้ ดก็ รว่ มกนั พจิ ารณาทำ� ความเขา้ ใจ แผนภาพที่ 6 ลกั ษณะสำ� คญั ของการสบื เสาะหาความรูส้ ำ� หรบั เดก็ ปฐมวัย กบั ค�ำถามกไ็ ด้ ลกั ษณะส�ำคญั ของการสืบเสาะหาความรสู้ �ำหรับเดก็ ปฐมวัยนนั้ ไม่ได้มลี �ำดับ • การเกบ็ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เดก็ รว่ มวางแผนและลงมอื สำ� รวจตรวจสอบ ขนั้ ตอนทแี่ นน่ อน สามารถยอ้ นกลบั ไปมาได้ และสามารถเกดิ ซำ�้ ได้ การจดั ประสบการณ์ เพอื่ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู หลกั ฐานดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ การสงั เกต การสำ� รวจ การทดลอง การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ บางคร้ังครูอาจมีบทบาทในการชี้น�ำการเรียนรู้ของ การสืบคน้ การสมั ภาษณ์ และบนั ทึกผลดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ ตามศกั ยภาพของเดก็ เช่น เด็กมาก หรือบางคร้ังครูอาจเปิดโอกาสให้เดก็ สบื เสาะหาความรูด้ ว้ ยตนเองมาก ทงั้ น้ี การวาดภาพ การบอกสงิ่ ทพี่ บใหค้ รจู ดบนั ทกึ ให้ การรว่ มบนั ทกึ ดว้ ยการเขยี นสญั ลกั ษณ์ ขน้ึ กับหวั ข้อเร่อื งทีเ่ รยี นรู้ ศักยภาพและพัฒนาการทางการเรยี นรู้ของเด็ก ดังแสดงใน ลงในตาราง หรอื การร่วมท�ำแผนภูมิอย่างง่าย แผนภาพที่ 7 • การอธบิ ายสง่ิ ทพ่ี บ เดก็ รว่ มทำ� ความเขา้ ใจขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสำ� รวจ ตรวจสอบ และสร้างค�ำอธิบายอย่างมีเหตุผลเพื่อตอบค�ำถามท่ีตั้งข้ึนโดยอ้างอิงข้อมูล ทไี่ ดม้ า • การเช่ือมโยงสิ่งท่ีพบกับส่ิงที่ผู้อื่นพบ เด็กรับทราบข้อมูลหรือ ค�ำอธิบายของผู้อื่น แล้วเปรียบเทียบว่าสิ่งท่ีตนเองพบกับส่ิงที่ผู้อ่ืนพบหรือค�ำอธิบาย ของตนเองกบั ของผู้อื่น เหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร • การสอ่ื สารและใหเ้ หตผุ ล เดก็ สอื่ สารนำ� เสนอการสำ� รวจตรวจสอบ ที่ได้ท�ำและสิ่งท่ีไดค้ น้ พบอยา่ งมีเหตผุ ลดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ เชน่ การพดู การทำ� ท่าทาง การจดั แสดงผลงาน ลักษณะส�ำคัญของการสืบเสาะหาความรู้ส�ำหรับเด็กปฐมวัยสามารถแสดงได้ ดงั แผนภาพท่ี 6 57

ลกั ษณะส�ำคญั ระดับการสบื เสาะหาความรู้ ของการสืบเสาะหาความรู้ Open Guided Structured Confirmation การมีสว่ นร่วมในค�ำถาม เด็กตั้งคำ� ถามเอง เดก็ เลอื กคำ� ถามจากที่ ครูก�ำหนดค�ำถามให้เดก็ เลือก ครเู ป็นคนต้ังค�ำถาม ก�ำหนดให้หรอื เสนอคำ� ถามใหม่ และท�ำความเข้าใจ การเก็บขอ้ มลู หลักฐาน เดก็ วางแผนและเกบ็ ขอ้ มลู เอง เดก็ ได้รับการช้แี นะ ครใู ห้ขอ้ มลู เพอื่ ให้เด็ก ครใู ห้ข้อมูลและบอกวธิ วี เิ คราะห์ ในการเก็บข้อมลู นำ� ไปวิเคราะห์ การอธิบายสิ่งทพี่ บ เดก็ ท�ำความเข้าใจข้อมูล เด็กไดร้ บั การช้แี นะ ครูให้แนวทางท่ีเป็นไปได้ ครูอธิบายและสรุปให้ อธบิ ายและสรุปเอง ในการอธบิ ายและสรุป เพือ่ ใหเ้ ด็กอธบิ ายและสรุป การเชอ่ื มโยงสงิ่ ที่พบ เดก็ คน้ หาและเชือ่ มโยงเอง เดก็ ไดร้ ับการช้ีแนะ ครูแนะนำ� ถงึ ความเชอื่ มโยง ครเู ช่อื มโยงให้ กับสง่ิ ท่ีผู้อน่ื พบ แหลง่ ขอ้ มลู ที่เป็นไปได้ การสอื่ สารและใหเ้ หตผุ ล เด็กสอ่ื สารอย่างมีเหตผุ ล เด็กไดร้ บั การชแี้ นะ เด็กได้รบั การชี้แนะ ครแู สดงขนั้ ตอนและวิธกี าร ด้วยตนเอง ในการสอื่ สาร ให้ส่ือสารได้ตรงประเดน็ สอื่ สาร มาก ----------------------------------- ระดบั การเรียนร้ดู ้วยตนเองของเดก็ --------------------------------- นอ้ ย นอ้ ย ----------------------------------- ระดบั การควบคมุ และช้นี ำ� ของครู --------------------------------- มาก ปรับปรุงจาก National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning. แผนภาพท่ี 7 ระดบั ของการสืบเสาะหาความรใู้ นชน้ั เรยี นปฐมวัย ครูสามารถน�ำลักษณะส�ำคัญเหล่าน้ีไปสอดแทรกในขั้นตอนต่าง ๆ ของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนซ่ึงอาจมี กระบวนการเรยี นรูห้ รือรปู แบบการเรียนรทู้ ่ีแตกตา่ งกนั ไป หากเด็กได้ท�ำตามลกั ษณะส�ำคัญเหลา่ นีก้ ถ็ ือไดว้ า่ เด็กได้สืบเสาะหาความรู้แลว้ 58

การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร้บู รู ณาการเทคโนโลยใี นระดับปฐมวัย เดก็ ปฐมวยั เติบโตข้ึนพร้อมกับเทคโนโลยที ม่ี กี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ซ่งึ การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้บูรณาการเทคโนโลยีควรม่งุ เน้น ดังนี้ เด็กจะต้องเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ต้องรับมือกับเทคโนโลยีแห่งอนาคต จึงจ�ำเป็นจะต้องมี 1) จัดการเรียนรู้ผ่านการเล่น ลงมือปฏิบัติ ประสบการณ์ตรงผ่าน การเตรยี มความพรอ้ มเดก็ ปฐมวยั ใหส้ ามารถเรยี นรแู้ ละใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสมคอื ประสาทสัมผัส โดยใช้การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล ใชอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ร้เู ทา่ ทนั เทคโนโลยี ไมต่ กเปน็ ทาสของเทคโนโลยี และร้ผู ลกระทบต่อ การคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจและแก้ปัญหา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา สิ่งแวดล้อมและใช้อย่างประหยัด รวมถึงมีพื้นฐานของทักษะในการเป็นผู้ออกแบบ ปฐมวัยและการประเมินพัฒนาการ และสรา้ งเทคโนโลยใี นอนาคต 2) เลือกใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมโดยค�ำนึงถึงความเหมาะสม เทคโนโลยีส�ำหรับเด็กปฐมวัยจึงไม่ได้หมายถึงเพียงอุปกรณ์เครื่องมือ ของวยั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล สภาพแวดลอ้ มและวัฒนธรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร หรอื อปุ กรณด์ จิ ทิ ลั เชน่ คอมพวิ เตอร์ สมารท์ โฟน 3) จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีพฤติกรรม หรอื แทบ็ เลต็ แตย่ งั หมายรวมถงึ สง่ิ ของเครอื่ งใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั รอบตวั เดก็ เชน่ ของใช้ ปฏิสัมพันธ์เชิงบวก กระตุ้นใหเ้ ด็กคิดรเิ รม่ิ และยอมรับการตัดสนิ ใจของเดก็ ประจ�ำตัวเด็ก ของเล่นในมุมประสบการณ์ ของเล่นสัมผัส ของเล่นประเภทกลไก 4) ครู ผปู้ กครอง และผเู้ กย่ี วขอ้ ง ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ใี นการใช้ เครือ่ งเลน่ สนาม เครอ่ื งเขียน เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ อปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสม สร้างสรรค์ ปลอดภัย และรกั ษาสง่ิ แวดล้อม อยา่ งงา่ ย เป็นตน้ โดยสรปุ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรเู้ ทคโนโลยใี นระดบั ปฐมวยั มงุ่ เนน้ ไปที่ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการเทคโนโลยีในระดับปฐมวัยไม่ได้มุ่ง ส่งเสรมิ การคิดแกป้ ญั หา ความคิดสรา้ งสรรค์ และการสอื่ สาร ผ่านการจัดกจิ กรรมที่ให้ สง่ เสริมใหเ้ ด็กฝึกใชอ้ ปุ กรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร เชน่ โปรแกรม เด็กได้ฝึกการคิดและลงมือแก้ปัญหาอย่างเป็นล�ำดับขั้นตอน ได้ส�ำรวจและเลือกใช้ คอมพวิ เตอร์ สมารท์ โฟน อยา่ งไมม่ เี ปา้ หมายและปราศจากการมปี ฎสิ มั พนั ธแ์ ละการมี เทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันอย่างเหมาะสม และสามารถออกแบบวางแผนและสร้าง ส่วนร่วมอย่างใกล้ชิดกับผู้ใหญ่ แต่เป็นการปูพ้ืนฐานการคิดเชิงค�ำนวณหรือการคิด ของเลน่ ของใช้ตามกระบวนการแกป้ ญั หาที่เหมาะสมกับวัย อยา่ งเปน็ ระบบ การแกป้ ญั หา ตลอดจนความสามารถในการออกแบบสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม โดยมเี ปา้ หมายดังน้ี • ปลกู ฝงั ความตระหนกั รเู้ กย่ี วกับการเลือกใช้เทคโนโลยอี ย่างถกู ต้อง เหมาะสม สรา้ งสรรค์ ปลอดภัย และรักษาสิง่ แวดลอ้ ม • รู้จักน�ำความรู้ ทักษะ และวัสดุอุปกรณ์มาออกแบบและสร้าง ส่ิงของเครื่องใช้เพ่ือแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของเด็กผ่านกระบวนการ แกป้ ญั หาอย่างมีขน้ั ตอน • ฝึกการคิดเชิงค�ำนวณผ่านการท�ำกิจกรรมที่เน้นการลงมือปฏิบัติ ผ่านส่ือและวัสดุอุปกรณ์ท่ีจับต้องได้แบบไม่ใช้ไฟฟ้า หรือคอมพิวเตอร์ (Unplugged) 59

การจัดประสบการณก์ ารเรยี นร้บู รู ณาการคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั บูรณาการคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ รวมไปถึง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการคณิตศาสตร์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย การคดิ สร้างสรรค์โดยการนำ� ความรคู้ วามเขา้ ใจทางคณติ ศาสตรไ์ ปริเร่ิมและต่อยอด ควรจดั ในรปู ของกจิ กรรมแบบบรู ณาการกบั กจิ วตั รและกจิ กรรมประจำ� วนั ผา่ นการเลน่ 7) บูรณาการคณติ ศาสตร์ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชว่ งเวลาท่เี หมาะสม เพ่ือให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะและ และเหมาะกบั ธรรมชาตริ วมท้ังความสามารถตามวัยของเดก็ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ และมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ คณติ ศาสตร์ ครหู รอื ผทู้ มี่ หี นา้ ทอ่ี บรม การจัดประสบการณ์การเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ เลี้ยงดแู ละพฒั นาเด็กควรจัดประสบการณ์การเรยี นร้โู ดยค�ำนงึ ถึงความเหมาะสม และ ในระดับปฐมวัย ความสอดคล้องกบั วุฒิภาวะของเด็ก ซึง่ มจี ุดเน้นดงั น้ี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ถูกน�ำมาใช้ในการแสวงหาความรู้ 1) สร้างเสริมความสนใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามธรรมชาติของ และแก้ปัญหาอย่างสัมพันธ์กัน จึงสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการ เดก็ ผ่านประสบการณต์ รง โดยการส�ำรวจ การเลน่ การลงมือปฏบิ ัตใิ นชีวิตประจ�ำวัน แบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) แบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือ รวมไปถึงการจดั สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ทางคณิตศาสตร์ แบบขา้ มสาขาวชิ า (Transdisciplinary) เพอื่ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรทู้ งั้ 3 สาระ ไปพรอ้ ม ๆ กนั 2) สรา้ งเสรมิ ทกั ษะและความรคู้ วามเขา้ ใจทางคณติ ศาสตรบ์ นพนื้ ฐาน ภายในหน่วยการเรียนรู้หรือกิจกรรมเดียวกันได้ โดยอาจจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แต่ละ ของความสามารถ และพฒั นาการของเดก็ รายบคุ คลอยา่ งเปน็ ลำ� ดบั ขนั้ ตอน โดยเรม่ิ ตน้ สาระแล้วประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ จากความเข้าใจพ้ืนฐาน เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนรู้ในล�ำดับข้ัน ผ่านกจิ กรรมและกระบวนการเรียนรู้ในลกั ษณะต่าง ๆ ภายใต้หน่วยการเรยี นร้เู ดียวกนั ท่ยี ากขน้ึ ตอ่ ไป และคำ� นงึ ถงึ การเช่ือมโยงจากพ้ืนฐานทางครอบครัว ภาษา วฒั นธรรม หรือจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แต่ละสาระไปในระหว่างการแก้ปัญหาหรือหาค�ำตอบท่ี และชมุ ชนของเดก็ สงสยั เชน่ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ บบโครงงานหรอื โครงการ การจดั การเรยี นรู้ 3) ใชส้ อื่ การเรยี นรทู้ เี่ ปน็ รปู ธรรมไปสนู่ ามธรรม โดยเรม่ิ ตน้ จากของจรงิ โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน การจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน การจัด ของจำ� ลอง รปู ภาพ และสญั ลกั ษณต์ ามลำ� ดบั และใชก้ ลยทุ ธท์ หี่ ลากหลาย ไมว่ า่ จะเปน็ การเรยี นรู้โดยใชธ้ รรมชาตเิ ปน็ ฐาน การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้แบบสะเต็มศกึ ษา กิจกรรม เพลง คำ� คลอ้ งจอง นิทาน เกม ร่วมกบั การใชส้ อื่ การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย หรือสตมี ศกึ ษา 4) ใหค้ วามสำ� คญั กบั การสง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สงั คมและสตปิ ญั ญาไปพร้อม ๆ กัน คณติ ศาสตร์ในระดบั ปฐมวยั มขี อ้ ควรค�ำนึงถงึ คือ การก�ำหนดสถานการณป์ ัญหาตอ้ งไม่ 5) ใชภ้ าษาทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั คณติ ศาสตรส์ อดแทรกในชวี ติ ประจำ� วนั และ ซบั ซอ้ นเกนิ ความสามารถ ควรเปน็ เรอื่ งทอ่ี ยใู่ นบรบิ ทรอบตวั ของเดก็ และอยใู่ นความสนใจ การสอื่ สารทางคณิตศาสตรอ์ ย่างมีความหมาย ของเดก็ รวมถงึ ควรมกี ารตรวจสอบความรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐานหรอื ประสบการณเ์ ดมิ ของ 6) สง่ เสรมิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ โดยเปดิ โอกาสให้ เดก็ กอ่ นเรม่ิ กจิ กรรมการแกป้ ญั หา หากเดก็ ยงั ไมม่ พี นื้ ฐานควรจดั กจิ กรรมเพอ่ื ปพู น้ื ฐาน เด็กได้แก้ปัญหาผ่านสถานการณ์ในชีวิตประจ�ำวัน การให้เหตุผลเพื่อถ่ายทอดความรู้ ให้กบั เด็กกอ่ น ความเขา้ ใจในการตอบคำ� ถาม การเลอื กวธิ กี าร และการปฏบิ ตั ิ สอ่ื สารความคดิ ในรปู แบบที่ หลากหลาย เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ในสาระทางคณิตศาสตร์ด้วยกัน และ 60

สง่ิ ที่เดก็ ปฐมวยั ควรเรียนรู้ ในวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ เดก็ ปฐมวัย (อายุ 3-6 ป)ี ควรไดร้ บั การเตรียมความพร้อมทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ที่เหมาะสมกับพัฒนาการและความสามารถของเด็ก เป็นรายบุคคลใน 3 ด้านหลกั ได้แก่ เจตคติ ทกั ษะหรือความสามารถ และความคดิ รวบยอดท่ีเปน็ พนื้ ฐานของการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ เพื่อให้ เด็กมีทักษะการคิดและการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย ตามจุดมุ่งหมายของ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 และมคี ณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ตามมาตรฐาน พัฒนาการด้านสติปัญญาในการมีความสามารถในการคิดท่ีเป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้ มจี ินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ มเี จตคติทีด่ ีต่อการเรยี นรู้ และมีความสามารถ ในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วัย 61

เดก็ ปฐมวัยเรยี นร้อู ะไรในวทิ ยาศาสตร์ • วิทยาศาสตร์กายภาพ เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับลักษณะและ ด้านเจตคติ เด็กปฐมวยั ควรไดร้ บั การส่งเสรมิ ใหม้ เี จตคติทดี่ ีตอ่ วทิ ยาศาสตร์ ส่วนประกอบของวัตถุหรือส่ิงของเครื่องใช้ ประโยชน์และการเลือกใช้วัตถุหรือสิ่งของ ซ่งึ เป็นความรู้สกึ หรอื ความคดิ เหน็ ทมี่ ตี ่อการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความชอบใน เครอื่ งใชอ้ ยา่ งเหมาะสม การเปลย่ี นแปลงของวตั ถหุ รอื สง่ิ ของเครอ่ื งใช้ ผลของการออกแรง การเรยี นรแู้ ละการทำ� กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตร์ และควรไดร้ บั การพฒั นาใหม้ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ กระทำ� ตอ่ วัตถุหรอื สิ่งของเครอ่ื งใช้ และพลังงานในชีวติ ประจำ� วัน ซง่ึ เปน็ คณุ ลกั ษณะหรอื ลกั ษณะนสิ ยั ของบคุ คลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ • วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ เด็กควรเรยี นรเู้ กี่ยวกับลักษณะของ ไดแ้ ก่ การสนใจใฝ่รู้ มุง่ มนั่ อดทน ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ มเี หตุผล มจี นิ ตนาการและ ดนิ นำ�้ ลมฟา้ อากาศ สงิ่ ทพ่ี บบนทอ้ งฟา้ และสภาพแวดลอ้ มในเวลากลางวนั และกลางคนื ความคดิ สร้างสรรค์ ส่ิงท่ีเด็กปฐมวัยเรียนรใู้ นวิทยาศาสตรแ์ สดงได้ดังแผนภาพที่ 8 ด้านทักษะหรือความสามารถ เด็กปฐมวัยควรได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะ หรอื ความสามารถในการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ขัน้ พ้ืนฐานและความสามารถในการสบื เสาะหาความรู้ • ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขนั้ พื้นฐานสำ� หรบั เด็กปฐมวัย ควรเริ่มจากการพฒั นาทกั ษะการสงั เกต การเปรียบเทยี บ การจ�ำแนกประเภท และ การวดั ซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานทส่ี ำ� คญั ในการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ แลว้ จงึ พฒั นาทกั ษะทซี่ บั ซอ้ นขนึ้ อย่างเหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย เช่น ทักษะการพยากรณ์ ควรให้เด็กได้ฝึก การคาดคะเนเกย่ี วกบั สง่ิ ตา่ ง ๆ อยา่ งมเี หตผุ ล ทกั ษะการลงความคดิ เหน็ ควรใหเ้ ดก็ ไดฝ้ กึ อา้ งอิงจากประสบการณเ์ ดิมและข้อมลู ท่ีได้จากการสงั เกตตามศกั ยภาพของเด็ก • ความสามารถในการสบื เสาะหาความรู้เดก็ ปฐมวยั ควรไดร้ บั การพฒั นา ให้มีความสามารถในการการตงั้ คำ� ถาม การวางแผนในการส�ำรวจตรวจสอบ การลงมอื สำ� รวจตรวจสอบ การบันทกึ ข้อมูล การอธบิ ายอย่างมีเหตุผล การสรุปขอ้ คน้ พบ และ การสอ่ื สารกระบวนการและส่ิงทคี่ ้บพบดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมกบั วยั ดา้ นความคดิ รวบยอด เดก็ ปฐมวยั ควรไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามคดิ รวบยอด ที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยสาระส�ำคัญท่ีเด็กปฐมวัยควรเรียนรู้ ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย 3 สาระส�ำคัญ ดังน้ี • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะและ ส่วนประกอบของร่างกายของมนุษย์ สัตว์ และพืช การดูแลรักษาร่างกายของตนเอง การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์ สตั ว์ และพชื การใชป้ ระโยชนแ์ ละการดแู ลรกั ษาสตั วแ์ ละพชื แผนภาพท่ี 8 สิง่ ทเี่ ด็กปฐมวัยควรเรียนรู้ในวทิ ยาศาสตร์ 62

การพัฒนาความคิดรวบยอดที่เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครูควรค�ำนึงถึงความรู้พ้ืนฐานหรือประสบการณ์เดิมของเด็กและระดับ ความซับซอ้ นของความคดิ รวบยอด ควรจัดใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ได้เรยี นรู้ความคดิ รวบยอดจากเร่อื งใกลต้ ัวที่เปน็ รปู ธรรมหรอื มีความซบั ซ้อนนอ้ ยไปสเู่ รอื่ งที่ไกลตัวท่ีเป็นนามธรรมหรอื มีความซับซ้อนมาก ดังตัวอย่างที่แสดงในแผนภาพท่ี 9 อย่างไรก็ตามการจัดล�ำดับหัวข้อสิ่งท่ีเด็กควรเรียนรู้สามารถยืดหยุ่นได้ตามความต้องการ ความสนใจหรือ ความพรอ้ มของเด็ก หากเดก็ ตอ้ งการและมคี วามพรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรูใ้ นหัวขอ้ ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นก็สามารถนำ� มาจดั ประสบการณ์ใหก้ ับเด็กก่อนได้ สาระส�ำคญั ล�ำดบั หัวขอ้ การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชือ่ และลกั ษณะ ส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ สัตว์ พชื การจัดกล่มุ มนษุ ย์ สัตว์ การเปลีย่ นแปลงของ ประโยชน์และอันตราย - มนษุ ย์ ของร่างกายมนษุ ย์ และพชื โดยใชล้ ักษณะ มนษุ ย์ สตั ว์ พชื ของสตั ว์และพชื ต่อ - สตั ว์ สตั ว์ พืช ท่สี ังเกตได้ เม่ือเจริญเติบโต มนษุ ย์ และการดูแล - พืช การดแู ลรักษารา่ งกายของตนเอง รักษาสัตวแ์ ละพชื วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ชื่อและลักษณะ สว่ นประกอบของวตั ถุ ประโยชนแ์ ละการเลอื ก การเปลีย่ นแปลงของ ผลของการออกแรง พลังงานใน - วตั ถหุ รอื สงิ่ ของ ของวัตถหุ รอื สิง่ ของ หรือสงิ่ ของเคร่อื งใช้ ใช้วตั ถุหรือสงิ่ ของ วัตถหุ รอื สิ่งของ กระทำ� ตอ่ วตั ถหุ รอื ชีวิตประจ�ำวัน เครื่องใช้ เคร่อื งใช้ เครอ่ื งใช ้ เคร่ืองใช้ สิง่ ของเครอ่ื งใช้ - แรง - พลังงาน วิทยาศาสตร์โลกและ บริเวณท่พี บดนิ และน�ำ้ ลกั ษณะของดินและน�้ำ ประโยชน์และวธิ กี ารดแู ลรักษาดินและน�ำ้ อวกาศ - ดิน ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศในแตล่ ะวนั การเปล่ียนแปลงของลมฟ้าอากาศในแตล่ ะวัน ผลของลมฟ้าอากาศในแตล่ ะฤดตู ่อการด�ำรงชวี ติ - น�ำ้ และการปฏิบตั ิตนให้เหมาะสม และการปฏิบตั ติ นใหเ้ หมาะสม ของมนษุ ย์ สตั วห์ รือพืชและการปฏิบตั ติ นให้ เหมาะสม - ลมฟา้ อากาศ - ท้องฟา้ สิ่งทพ่ี บบนทอ้ งฟา้ ลกั ษณะของทอ้ งฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน สภาพแวดล้อมในเวลากลางวันและกลางคืน แผนภาพที่ 9 ตวั อยา่ งการจดั ล�ำดับหวั ขอ้ การเรียนรู้ตามระดบั ความซบั ซอ้ นของความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 63

เด็กปฐมวยั เรียนรอู้ ะไรในเทคโนโลยี ด้านเจตคติ เดก็ ปฐมวัยควรไดร้ บั การสง่ เสริมใหม้ ีเจตคตทิ ดี่ ีคือ การตระหนกั รถู้ งึ ประโยชน์ การใชง้ าน และการเลือกใช้เทคโนโลยที อ่ี ยใู่ นชวี ิตประจำ� วันอยา่ งเหมาะสม สรา้ งสรรค์ ปลอดภยั และรกั ษาสิ่งแวดล้อม แสดงความกระตือรือร้น สนใจในการเรยี นรู้ มุ่งม่นั ในการทำ� กิจกรรมและแก้ปญั หา ดา้ นทกั ษะหรอื ความสามารถ เดก็ ปฐมวยั ควรไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหม้ ที กั ษะหรอื ความสามารถในการแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ย ดว้ ยกระบวนการออกแบบและการคดิ เชงิ คำ� นวณ รวมถึงมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ การทำ� งานร่วมกัน และการสื่อสาร โดยกระบวนการออกแบบและการคดิ เชงิ คำ� นวณส�ำหรบั เด็กปฐมวยั มรี ายละเอียด ดังนี้ กระบวนการออกแบบ เดก็ ปฐมวยั ควรไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหม้ ที กั ษะหรอื ความสามารถในการแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใชก้ ระบวนการออกแบบซง่ึ เปน็ กระบวนการ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้ความรู้และทักษะ รวมทั้งความคิดสร้างสรรค์ ซ่ึงอาจใช้กระบวนการท่ีเรียกว่า กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มีรายละเอียดดังน้ี กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ตวั อย่างพฤติกรรมสำ� หรับเดก็ ปฐมวยั • ระบุปัญหา ค้นหาสาเหตุของปญั หาหรอื ความต้องการทจ่ี �ำเปน็ ตอ้ งแกป้ ญั หาอย่างง่าย โดยระบวุ า่ อะไรคือปัญหาหรือ • รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ เพอื่ สรรหาวิธกี าร ความตอ้ งการรว่ มกับเพ่ือนและครู ที่เป็นไปได้ • เลอื กและออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา ค้นหา รวบรวมขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ โดยอาจใช้การสงั เกต ส�ำรวจ สืบค้น • ด�ำเนนิ การแกป้ ญั หาเพ่อื สร้างต้นแบบ สืบเสาะ ระดมความคิด อภิปราย หรืออน่ื ๆ อย่างเหมาะสมตามวัย เพ่อื หาวิธีการแก้ปัญหาทนี่ ่าจะเปน็ ไปได้ • ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แกไ้ ขต้นแบบ รว่ มกับเพ่ือนและครู • นำ� เสนอต้นแบบ วิธกี ารและผลการแกป้ ญั หา เลือกวธิ กี ารแกป้ ัญหาท่ีน่าจะเป็นไปได้ แลว้ ออกแบบตามวิธที ี่เลือกโดยอาจใช้การเล่า การวาดเขียนหรอื ร่างแบบ หรอื การสรา้ งแบบจำ� ลองอย่างง่ายเพ่ือถ่ายทอดส่งิ ทคี่ ดิ อย่างเป็นลำ� ดบั ขนั้ ตอน วางแผนการแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ลำ� ดับขั้นตอนตั้งแตเ่ รม่ิ ตน้ จนสน้ิ สดุ ตามวิธกี ารทอ่ี อกแบบ โดยวางแผนถึง ส่งิ ท่ีจำ� เป็นต้องใชแ้ ละวธิ ีการใช้ แลว้ ลงมอื สรา้ งช้ินงานหรอื วธิ ีการเพอื่ แกป้ ญั หาตามท่ีวางแผนไว้ ทดสอบและประเมนิ แบบจำ� ลองหรือตน้ แบบซึง่ อาจเป็นชน้ิ งานหรอื วิธีการรว่ มกบั เพอ่ื นและครู โดยผลทีไ่ ด้ อาจนำ� มาใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาให้ดียิง่ ขนึ้ น�ำเสนอวธิ กี ารหรอื ช้ินงานทสี่ รา้ งเพอ่ื แกป้ ัญหาทเี่ หมาะสมตามวยั โดยอาจใช้การสนทนาถงึ วธิ ีการท�ำ ผลการทดสอบและปรับปรุง รบั ฟังความคดิ เหน็ จากผทู้ ี่เกย่ี วข้องเพอ่ื นำ� มาปรับปรุงหรอื พฒั นาในคร้ังตอ่ ไป 64

การคิดเชิงค�ำนวณ เด็กปฐมวัยควรได้รับการส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยมีการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลเป็น ข้ันตอน เพอื่ หาวธิ ีการแกป้ ัญหา ซ่ึงองคป์ ระกอบทสี่ ำ� คญั ของการคดิ เชิงค�ำนวณ มรี ายละเอียดดังนี้ องคป์ ระกอบที่สำ� คัญของการคดิ เชิงค�ำนวณ ตัวอย่างพฤติกรรมท่ีเป็นพ้ืนฐานของการพัฒนาการคดิ เชิงค�ำนวณส�ำหรับเดก็ ปฐมวัย • การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปญั หา/งานย่อย สังเกตรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ประสาทสมั ผสั บอกสว่ นประกอบหรอื จ�ำแนกสิ่งตา่ ง ๆ ออกเป็นส่วน ๆ • การพจิ ารณารปู แบบของปญั หาหรอื วธิ กี ารแกป้ ญั หา เพ่อื ให้ง่ายต่อการแกป้ ญั หา สงั เกตรายละเอียดของสิ่งตา่ ง ๆ โดยใชป้ ระสาทสัมผัส จับค่แู ละเปรยี บเทยี บความเหมือนและความแตกตา่ ง • การพิจารณาสาระสำ� คญั ของปัญหา ของสงิ่ ต่าง ๆ จ�ำแนกและจดั กลุม่ ส่ิงตา่ ง ๆ เช่อื มโยงหรอื ใชป้ ระสบการณ์เดมิ ในการแกป้ ัญหาไปสู่การสร้าง • การออกแบบอัลกอริทมึ ประสบการณใ์ หม่ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจพ้นื ฐานเก่ียวกบั แบบรปู และความสมั พนั ธ์ สังเกตรายละเอยี ดของสิง่ ต่าง ๆ โดยใช้ประสาทสัมผสั มีสว่ นรว่ มในการลงความเหน็ จากขอ้ มลู อย่างมเี หตุผล ระบุปัญหาอย่างงา่ ยหรอื บอกความตอ้ งการทีเ่ กยี่ วข้องกบั ปญั หา บอกสิง่ ทส่ี �ำคัญหรอื จำ� เป็นเพ่ือใชแ้ ก้ปญั หา สังเกตรายละเอยี ดของส่งิ ต่าง ๆ โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั เรยี งล�ำดับส่ิงของหรือเหตกุ ารณ์ มสี ว่ นร่วมใน การวางแผน ออกแบบ กำ� หนดขั้นตอนในการสำ� รวจตรวจสอบหรือแกป้ ญั หาอย่างง่าย น�ำเสนอกระบวนการ อยา่ งเป็นลำ� ดบั เพ่ือถา่ ยทอดใหผ้ ู้อ่ืนเขา้ ใจด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ มีความรูค้ วามเข้าใจพ้นื ฐานทางคณิตศาสตร์ ท่ีเก่ียวกบั อนั ดบั ที่และเวลา 65

ทักษะหรือความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมและการคิดเชิงค�ำนวณ น�ำเสนอเป็น ตารางการวิเคราะห์ความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังทาง วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรส์ ำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั ดงั รายละเอยี ด ในภาคผนวก ด้านความคิดรวบยอด เด็กปฐมวัยควรได้รับการส่งเสริมให้มี ความคิดรวบยอดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้เทคโนโลยีเก่ียวกับลักษณะ และสว่ นประกอบของวตั ถุหรอื สงิ่ ของเครือ่ งใช้ ประโยชน์และการเลอื กใช้ สง่ิ ของเครอ่ื งใชอ้ ยา่ งเหมาะสม การเปลยี่ นแปลงของวตั ถหุ รอื สงิ่ ของเครอื่ งใช้ เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารเลอื กใชว้ สั ดอุ ปุ กรณท์ เ่ี หมาะสมในการทำ� งานหรอื แกป้ ญั หา อย่างเหมาะสมกบั วัย ส่งิ ที่เดก็ ปฐมวยั เรยี นรใู้ นเทคโนโลยแี สดงได้ดังแผนภาพที่ 10 แผนภาพท่ี 10 สิ่งท่เี ด็กปฐมวยั ควรเรยี นรู้ในเทคโนโลยี 66

เดก็ ปฐมวยั เรยี นร้อู ะไรในคณติ ศาสตร์ ด้านเจตคติ เดก็ ปฐมวัยควรได้รับการสง่ เสรมิ ใหม้ เี จตคตทิ ีด่ ตี ่อคณิตศาสตร์ • การจับคู่หนึ่งต่อหน่ึง (One-to-one correspondence) เป็น ซ่ึงเป็นคุณลักษณะที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้คณิตศาสตร์และความรู้สึกต่อการเรียนรู้ การจับคูก่ ัน (Matching or Pairing) ในลกั ษณะความสัมพันธแ์ บบหนงึ่ ตอ่ หนึง่ (One- คณิตศาสตร์ ได้แก่ แสดงความกระตือรือร้น สนใจในการเรียนรู้ มุ่งม่ันในการท�ำ to-one relationship) ระหว่างส่ิงตา่ ง ๆ สองสง่ิ หรอื สองกลมุ่ ซงึ่ เป็นพน้ื ฐานทส่ี �ำคญั กิจกรรมและใช้คณติ ศาสตร์เพื่อแกป้ ญั หาที่เกย่ี วขอ้ งกับชวี ิตประจ�ำวัน ของจ�ำนวนและการดำ� เนินการ โดยการจบั คู่หนึง่ ตอ่ หน่งึ ใช้ในการนับเพ่อื บอกจำ� นวน ด้านทักษะหรือความสามารถ เด็กปฐมวยั ควรได้รับการสง่ เสรมิ พฒั นาทกั ษะ ในลกั ษณะของการจบั คหู่ นงึ่ ตอ่ หนง่ึ ระหวา่ งชอื่ เรยี กจำ� นวน (Number name) กบั สง่ิ ท่ี และกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ย่างเหมาะสมตามวยั ไดแ้ ก่ การแก้ปญั หาตามวยั นบั โดยนบั เพยี งครั้งเดยี ว ไมน่ ับซ�ำ้ หากเด็กไมม่ ีพ้ืนฐานการจับคูห่ น่งึ ตอ่ หนึ่ง เด็กจะไม่ การใหเ้ หตผุ ลงา่ ย ๆ การสอื่ สารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตรเ์ พอ่ื ถา่ ยทอดให้ สามารถนับเพื่อบอกจ�ำนวนได้ถูกต้อง รวมไปถึงเป็นพ้ืนฐานที่ใช้ในการเปรียบเทียบ ผู้อื่นเข้าใจด้วยวิธีต่าง ๆ การเช่ือมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวัน จำ� นวนระหว่างสง่ิ ต่าง ๆ สองกลมุ่ เพื่อบอกปรมิ าณวา่ เทา่ กันหรอื ไมเ่ ทา่ กัน และกลุม่ ใด และเชอ่ื มโยงความรทู้ างคณติ ศาสตรใ์ นการเรยี นรเู้ รอื่ งอน่ื ๆ รวมไปถงึ การคดิ สรา้ งสรรค์ มีจำ� นวนมากกว่าหรือนอ้ ยกว่า โดยหากจบั ค่สู ่ิงตา่ ง ๆ สองกลุม่ ไดพ้ อดแี สดงวา่ ส่งิ ของ ในการขยายแนวคดิ หรือสร้างแนวคดิ ใหมเ่ พอ่ื ปรบั ปรงุ พัฒนาความรู้ ในสองกลุ่มน้ันมีจ�ำนวนเท่ากัน หากไม่พอดีแสดงว่ามีจ�ำนวนไม่เท่ากัน และกลุ่มที่มี ดา้ นความคดิ รวบยอด เดก็ ปฐมวยั ควรไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามคดิ รวบยอด ส่ิงของเหลืออยู่แสดงว่ามีจ�ำนวนมากกว่าอีกกลุ่มหน่ึง นอกจากน้ี ในการเรียงล�ำดับ ทางคณิตศาสตร์ (Mathematical concepts) ที่มีความซับซ้อนขึ้นตามล�ำดับ จ�ำนวนก็จ�ำเป็นต้องอาศัยการจับคู่หน่ึงต่อหนึ่งเพื่อบอกปริมาณท่ีเท่ากันหรือไม่เท่ากัน ตามสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ประกอบดว้ ย 3 สาระส�ำคัญ ดังนี้ และกลมุ่ ใดมีจำ� นวนมากท่ีสุดหรือน้อยทสี่ ดุ อีกดว้ ย • จำ� นวนและพีชคณติ เด็กควรเรยี นรูเ้ ก่ียวกับความหลากหลายของ การแสดงจำ� นวน การดำ� เนินการของจำ� นวน ผลทเ่ี กิดขึน้ จากการด�ำเนินการ การระบุ แบบรปู และความสัมพันธ์ • การวัดและเรขาคณิต เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการวัด ความยาว น้�ำหนัก ปริมาตร เวลา เงนิ การบอกตำ� แหนง่ ทศิ ทาง ระยะทาง และรูปเรขาคณติ • สถิตแิ ละความน่าจะเป็น เดก็ ควรเรียนรู้เกยี่ วกับการใหข้ อ้ มลู และ นำ� เสนอขอ้ มลู ที่เกย่ี วกับตนเองและสง่ิ แวดล้อม การสง่ เสรมิ ความคดิ รวบยอดทางคณติ ศาสตร์ เดก็ ปฐมวยั จำ� เปน็ ตอ้ ง ไดร้ บั การพฒั นาความคิดรวบยอดพนื้ ฐานทางคณิตศาสตร์ (Early Mathematics concepts) เพอ่ื เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการเรยี นรใู้ นดา้ นความคดิ รวบยอดซงึ่ มี ความซับซ้อนมากขึ้น ทัง้ น้ี ความคิดรวบยอดพน้ื ฐานทางคณติ ศาสตร์ ไดแ้ ก่ การจับคู่ หนงึ่ ต่อหน่งึ การจำ� แนก การเปรียบเทียบ และการเรียงลำ� ดบั โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี 67

• การจำ� แนก (Classifying) เปน็ การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ ตา่ ง ๆ ทม่ี ลี กั ษณะเหมอื นกนั สมั พนั ธก์ นั หรอื แตกตา่ งกนั เชน่ สี รปู รา่ ง ขนาด หนา้ ทก่ี ารใชง้ าน เหตุการณ์ โดยการคดั แยกและจดั กลุ่มสิ่งตา่ ง ๆ อยา่ งสมเหตสุ มผล การจำ� แนกช่วย พัฒนาการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลและเป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญที่ใช้ในการจ�ำแนกรูป เรขาคณติ การบอกกิจกรรมหรอื เหตุการณใ์ นชีวิตประจ�ำวันตามช่วงเวลา การสงั เกต แบบรปู ของสงิ่ ตา่ ง ๆ การรวมและการแยก และการนำ� เสนอขอ้ มลู ในรปู แผนภมู อิ ยา่ งงา่ ย • การเปรียบเทียบ (Comparing) เปน็ การหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง สงิ่ ต่าง ๆ สองสงิ่ หรือสองกลุ่มที่มีลกั ษณะเหมือนหรอื แตกตา่ งกัน เชน่ สี รปู ร่าง ขนาด รวมไปถงึ การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณของสง่ิ ตา่ ง ๆ สองกลมุ่ โดยอาศยั การจบั คู่ หนงึ่ ตอ่ หนงึ่ เพอื่ บอกปรมิ าณวา่ เทา่ กนั ไมเ่ ทา่ กนั มากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ การเปรยี บเทยี บ เปน็ พนื้ ฐานทสี่ ำ� คญั ทใี่ ชใ้ นการวดั การชงั่ การตวง การเปรยี บเทยี บจำ� นวนของสงิ่ ตา่ ง ๆ การสังเกตแบบรูปของสง่ิ ต่าง ๆ และการนำ� เสนอข้อมูลในรูปแผนภมู ิอย่างง่าย • การเรยี งล�ำดับ (Ordering, Seriation) เป็นการหาความสัมพันธ์ ของสิง่ ตา่ ง ๆ มากกว่าสองสงิ่ หรอื สองกลุ่มข้นึ ไปท่ีมลี ักษณะร่วมกนั เช่น ขนาด ปริมาณ แลว้ นำ� มาจดั เรยี งโดยมีจดุ เรมิ่ ต้นและทศิ ทาง การเรยี งลำ� ดับเป็นพื้นฐานท่สี �ำคญั ท่ีใช้ ในการวดั สง่ิ ตา่ ง ๆ การเรยี งลำ� ดบั กจิ กรรมหรอื เหตกุ ารณใ์ นชวี ติ ประจำ� วนั ตามชว่ งเวลา การเรียงลำ� ดบั จ�ำนวนของสิง่ ตา่ ง ๆ การสังเกตแบบรปู ของสงิ่ ต่าง ๆ และการนำ� เสนอ ข้อมูลในรูปแผนภมู ิอยา่ งงา่ ย สงิ่ ที่เดก็ ปฐมวยั เรียนรใู้ นคณติ ศาสตร์แสดงไดด้ ังแผนภาพท่ี 11 แผนภาพท่ี 11 ส่งิ ที่เดก็ ปฐมวยั ควรเรยี นร้ใู นคณติ ศาสตร์ 68

การพัฒนาความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยต้องเริ่มจากการพัฒนาความคิดรวบยอดพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็ก จากนั้นจึงจัดล�ำดับหัวข้อ การเรียนรู้โดยควรค�ำนึงถึงล�ำดับความซับซ้อนของสาระส�ำคัญทางคณิตศาสตร์ในแต่ละสาระ และควรเริ่มจากสาระส�ำคัญทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็นพ้ืนฐานไปสู่สาระส�ำคัญ ทางคณติ ศาสตรท์ ซี่ บั ซอ้ นขนึ้ ตามลำ� ดับ ดังแสดงในแผนภาพที่ 12 นอกจากนีใ้ นการจัดประสบการณต์ ้องมีการตรวจสอบความรู้พนื้ ฐานและจดั กิจกรรมพฒั นาความร้พู น้ื ฐานนั้น ให้กบั เดก็ ก่อนทีจ่ ะพัฒนาความคิดรวบยอดใหม่ สาระส�ำคญั ล�ำดับหวั ขอ้ การเรียนรู้ จำ� นวน การนบั ปากเปลา่ การนับและบอก การแสดงส่งิ ต่าง ๆ การเปรยี บเทยี บ การเรียงล�ำดบั การบอกและ การรวมกลมุ่ และ พีชคณติ ตามลำ� ดบั จำ� นวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามจำ� นวนทกี่ ำ� หนด จำ� นวน จ�ำนวน แสดงอันดบั ที่ แยกกลุ่ม การวัด - ความยาว การอา่ นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ การใชต้ ัวเลขฮนิ ดอู ารบิกแสดงจ�ำนวน การอา่ นตวั เลขไทย - นำ�้ หนัก - ปรมิ าตร การแสดงแบบรปู ให้เหมอื นกบั แบบรปู การตอ่ แบบรูปของส่ิงตา่ ง ๆ ให้เข้าชุดกบั การสร้างแบบรปู ตามความคดิ ของตนเอง - เวลา ท่กี �ำหนด แบบรูปท่กี �ำหนด - เงนิ การเปรยี บเทียบความยาว การเรียงล�ำดบั ความยาว การวัดความยาวโดยใชเ้ คร่ืองมอื และหนว่ ยท่ีไม่ใช่หนว่ ย มาตรฐาน การเปรียบเทยี บน้ำ� หนัก การเรียงลำ� ดบั น�้ำหนัก การชง่ั โดยใช้เครื่องมอื และหน่วยทไี่ ม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน การเปรยี บเทยี บปรมิ าตร การเรยี งล�ำดับปริมาตร การตวงโดยใช้เคร่อื งมอื และหน่วยทไ่ี มใ่ ช่หน่วยมาตรฐาน การบอกกจิ กรรมหรอื เหตุการณ์ตาม การบอกกจิ กรรม การบอกกิจกรรม เรยี งล�ำดบั กจิ กรรมหรอื เหตุการณใ์ นชวี ิตประจ�ำวัน ช่วงเวลากลางวนั -กลางคนื และกอ่ น-หลงั หรอื เหตุการณ์ หรอื เหตกุ ารณ์ ตามชว่ งเวลา เช้า บ่าย เย็น เม่ือวานนี้ วนั นี้ พรงุ่ น้ี ที่เกดิ ข้นึ วนั นี้ ตามชว่ งเวลา เม่อื วานนี้ พรุ่งน้ี เช้า บ่าย เยน็ การสำ� รวจและจ�ำแนกเงินออกจากสิง่ อ่ืน การจ�ำแนกและบอกชนดิ ของเงินเหรียญ การจำ� แนกและบอกชนดิ การบอกคา่ ของเงินเหรียญ ของเงินเหรยี ญและธนบตั ร 69

สาระสำ� คญั ลำ� ดบั หัวขอ้ การเรียนรู้ เรขาคณติ การบอกต�ำแหนง่ ของส่งิ ตา่ ง ๆ การบอกต�ำแหนง่ ของส่ิงต่าง ๆ และแสดง การบอกตำ� แหน่ง ทศิ ทาง ระยะทางของสง่ิ ต่าง ๆ และ สถิติและ การจ�ำแนกและระบุสง่ิ ต่าง ๆ ที่เหมือน ส่ิงตา่ ง ๆ ตามต�ำแหน่งที่ก�ำหนด แสดงสงิ่ ต่าง ๆ ตามตำ� แหนง่ ทศิ ทาง ระยะทางท่ีกำ� หนด ความน่าจะเป็น หรือคลา้ ยทรงกลม ทรงสี่เหลย่ี มมมุ ฉาก การมสี ่วนรว่ มในการให้ขอ้ มลู การจำ� แนกและระบุส่งิ ต่าง ๆ ทเี่ หมอื น การจ�ำแนกและระบุสิง่ ตา่ ง ๆ ท่เี หมอื นหรือคลา้ ยวงกลม หรอื คลา้ ยทรงกลม ทรงสเี่ หล่ียมมมุ ฉาก รูปส่ีเหลีย่ ม และรูปสามเหลย่ี ม ทรงกระบอก และกรวย การจดั กระทำ� กบั ขอ้ มลู การนำ� เสนอขอ้ มลู และสนทนาเก่ียวกบั ขอ้ มลู ในแผนภมู ิ อย่างงา่ ย แผนภาพที่ 12 ตัวอยา่ งการจดั ล�ำดับหัวขอ้ การเรยี นรู้ตามระดับความซบั ซ้อนของความคดิ รวบยอดทางคณิตศาสตร์ 70

การประเมนิ การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย การประเมนิ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั 3. การประเมนิ การเรยี นรคู้ วรใหค้ วามสำ� คญั ทงั้ ดา้ นเจตคตแิ ละทกั ษะ อายุ 3-6 ปี เป็นไปเพ่ือรับรู้ พัฒนา และส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หรอื ความสามารถตามสภาพจรงิ ตามศกั ยภาพที่มคี วามแตกต่างกนั การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เปน็ กระบวนการ 4. การประเมนิ การเรยี นรคู้ วรนำ� ไปสกู่ ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศ ต่อเนื่องและเป็นสว่ นหนึ่งของกิจกรรมปกติทีจ่ ดั ข้นึ ใหเ้ ดก็ ในแต่ละวัน ผลการประเมนิ เก่ียวกับตัวเด็กปฐมวัยอย่างรอบด้านอย่างสอดคล้องกับจุดประสงค์และผลการเรียนรู้ จะเป็นข้อมูลท่ีช่วยให้ครูผู้สอนหรือผู้ท่ีเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กน�ำไปวางแผน ที่คาดหวัง ให้ความส�ำคัญท้ังกระบวนการและผลผลิต โดยการใช้เคร่ืองมอื และวธิ ีการ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรสู้ ำ� หรบั เดก็ แตล่ ะคนใหไ้ ดร้ บั การสง่ เสรมิ และพฒั นาตาม ประเมินท่ีหลากหลาย อาทิ การสังเกต การสนทนา การบันทกึ พฤติกรรม ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ทงั้ ดา้ นเจตคติ และดา้ นทกั ษะหรอื ความสามารถมากกวา่ การตดั สนิ 5. การประเมนิ การเรยี นรคู้ วรเปน็ กระบวนการทท่ี ำ� ใหไ้ ดข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั วา่ ผา่ นหรือไม่ โดยไมค่ วรใชแ้ บบทดสอบ ตัวเด็กและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้เด็กเกิดความสนใจใฝ่รู้และ การประเมนิ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ความกระตือรือร้นในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาไปสู่การเกิดเจตคติและทักษะหรือ ควรยดึ หลักดังน้ี ความสามารถซ่ึงจะน�ำไปสู่การพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ 1. การประเมินการเรียนรู้ควรกระท�ำควบคู่ไปกับกระบวนการ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรต์ ่อไป จดั ประสบการณ์การเรยี นร้ขู องเด็กปฐมวัยอยา่ งสม่ำ� เสมอและต่อเน่ืองเปน็ รายบคุ คล วิธกี ารประเมนิ พฒั นาการตามสภาพจริงทเ่ี หมาะสมสำ� หรับเด็กอายุ 3–6 ปี 2. การประเมนิ การเรยี นรคู้ วรสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคข์ องแตล่ ะกจิ กรรม ไดแ้ ก่ การสังเกต การบนั ทกึ พฤตกิ รรม การสนทนากบั เดก็ การสมั ภาษณ์ การวิเคราะห์ ซง่ึ จดั ขนึ้ อยา่ งเหมาะสมตามวยั ในแตล่ ะชว่ งอายุ และเชอ่ื มโยงไปสผู่ ลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั ขอ้ มลู จากผลงานเดก็ ที่เกบ็ อย่างเปน็ ระบบโดยอาจจัดท�ำแฟ้มสะสมผลงาน ทกี่ ำ� หนดไวเ้ ปน็ แนวทางตามกรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวัยทสี่ ัมพันธก์ ับมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตวั บง่ ช้ี และสภาพที่ พึงประสงค์ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั 71

72

สว่ นท่ี 3 แนวทางการใช้กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวัย แนวทางการใช้กรอบการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ในการออกแบบและวางแผนการจัดประสบการณ์ คณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ในระดับปฐมวัย มรี ูปแบบและแนวทางการจัดการเรียนรทู้ ี่หลากหลาย เชน่ การจดั ประสบการณ์แบบหน่วยการจัดประสบการณ์ (Theme) การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project-based learning) หรอื แนวการสอนแบบโครงการ (Project approach) การเรยี นรู้โดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-based learning) การเรยี นร้บู ูรณาการ ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา (STEM Education) หรือสตีมศึกษา (STEAM Education) การสอนแบบมอนเตสซอรี่ (Montessori) การสอนแบบเรกจโิ อเอมเิ ลยี (Reggio Emilia) การจัดการเรียนรูแ้ บบไฮสโคป (Highscope) การเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเป็นฐาน (Brain- based learning) กรณีที่สถานศึกษาก�ำหนดรูปแบบการจัดประสบการณ์แบบหน่วยการจัด ประสบการณ์ ครสู ามารถนำ� กรอบการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ในระดบั ปฐมวยั ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ หรอื ออกแบบการจดั ประสบการณ์การเรยี นรบู้ ูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย เพ่ือใหบ้ รรลุตามผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ท่ีกำ� หนดไวใ้ นกรอบการเรยี นรฯู้ ส่วนที่ 1 โดยสามารถทำ� ได้ 2 แนวทาง ดังนี้ 73

แนวทางท่ี 1 การปรบั ปรงุ หรือพฒั นาแผนการจดั ประสบการณ์ที่มีอย่เู ดมิ แนวทางที่ 2 การจดั ทำ� แผนการจดั ประสบการณ์ข้นึ ใหม่ ศกึ ษาทำ� ความเข้าใจกรอบการเรียนรู้ฯ ศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจกรอบการเรยี นรฯู้ พิจารณาและวิเคราะห์หน่วยการจดั ประสบการณ์ ออกแบบหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ปรบั ปรงุ หรือพัฒนาแผนการจดั ประสบการณ์ เขยี นแผนการจัดประสบการณ์ แผนภาพท่ี 13 แนวทางการใชก้ รอบการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวยั 74

แนวทางท่ี1ใชก้ รอบการเรยี นรฯู้ ในการปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาแผนการจดั ประสบการณ์ แนวทางที่ 2 ใชก้ รอบการเรยี นรฯู้ เปน็ แนวทางในการจดั ทำ� แผนการจดั ประสบการณ์ ทม่ี ีอยูเ่ ดมิ สามารถดำ� เนินการตามแนวทางดงั นี้ ขึ้นใหม่ สามารถด�ำเนนิ การตามแนวทางดงั น้ี 1. ศึกษาท�ำความเข้าใจกรอบการเรียนรู้ฯ เพ่ือเป็นแนวทางในการปรับปรุง 1. ศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจกรอบการเรยี นรฯู้ เพอื่ เปน็ แนวทางในการจดั ทำ� แผน หรือพัฒนาการจัดประสบการณ์ให้เด็กได้รับการพัฒนาเจตคติและทักษะหรือ การจัดประสบการณ์ให้เด็กได้รับการพัฒนาเจตคติและทักษะหรือความสามารถตาม ความสามารถตามผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย ในระดับปฐมวัย โดยใชส้ าระท่ีควรเรียนรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ และใช้สาระที่ควรเรียนรทู้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ในระดับปฐมวัยเป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์โดยค�ำนึงถึงความสอดคล้องกับวัย เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์โดยค�ำนึงถึงความสอดคล้องกับวัย ความสามารถ ความสามารถ ความต้องการ ความสนใจของเดก็ เปน็ รายบุคคล ความตอ้ งการ ความสนใจของเดก็ เปน็ รายบคุ คล 2. พจิ ารณารายละเอยี ดของหนว่ ยการจดั ประสบการณท์ ม่ี อี ยเู่ ดมิ ซงึ่ ประกอบ 2. ออกแบบหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ โดยใชก้ รอบการเรยี นรฯู้ ในการกำ� หนด ดว้ ยมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ตวั บง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หัวเร่ืองหรือชื่อหน่วยการจัดประสบการณ์ และก�ำหนดรายละเอียดของหน่วยการจัด และสาระการเรียนรู้ทั้งประสบการณ์ส�ำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ และวิเคราะห์ ประสบการณ์ ดงั นี้ ความสอดคลอ้ งและความครอบคลมุ กบั กรอบการเรยี นรฯู้ โดยวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ ง 2.1 กำ� หนดหวั เรอ่ื งหรอื ชอ่ื หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ โดยพจิ ารณาจาก ของจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการจัดประสบการณ์กับผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง สาระที่ควรเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามกรอบการเรียนรู้ฯ วิเคราะห์ความครอบคลุมและความเหมาะสมของสาระท่ีควร ซง่ึ ระบไุ วใ้ นกรอบการเรยี นรฯู้ สว่ นที่ 1 อาจเลอื กเพยี งหวั ขอ้ ใดหวั ขอ้ หนงึ่ หรอื มากกวา่ เรียนรู้ในหน่วยการจัดประสบการณ์กับสาระท่ีควรเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หนึ่งหัวข้อเพ่ือให้เด็กได้เรียนรู้แบบบูรณาการระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี หรือ และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ทรี่ ะบใุ นกรอบการเรยี นรฯู้ ตามชว่ งวยั ทง้ั นส้ี ามารถยดื หยนุ่ คณติ ศาสตร์ และนำ� มากำ� หนดเปน็ ขอบเขตของสาระทต่ี อ้ งการใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรใู้ หเ้ หมาะสม และปรับให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในชวี ติ ประจ�ำวนั ของเดก็ และบริบทของสถานศกึ ษา กับวยั และพัฒนาการของเด็ก ตรงตามความต้องการและความสนใจของเด็กสอดคลอ้ ง 3. ปรับปรุงหรือพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์ ให้มีความสอดคล้องและ กบั สภาพและบรบิ ทในชวี ติ ประจำ� วนั ของเดก็ และบรบิ ทของสถานศกึ ษา การกำ� หนดหวั เรอ่ื ง ครอบคลุมตามกรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการ สามารถท�ำได้โดยครเู ป็นผกู้ �ำหนด ครูและเด็กร่วมกนั ก�ำหนด หรอื เดก็ เปน็ ผกู้ ำ� หนด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย โดยปรับปรุงหรือพัฒนา 2.2 ก�ำหนดรายละเอียดของหน่วยการจัดประสบการณ์ ประกอบด้วย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรม รวมถึงการประเมินการเรยี นรู้ มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ตวั บ่งช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และสาระการเรียนรู้ท้ังประสบการณ์ส�ำคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ให้สัมพันธ์กันทุก องค์ประกอบ โดยสอดแทรกผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ในระดับปฐมวยั รวมไปถึงสาระที่ควรเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ตามกรอบการเรยี นรฯู้ ทเี่ หมาะสมกบั เดก็ และสอดคลอ้ ง กบั บริบทของสถานศกึ ษา โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ 75

2.2.1 มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ตวั บง่ ช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ในระดบั ปฐมวยั ตามกรอบการเรยี นรฯู้ ทสี่ มั พนั ธก์ บั หวั เรอ่ื งของหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ กำ� หนดมาตรฐานคุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงคท์ เี่ ด็กจะไดร้ บั มาก�ำหนดรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ท้ังในลักษณะทเี่ ปน็ แนวคดิ เนอ้ื หา ทักษะ หรอื เจตคติ การพัฒนาจากหน่วยการจัดประสบการณ์โดยค�ำนึงถึงความสอดคล้องกับวัย โดยคำ� นึงถงึ ส่ิงท่ีเดก็ รแู้ ลว้ ส่งิ ทเ่ี ด็กตอ้ งการรู้ และสงิ่ ทเ่ี ด็กควรรู้ พิจารณาใหม้ รี ะดับ ครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ด้าน และสง่ เสริมให้เดก็ เกดิ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั ทาง ความยากงา่ ยของสาระทคี่ วรเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั วยั และสงิ่ แวดลอ้ มในชวี ติ จรงิ ของเดก็ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ตามทรี่ ะบใุ นกรอบการเรยี นรฯู้ 3. เขยี นแผนการจดั ประสบการณ์ ออกแบบและกำ� หนดกจิ กรรมทช่ี ว่ ยใหเ้ ดก็ 2.2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ ก�ำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ซ่ึงเป็น เกิดการเรียนรู้ครบตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของหน่วยการจัดประสบการณ์ ระบุ พฤติกรรมท่ีต้องการให้เกิดกับเด็กเม่ือท�ำกิจกรรมในหน่วยการจัดประสบการณ์แล้ว รายละเอยี ดทคี่ รอบคลมุ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรซู้ ง่ึ ประกอบดว้ ยประสบการณ์ โดยพิจารณาจากสภาพท่ีพึงประสงค์ และผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังทางวิทยาศาสตร์ สำ� คญั และสาระที่ควรเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ และการประเมิน ก�ำหนดวธิ ีการ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยที่ก�ำหนดไว้ใน กรอบการเรียนรู้ฯ ทั้งน้ี ด�ำเนินกิจกรรมที่สอดคล้องกับพัฒนาการ ช่วงความสนใจของเด็ก และจุดประสงค์ การก�ำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้สามารถก�ำหนดให้สัมพันธ์กับสาระที่ควรเรียนรู้ของ การเรยี นรทู้ ต่ี อ้ งการ โดยครสู ามารถออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามตวั อยา่ งแนวการจดั หนว่ ยการจัดประสบการณโ์ ดยปรบั ให้สอดคล้องกับความสามารถของเดก็ เพื่อนำ� ไปสู่ ประสบการณ์ที่ระบุในตารางแสดงผลการเรียนรู้ที่คาดหวังหรือสาระท่ีควรเรียนรู้ทาง ความสามารถตามสภาพท่ีพึงประสงค์และผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย และควรออกแบบการจัด เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวยั ตอ่ ไป ประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.2.3 สาระการเรียนรู้ ก�ำหนดรายละเอียดของสาระการเรียนรู้ให้ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ทรี่ ะบไุ วใ้ นสว่ นท่ี 2 ความรเู้ บอื้ งตน้ สำ� หรบั เขา้ กบั หวั เรอ่ื งหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ การกำ� หนดสาระการเรยี นรตู้ อ้ งประกอบดว้ ย ครใู นการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ประสบการณส์ ำ� คัญและสาระท่ีควรเรยี นรู้ ดังน้ี ในระดับปฐมวยั   (1) ประสบการณส์ ำ� คญั กำ� หนดประสบการณส์ ำ� คญั ทจี่ ะใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั กจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั หนว่ ยการจดั ประสบการณท์ กี่ ำ� หนด เพอ่ื พฒั นา สามารถดาวน์โหลด เด็กให้บรรลุผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ครสู ามารถคัดเลอื กประสบการณส์ �ำคญั จาก ตวั อยา่ งแนวทางการใช้กรอบการเรยี นรฯู้ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยในส่วนที่สัมพันธ์กับสาระที่ควรเรียนรู้ท่ีก�ำหนดไว้หรืออาจ และตัวอยา่ งแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ พิจารณาปรับเปลี่ยนหรือเพ่ิมเติมประสบการณ์ส�ำคัญที่เก่ียวข้องกับผลการเรียนรู้ท่ี บรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ คาดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ตามกรอบการเรยี นรฯู้ ได้ตาม ในระดบั ปฐมวยั หน่วย ขนมโค เพ่ิมเติมไดท้ ่ี ความเหมาะสม http://ipst.me/11265 หรอื สแกน QR Code (2) สาระทค่ี วรเรยี นรู้ กำ� หนดรายละเอยี ดของสาระทคี่ วรเรยี นรู้ โดยพจิ ารณาและคดั เลอื กสาระทค่ี วรเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ 76

ตัวอยา่ งแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้บรู ณาการ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวยั การใชก้ รอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ในการจัดทำ� แผนการจดั ประสบการณ์ แสดงตัวอยา่ งการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ บรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย (อายุ 5-6 ปี) หนว่ ย ขนมโค โดยนำ� เสนอภาพรวมกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ 5 กจิ กรรม และตวั อยา่ ง แผนการจดั ประสบการณฯ์ ซง่ึ มรี ปู แบบของการบรู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ในหนว่ ยการเรยี นรทู้ งั้ แบบพหวุ ทิ ยาการ (Multidisciplinary) โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เด็กได้เรียนรู้และฝึกทักษะเก่ียวกับวิทยาศาสตร์ ในหน่งึ กิจกรรม ดังตวั อย่างที่ 1 และแบบสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) โดยจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ทเี่ ด็กได้เรยี นรู้และฝึกทักษะเกยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรร์ ว่ มกันภายในหนง่ึ กิจกรรม ดงั ตวั อยา่ งท่ี 2 และ 3 รวมท้ังน�ำเสนอ ตวั อยา่ งการวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของกจิ กรรมกบั กรอบการเรยี นรฯู้ ดงั รายละเอยี ด ตอ่ ไปนี้ 77

ภาพรวมกจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ หนว่ ย ขนมโค การจดั ประสบการณใ์ นหน่วย ขนมโค เด็กได้เรียนรู้เกยี่ วกับการเปลี่ยนแปลงของสารจากการทำ� ขนมโคร่วมกบั ครอู ย่างสนกุ สนาน และไดน้ ำ� ความรู้เก่ียวกับวิธกี ารท�ำ ขนมโคไปใช้ในการออกแบบและท�ำขนมโคให้มีส่วนผสมหรือรูปร่างท่ีแตกต่างไปจากเดิม ตลอดจนสร้างสรรค์กล่องใส่ขนมโค ผ่านการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกัน อย่างมคี วามสุข โดยภาพรวมกจิ กรรมเสริมประสบการณ์ หน่วย ขนมโค มดี งั นี้ กิจกรรมที่ 1 รจู้ กั ขนมโค (S) หนว่ ย กจิ กรรมท่ี 2 แปง้ เปน็ กอ้ นได้อยา่ งไร (S, M, T) - สงั เกตและบอกลกั ษณะของขนมโค ขนมโค - ทดลองท�ำแป้งใหเ้ ป็นกอ้ น - คาดคะเนสว่ นประกอบของขนมโค - สังเกตการเปลย่ี นแปลงของผงแปง้ ขณะท่ี ท�ำให้เปน็ ก้อน - เรยี งลำ� ดบั ขน้ั ตอนการทำ� ผงแปง้ ใหเ้ ปน็ กอ้ น กิจกรรมที่ 5 กลอ่ งใส่ขนมโค (T, M, S) กิจกรรมท่ี 4 ขนมโคของฉัน (T, M, S) กิจกรรมท่ี 3 ทำ� ขนมโคกนั เถอะ (M, S, T) - ออกแบบและประดษิ ฐก์ ล่องใส่ขนมโค - ออกแบบและท�ำขนมโคให้มสี ่วนผสมหรอื - บอกปริมาตรของแป้งและน�ำ้ จากการตวง - นำ� เสนอการออกแบบและขน้ั ตอน รปู ร่างอ่ืน ๆ ท่ีแตกตา่ งไปจากเดมิ - สงั เกตและบอกการเปลย่ี นแปลงท่เี กดิ ขึน้ การสรา้ งกลอ่ งใสข่ นมโค ระหวา่ งท�ำขนมโคแตล่ ะขนั้ ตอน การบูรณาการ S : Science (วิทยาศาสตร์) M : Mathematics (คณติ ศาสตร์) T : Technology (เทคโนโลย)ี 78

ตวั อยา่ งท่ี 1 แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั (อายุ 5-6 ป)ี หนว่ ย ขนมโค กิจกรรมที่ 1 รู้จักขนมโค จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรม สื่อ การประเมิน สาระทค่ี วรเรียนรู้ ประสบการณ์ส�ำคัญ 1. สังเกตขนมโค ขนมโค เปน็ ขนม • การสังเกตลกั ษณะ กิจกรรมที่ 1.1 สงั เกตขนมโค • ขนมโคทท่ี ำ� 1. สงั เกตพฤตกิ รรม โดยใชป้ ระสาท ในทอ้ งถิน่ ของภาคใต้ สว่ นประกอบของ (ประมาณ 20 นาท)ี เสรจ็ แลว้ 2-3 ของเด็กเก่ียวกับ สัมผสั (S) มลี กั ษณะภายนอก สิ่งตา่ งๆ โดยใช้ 1. ร่วมกันสังเกตขนมโคในจาน โดยครูอาจใชค้ ำ� ถามดังนี้ ช้ิน/กลุม่ - การสังเกต เป็นกอ้ นกลม สีขาว ประสาทสัมผัส - เคยเหน็ ขนมชนดิ นห้ี รอื ไม่ มใี ครรจู้ ักบา้ ง เคยกิน • จาน 1 ใบ/กล่มุ ลักษณะของ 2. บอกลักษณะ นมิ่ เหนยี ว คลุกดว้ ย อย่างเหมาะสม หรอื ไม่ • แว่นขยาย 1 ขนมโคโดยใช้ ของขนมโคจาก มะพร้าวขดู ขาว • การคาดเดาหรอื - เดก็ ๆ สงั เกตเหน็ ขนมนม้ี ลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร ชว่ ยกนั อัน/กลมุ่ ประสาทสัมผสั การสงั เกต (S) มกี ลิ่น ขา้ งในมีไส้ การคาดคะเนสง่ิ ที่ บอกลักษณะออกมาใหม้ ากทส่ี ุด (เป็นกอ้ นกลม สีขาว • มีดพลาสตกิ 1 - การแสดง ทำ� จากน�ำ้ ตาลออ้ ย อาจจะเกดิ ข้นึ มีเส้นสีขาวอยู่รอบกอ้ น เหมือนมะพร้าวขูด) อัน/กลุ่ม ความสนใจ 3. สังเกตและ มรี สหวาน อยา่ งมเี หตผุ ล - ถ้าอยากจะสังเกตและบอกลักษณะใหม้ ากข้นึ ตอ้ งทำ� • ชอ้ นหรือส้อม อยากรอู้ ยากเหน็ คาดคะเน • การตัง้ คำ� ถาม อย่างไร (เอาไปดใู กล้ ๆ สัมผัส ดม ชมิ ผ่าดขู า้ งใน) ส�ำหรับชมิ ขนม กระตอื รือร้น สว่ นผสมของ ในเรือ่ งท่สี นใจ 2. แบง่ เดก็ ออกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4-5 คน ใหเ้ ดก็ แตล่ ะกลมุ่ 1 คัน/คน ในการเข้ารว่ ม ขนมโค (S) • การสบื เสาะ ชว่ ยกนั สงั เกตอยา่ งละเอยี ดขน้ึ โดยยงั ไมใ่ หช้ มิ ขณะทเี่ ดก็ กจิ กรรม หาความรเู้ พอ่ื คน้ หา กำ� ลงั สงั เกตครคู วรเขา้ ไปกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ใชป้ ระสาทสมั ผสั 2. สงั เกตการตอบ 4. แสดงความสนใจ ค�ำตอบของ ในการสงั เกตให้มากท่สี ดุ คำ� ถามของเด็ก อยากรู้อยากเหน็ ขอ้ สงสัยต่าง ๆ 3. ใหเ้ ดก็ ๆ บอกลกั ษณะของขนมทสี่ งั เกตพบ มลี กั ษณะ เก่ยี วกับ กระตอื รือร้น อะไรทพ่ี บเพมิ่ ขน้ึ บา้ ง (มกี ลนิ่ กอ้ นขนมนมิ่ เหนยี ว - ลักษณะของ ในการเขา้ ร่วม กิจกรรม มเี สน้ อยรู่ อบ ๆ ) ขนมโค 4. กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ สงั เกตใหม้ ากขน้ึ โดยครอู าจใชค้ ำ� ถามดงั นี้ - คาดคะเน - เดก็ ๆ อยากรหู้ รอื ไมว่ า่ ขา้ งในขนมนม้ี ลี กั ษณะเปน็ สว่ นผสมของ อยา่ งไร และถา้ อยากรจู้ ะทำ� อยา่ งไร (ผา่ ด)ู ขนมโค 79

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรม ส่อื การประเมิน สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำ� คัญ - จะใช้เครือ่ งมอื อะไร เมื่อเด็กตอบ ครูแจกอปุ กรณ์ ตามที่เดก็ ตอ้ งการกลมุ่ ละ 1 อนั จากน้นั นำ� เดก็ สนทนาว่าขา้ งในขนมเป็นอย่างไร (เป็นน้ำ� สนี ำ้� ตาล เหลว เหนียว กลน่ิ เหมอื นนำ�้ ตาล) 5. ถามเดก็ ว่ายังขาดการสงั เกตดว้ ยประสาทสมั ผสั ใด (รสชาต)ิ ตอ้ งทำ� อยา่ งไรจงึ จะรวู้ า่ รสชาตเิ ปน็ อยา่ งไร (ชมิ ) ใหเ้ ดก็ แตล่ ะคนลองชมิ ขนม บอกลกั ษณะทพ่ี บจากการชมิ และชวนสนทนาโดยครูอาจใชค้ ำ� ถามดงั น้ี - ขนมนีเ้ ป็นอย่างไร (ถ้าเดก็ ตอบว่าอรอ่ ย ให้ถามวา่ อรอ่ ยอยา่ งไร) ตอนเคีย้ วรู้สึกอยา่ งไร (เหนยี ว) - เมือ่ เคย้ี วไปแลว้ รสชาตเิ ป็นอยา่ งไร (ไส้มรี สหวาน) - มีใครเคยกนิ ขนมนห้ี รอื ไม่ รู้หรือไมว่ ่าเรียกว่าขนม อะไร (บางคนอาจเคยกนิ ขนมตม้ ถ้ามี ครใู หเ้ ดก็ เล่า ใหเ้ พื่อนฟังวา่ ขนมตม้ เป็นอยา่ งไร มีอะไรท่เี หมอื น มอี ะไรท่แี ตกต่างจากขนมทเ่ี ด็กเพิง่ ชิมไปบ้าง) 6. ใหค้ วามรู้เพ่มิ เติมว่าขนมทนี่ �ำมานเ้ี รียกวา่ “ขนมโค” ซง่ึ เปน็ ขนมของภาคใต้ และใหเ้ ดก็ ๆ รว่ มกนั สรปุ ลกั ษณะ ของขนมโค 80

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรม ส่อื การประเมนิ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ประสบการณ์สำ� คัญ กิจกรรมที่ 1.2 สง่ิ ทอ่ี ยากรเู้ ก่ยี วกับขนมโค (ประมาณ 15 นาท)ี 7. ถามเด็กวา่ อยากรู้อะไรเกีย่ วกับขนมโคอกี บ้าง ใหแ้ ต่ละกลุ่มช่วยกนั ตั้งค�ำถามท่ีอยากรูเ้ กยี่ วกับขนมโค โดยไมซ่ ำ้� กนั บนั ทกึ คำ� ถามของเดก็ บนกระดาน (คำ� ถามท่ี น�ำไปสู่กิจกรรมต่อไป เช่น มีวธิ ที ำ� อยา่ งไร มีสว่ นผสม อะไรบ้าง ทำ� ไมเรยี กวา่ ขนมโค ทำ� รปู รา่ งอ่ืนไดห้ รือไม่ ไสค้ ืออะไร ใส่ไสอ้ ่ืนไดห้ รอื ไม่ ทำ� สอี น่ื ไดห้ รอื ไม)่ 8. ใหเ้ ดก็ รว่ มแสดงความคดิ เหน็ วา่ อยากหาคำ� ตอบในเรอื่ งใด กอ่ น กระตนุ้ ใหเ้ ด็กๆ อยากรู้ส่วนผสมของขนมโค 9. รว่ มกนั สนทนาเกยี่ วกบั สว่ นผสมของขนมโค โดยครอู าจ ใชค้ ำ� ถามดงั น้ี - เด็ก ๆ คดิ วา่ ส่วนผสมของขนมโคมอี ะไรบา้ ง และ เด็ก ๆ รู้ได้อย่างไร (เด็กอาจตอบว่า แป้ง น�ำ้ ตาล มะพรา้ ว เพราะสังเกตเห็นเป็นสีขาว มีรสหวาน มีเสน้ เหมือนมะพรา้ ว หรอื คล้ายขนมท่ที �ำจากแป้ง ท่เี คยกิน) - ถ้าเราจะรูค้ ำ� ตอบ เราจะไปคน้ หาคำ� ตอบทไ่ี หนได้บา้ ง (กลับไปถามคุณแม่ ถามคณุ ยาย ถามปา้ แมค่ รัว ถามแมค่ ้าขนมหวาน ค้นหาในหนังสือ คน้ หาใน อนิ เทอร์เน็ตรว่ มกับผู้ใหญ่) 10. ใหเ้ ดก็ ๆ แตล่ ะคนเลอื กวธิ กี ารหาสว่ นผสมของขนมโค จากวิธีทีเ่ ดก็ ๆ เสนอ แลว้ ใหน้ �ำคำ� ตอบกลบั มาสนทนา รว่ มกนั ในวนั ตอ่ ไป 81

ตวั อยา่ งท่ี 2 แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั (อายุ 5-6 ป)ี หนว่ ย ขนมโค กิจกรรมที่ 2 แปง้ เป็นกอ้ นไดอ้ ยา่ งไร จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรม สอ่ื การประเมนิ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ประสบการณส์ �ำคัญ 1. สงั เกตและบอก แป้งเปลี่ยนแปลง • การเล่นและทำ� งาน กจิ กรรมที่ 2.1 สงั เกตสว่ นผสมขนมโค • ขนมโค 1 จาน 1. สังเกตพฤตกิ รรม ลักษณะของ จากผงกลายเป็นกอ้ น ร่วมกับผอู้ ่นื (ประมาณ 15 นาท)ี • แปง้ ข้าวเหนียว ของเด็ก ส่วนผสมตา่ ง ๆ เม่ือใสน่ ำ�้ ลงไปใน • การสังเกตลักษณะ 1. ใหเ้ ดก็ รว่ มกนั สงั เกตขนมโคทค่ี รใู สจ่ านวางบนโตะ๊ หนา้ หอ้ ง ประมาณ - การสังเกต ของขนมโค (S) ผงแปง้ ด้วยปรมิ าณท่ี ส่วนประกอบ และนำ� เดก็ สนทนารว่ มกนั โดยครอู าจใชค้ ำ� ถามดงั น้ี 1 กโิ ลกรมั - การทดลอง 2. ทดลองและบอก เหมาะสมและใช้มือ การเปลย่ี นแปลง - เดก็ ๆ จำ� ไดห้ รอื ไมว่ า่ ขนมทอ่ี ยบู่ นโตะ๊ มชี อ่ื วา่ อะไร • ถ้วยพลาสติก - การร่วมแสดง การเปลีย่ นแปลง นวดแปง้ และความสมั พันธ์ (ขนมโค) ขนาด 4 ออนซ์ ความคดิ เห็น ของแปง้ ใน ของสงิ่ ตา่ ง ๆ โดยใช้ - มใี ครไดไ้ ปคน้ หาสว่ นผสมของขนมโคมาบา้ งหรอื ไม่ ส�ำหรบั ตวงแปง้ และยอมรับ การท�ำผงแป้งให้ ประสาทสมั ผสั อยา่ ง และไดค้ ำ� ตอบวา่ อยา่ งไร (ถา้ มใี หเ้ ดก็ ออกมานำ� เสนอ 1 ใบ/กลมุ่ ความคดิ เหน็ ของ เปน็ ก้อน (S, M) เหมาะสม วา่ ไดค้ ำ� ตอบมาจากไหน ครบู นั ทกึ สว่ นผสมไวบ้ นกระดาน) • ถ้วยพลาสตกิ ผ้อู ่นื 3. เรยี งล�ำดบั • การชั่ง ตวง วัด - ถา้ ไมม่ ใี ครหาขอ้ มลู มาครใู หเ้ ดก็ คาดคะเนสว่ นผสมเอง ขนาด 4 ออนซ์ 2. สงั เกตการตอบ ขั้นตอนการทำ� สง่ิ ตา่ ง ๆ โดยใช้ จากการสงั เกตขนมโคหนา้ หอ้ ง พรอ้ มใหเ้ ดก็ บอกเหตผุ ล สำ� หรบั ตวงน้�ำ คำ� ถามของเด็ก ผงแป้งใหเ้ ปน็ ก้อน เครอื่ งมอื และหนว่ ย 2. ใหเ้ ดก็ รว่ มกนั สรปุ สว่ นผสมของขนมโค จากนนั้ นำ� สว่ นผสม 1 ใบ/กล่มุ เกยี่ วกบั (M, T) ทไ่ี มใ่ ช่หน่วย ขน้ึ มาแนะนำ� ชอื่ และสง่ ไปใหเ้ ดก็ สงั เกต ทลี ะอยา่ ง • ชอ้ นทมี่ กี า้ นยาว - ลักษณะของ 4. ร่วมแสดง มาตรฐาน พรอ้ มสนทนารว่ มกนั โดยครอู าจใชค้ ำ� ถามดงั น้ี หรอื มดี พลาสตกิ สว่ นผสมตา่ ง ๆ ความคิดเห็นและ • การอธบิ ายเชอ่ื มโยง - มะพรา้ วขดู ขาวมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร (เสน้ เลก็ ๆ สขี าว) 1 อัน ของขนมโค ยอมรับ สาเหตแุ ละผลท่ี เดก็ ๆ คดิ วา่ มะพรา้ วขดู เปน็ สว่ นผสมตรงสว่ นใดของ • ชามผสมแปง้ 1 - การเปลยี่ นแปลง ความคดิ เหน็ เกดิ ขน้ึ ในเหตกุ ารณ์ ขนมโค รไู้ ดอ้ ยา่ งไร (คลกุ อยรู่ อบนอก เพราะรอบนอก ใบ/กลุ่ม ของแปง้ ใน ของผู้อืน่ หรอื การกระทำ� ของขนมโค มเี สน้ ๆ ขาว ๆ) • นำ้� เปลา่ การทำ� ให้เป็น - นำ้� ตาลออ้ ยมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร (สนี ำ้� ตาลเปน็ กอ้ น • นำ�้ ตาลออ้ ย กอ้ น แขง็ หวาน มกี ลน่ิ ) เดก็ ๆ คดิ วา่ นำ�้ ตาลออ้ ยเปน็ 1 จาน - ขน้ั ตอนการทำ� ผง แปง้ ให้เปน็ ก้อน 82

จดุ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรม สื่อ การประเมนิ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ประสบการณ์สำ� คญั • การตดั สนิ ใจและ สว่ นผสมตรงสว่ นใดของขนมโค รไู้ ดอ้ ยา่ งไร (เปน็ ไสข้ อง • มะพร้าวขดู ขาว มีสว่ นรว่ มใน ขนมโค เพราะไสข้ องขนมโคมีสีน้�ำตาลและมีรสหวาน) 1 จาน - แปง้ ขา้ วเหนยี วมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร (สีขาว เปน็ ผง • ผ้ากนั เปื้อน กระบวนการ ละเอียด นมิ่ ลื่น มกี ลน่ิ ) เดก็ ๆ คดิ วา่ แปง้ ขา้ วเหนยี ว 1 ผนื /คน แก้ปญั หา เปน็ สว่ นผสมตรงสว่ นใดของขนมโค รไู้ ดอ้ ยา่ งไร (เป็น • ผา้ พลาสตกิ ก้อนสีขาว เหนียวนมุ่ ทห่ี ่อไสเ้ อาไว้ เพราะเปน็ สีขาว หรือกระดาษ เหมอื นแป้ง) หนังสือพมิ พ์ 3. รว่ มกนั เสนอความคดิ วา่ หากตอ้ งการทำ� ใหผ้ งแปง้ จบั ตวั กนั สำ� หรบั ปพู ืน้ เปน็ ก้อนจะตอ้ งท�ำอยา่ งไร (ตอบตามความคิดของเด็ก) โตะ๊ กนั เปอื้ น 1 ชดุ /กลมุ่ กิจกรรมที่ 2.2 หาวิธที ำ� ผงแปง้ ให้เปน็ ก้อน (ประมาณ 30 นาท)ี 4. ใหเ้ ดก็ จับกลุ่ม กล่มุ ละ 4-5 คน ทำ� ขอ้ ตกลงกับเดก็ ว่า แตล่ ะกลมุ่ จะไดร้ บั แปง้ 1 ถว้ ย นำ้� 1 ถว้ ยและชามสำ� หรบั ผสมแปง้ 1 ใบ ให้แตล่ ะกลุ่มนำ� ไปท�ำใหแ้ ปง้ เปน็ กอ้ น ด้วยวธิ ีการตามที่เด็กชว่ ยกนั คิดขนึ้ เอง 5. ก่อนแจกอุปกรณ์ ร่วมกนั สนทนาโดยครูอาจใชค้ ำ� ถาม ดงั นี้ - ใครเคยทำ� ขนมบา้ ง การตวงแป้งใหไ้ ดป้ รมิ าตร 1 ถว้ ย ทำ� ไดอ้ ยา่ งไร (เดก็ อาจตอบตามความรเู้ ดมิ เชน่ นำ� ถว้ ย มาตกั แปง้ ) ถา้ มเี ดก็ เคยตวงแปง้ ใหอ้ อกมาสาธติ วธิ กี าร ตวงแปง้ หนา้ หอ้ ง หากไม่มี ให้เด็กคดิ และแสดงวธิ ีตวง 83

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรม ส่อื การประเมิน สาระที่ควรเรยี นรู้ ประสบการณ์ส�ำคญั 84 แปง้ ดว้ ยตนเอง จากนน้ั ครสู าธติ วธิ กี ารตวงแปง้ ทถ่ี กู ตอ้ ง ใหเ้ ดก็ ร่วมกันสังเกต โดยใช้ช้อนตักแป้งข้าวเหนียวให้ พนู ถว้ ย โดยไมต่ อ้ งกดหรอื เขยา่ แลว้ ใชส้ นั มดี พลาสตกิ ท่ีเปน็ ด้านตรงหรือดา้ มของชอ้ นปาดแปง้ สว่ นท่เี กิน ขอบถ้วยออกก็จะไดแ้ ปง้ 1 ถ้วย - การตวงนำ้� ใหไ้ ด้ปรมิ าตร 1 ถ้วย ทำ� ไดอ้ ย่างไร (เดก็ อาจตอบตามความรเู้ ดิม เช่น เทน�้ำจากภาชนะ ใส่น้�ำลงในถว้ ย) ให้เดก็ คดิ และแสดงวธิ ตี วงน้�ำดว้ ย ตนเอง จากนน้ั ครสู าธติ วธิ กี ารตวงน�้ำท่ีถกู ตอ้ งโดยให้ วางถว้ ยบนโต๊ะทีม่ พี ้ืนผวิ เรยี บ แล้วเตมิ นำ้� ลงไปตาม ระดบั ทก่ี �ำหนด จากน้นั สังเกตระดับน้�ำโดยการมอง ในระดับสายตา จะได้น�้ำ 1 ถว้ ย 6. แจกวสั ดุและอปุ กรณ์ใหเ้ ด็กลงมอื ท�ำผงแป้งให้เป็นกอ้ น ตามวิธีของเด็ก โดยให้เวลาประมาณ 5-10 นาที ระหวา่ งท่ีเดก็ แต่ละกลมุ่ ทำ� ครเู ข้าไปสังเกตให้ค�ำแนะนำ� และกระต้นุ ใหเ้ ด็กสังเกตการเปลี่ยนแปลงของแป้ง จนกระทง่ั จับตัวกันเป็นกอ้ น 7. ใหเ้ ดก็ แตล่ ะกลุม่ มาน�ำเสนอ โดยครอู าจใชค้ �ำถามดังน้ี - มีวธิ กี ารและขัน้ ตอนการทำ� ใหแ้ ปง้ เปน็ ก้อนไดอ้ ยา่ งไร (เชน่ ใสแ่ ป้งกอ่ น แล้วจึงใสน่ ้�ำจากนัน้ ขยำ� ใหเ้ ข้ากนั ) - พบปัญหาอะไรบ้าง และแก้ปัญหาอยา่ งไร ใหเ้ ด็ก เสนอวิธแี ก้ปัญหา และทำ� ตามวิธีทแ่ี ต่ละกลมุ่ คดิ

จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรม สอ่ื การประเมนิ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ประสบการณส์ �ำคัญ (เชน่ แปง้ แฉะ ปน้ั เปน็ กอ้ นไมไ่ ดแ้ กโ้ ดยเตมิ แปง้ ทำ� ใหม่ ใสน่ �ำ้ ให้นอ้ ยลง หรอื วางทิง้ ไว้ใหแ้ ห้ง) 8. นำ� เดก็ ๆ สนทนาวา่ ระหวา่ งทที่ ำ� ใหผ้ งแปง้ กลายเปน็ กอ้ น เดก็ ๆ สงั เกตพบการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไรบา้ ง (ผงแปง้ เมอื่ ใสน่ ำ้� และเอามอื ขยำ� จะเรมิ่ จบั ตวั กนั เปน็ กอ้ นเลก็ ๆ กอ่ น เมือ่ ใส่นำ้� ลงไปอกี จะจับตวั กันเป็นกอ้ นใหญข่ ึน้ แตถ่ ้าใส่ น�ำ้ มากเกินไปจะเหลวไม่เป็นก้อน) 9. ใหเ้ ดก็ ๆ รว่ มกนั สรปุ วา่ วธิ กี ารทำ� ใหผ้ งแปง้ กลายเปน็ กอ้ น ท�ำไดอ้ ย่างไร ซึ่งควรสรปุ ได้ว่า ควรใสน่ ำ้� ลงไปในแป้ง ทลี ะน้อย และเอามือขย�ำ โดยต้องใส่น้ำ� ใหพ้ อเหมาะ ไม่มากเกินไป เด็ก ๆ บอกไดห้ รือไมว่ า่ ใส่แป้งกี่ถว้ ย ใสน่ ำ�้ ก่ถี ว้ ย 10. น�ำสนทนาเพอ่ื เชื่อมโยงไปสกู่ ิจกรรมในขนั้ ถัดไปว่า เด็ก ๆ คิดว่ากอ้ นแป้งท่เี ด็ก ๆ ทำ� มลี ักษณะเหมอื นกับ ขนมโคทีเ่ ราได้รับประทานหรือยงั และถ้าตอ้ งการทำ� ให้ เหมอื นขนมโคจริง ๆ และรบั ประทานได้ ควรจะท�ำ อย่างไรตอ่ ไป (เอาไปใสไ่ ส้ แลว้ เอาไปต้ม) แล้วชี้แจงว่า เดก็ ๆ จะไดล้ องท�ำในครั้งตอ่ ไป กิจกรรมเสนอแนะ สำ� หรบั เดก็ อายุ 5-6 ปี ครอู าจใหเ้ ดก็ เสนอชอ่ื แปง้ ทเี่ ดก็ รจู้ กั และคดิ วา่ นำ� มาทำ� ขนมโคไดห้ รอื ไม่ เชน่ แปง้ ขา้ วเจา้ แปง้ สาลี แปง้ มนั แปง้ ขา้ วเหนยี ว และเตรยี มแปง้ เหลา่ นน้ั มาทดสอบวา่ ควรใช้แปง้ ชนดิ ใดในการท�ำขนมโค โดยใหเ้ ดก็ ช่วยกันคิดวธิ ที ดสอบ (นำ� มาผสมกับนำ้� ปนั้ เป็นกอ้ น น�ำไปต้ม แล้วนำ� มาเปรียบเทียบกับขนมโค สังเกตวา่ แปง้ ชนิดใด มลี ักษณะเหมือนขนมโคมากที่สดุ ) ทำ� การทดสอบตามวธิ ีที่เดก็ คิด และหาขอ้ สรปุ ร่วมกนั วา่ แปง้ ท่ใี ชท้ ำ� ขนมโคเปน็ แปง้ ชนิดใด 85

ตวั อยา่ งท่ี 3 แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั (อายุ 5-6 ป)ี หนว่ ย ขนมโค กจิ กรรมท่ี 5 กลอ่ งใส่ขนมโค จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรม สอื่ การประเมนิ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ประสบการณส์ ำ� คัญ 1. ออกแบบและ การทำ� ภาชนะใส่ • การเล่นและทำ� งาน กจิ กรรมที่ 5 กล่องใส่ขนมโค • กระดาษขนาด 1. สังเกตพฤตกิ รรม สรา้ งกล่องใส่ ขนม ทำ� ได้โดย รว่ มกับผอู้ ่นื (ประมาณ 30-40 นาท)ี A4 1 แผน่ /กลมุ่ ของเด็ก ขนมโค การทำ� งานรว่ มกบั กลมุ่ • การพดู อธิบาย 1. ร่วมกันสนทนาเพ่อื ทบทวนเกย่ี วกบั ลักษณะของขนมโค • วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ - การออกแบบ (S, M, T) นบั ตงั้ แตก่ ารสงั เกต เกย่ี วกับสงิ่ ของ จากนนั้ ครนู ำ� ขนมโคหรือดนิ น้�ำมนั ท่ปี ้ันเป็นก้อนแทน สำ� หรับ และประดิษฐ์ 2. น�ำเสนอ และเลอื กใชว้ ัสดุ เหตุการณ์ และ ขนมโคมาให้เด็กสังเกตแลว้ ให้เด็กร่วมกันคิดว่าถ้าจะทำ� การทำ� งาน เช่น กล่องใส่ขนมโค การออกแบบและ อุปกรณท์ ีเ่ หมาะสม ความสัมพนั ธข์ อง กลอ่ งใสข่ นมโคทแี่ ขง็ แรงและมขี นาดทส่ี ามารถใสข่ นมโค กาว กรรไกร - การแสดง ขัน้ ตอนการสร้าง ออกแบบโดยการวาด สงิ่ ต่าง ๆ ทที่ ำ� ขน้ึ ไดค้ รบทกุ ลกู กลอ่ งควรจะมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร สเี ทียน 1 การใช้งานและ กล่องใส่ขนมโค ภาพเพ่อื สื่อสารให้ • การบอกและ จะใสข่ นมกล่ี กู และหากตอ้ งการใหก้ ลอ่ งสวยงามเพอ่ื เปน็ ชดุ /กล่มุ เลอื กใชส้ ง่ิ ของ (S, M, T) คนทท่ี ำ� งานรว่ มกัน เรียงลำ� ดบั กจิ กรรม ของขวญั จะทำ� อยา่ งไร และจะใชว้ สั ดอุ ะไรในการทำ� กลอ่ ง • วัสดอุ ืน่ ๆ เช่น เคร่ืองใช้ 3. แสดงการใชง้ าน เขา้ ใจตรงกัน หรอื เหตุการณ์ตาม (เด็กตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง) กระดาษสี อย่างเหมาะสม และเลือกใช้ วางแผนเพ่อื แบง่ งาน ชว่ งเวลา 2. แนะน�ำวัสดุและอุปกรณ์ท่จี ดั เตรียมไว้ให้เด็กสังเกตวัสดุ กระดาษแขง็ ปลอดภยั สิ่งของเคร่ืองใช้ กนั ท�ำ เมือ่ ท�ำเสรจ็ • การตดั สินใจและ และอุปกรณ์ ไหมพรม เชอื ก 2. สังเกตการนำ� อยา่ งเหมาะสม แลว้ ลองใช้ดูว่าส่งิ ที่ มีสว่ นรว่ มใน 3. แบง่ เดก็ เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ใหแ้ ต่ละกลุ่มช่วยกนั กระดาษนติ ยสาร เสนอของเดก็ ปลอดภยั (T) ทำ� ขึน้ ใชไ้ ด้หรือไม่ กระบวนการ วางแผนการทำ� กลอ่ งใส่ขนมโค โดยแจกกระดาษขนาด ใบโฆษณาสนิ คา้ - การออกแบบ ซ่งึ อาจน�ำมาแก้ไข แกป้ ัญหา A4 ให้กลมุ่ ละ 1 แผน่ ใหเ้ ด็กชว่ ยกนั ออกแบบกล่องใส่ ใบตอง - ขั้นตอนการสร้าง ปรบั ปรงุ • การสร้างสรรค์ ขนมโคของกลุ่มโดยวาดภาพแสดงรปู กล่องใส่ขนมโค • ดินน้ำ� มนั กล่องใสข่ นมโค ใหใ้ ชไ้ ดด้ ีข้นึ ช้นิ งานโดยใช้ เพือ่ ให้ทกุ คนในกลุม่ เข้าใจตรงกัน (สำ� หรบั ปนั้ - ผลงานกล่องใส่ รปู ร่างรปู ทรงจาก 4. ใหเ้ ดก็ แตล่ ะกล่มุ น�ำเสนอแบบของกล่องใส่ขนมโค ขนมโคจำ� ลอง) ขนมโค วัสดทุ ีห่ ลากหลาย ทรี่ ว่ มกนั วางแผนไวว้ า่ จะใชว้ สั ดอุ ปุ กรณอ์ ะไรบา้ ง 1 กอ้ น/กลมุ่ ในการทำ� กล่องใสข่ นมโค จะใสข่ นมโคจ�ำนวนเทา่ ใด จะมีวธิ กี ารใช้งานอย่างไร 86

จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ กิจกรรม สื่อ การประเมิน สาระทคี่ วรเรียนรู้ ประสบการณส์ ำ� คัญ • การเลือกวิธกี าร 5. ให้เดก็ แตล่ ะกลุ่มแบง่ หนา้ ท่ไี ปเลือกวัสดุอุปกรณต์ ามท่ี และแก้ปญั หาโดย วางแผนไว้และน�ำวัสดอุ ุปกรณม์ าลงมือชว่ ยกันท�ำกล่อง ใช้วัสดุอปุ กรณห์ รอื ตามแบบจนเสรจ็ ทดสอบกล่องใส่ขนมโคโดยอาจน�ำ วธิ ีการต่าง ๆ ขนมโคมาใสห่ รอื ปน้ั ดินนำ�้ มนั แทนขนมโค แลว้ พฒั นา ตามที่วางแผน กลอ่ งใหแ้ ขง็ แรงและมขี นาดพอทจ่ี ะใสข่ นมไดห้ มด โดยให้ เวลาในการท�ำประมาณ 10 - 20 นาที 6. ใหเ้ ดก็ แตล่ ะกลมุ่ ผลดั กนั ออกมานำ� เสนอวธิ กี ารและผลงาน กลอ่ งใส่ขนมโคของกลมุ่ โดยใชค้ ำ� ถาม เช่น - ลักษณะของกล่องใส่ขนมโคเปน็ อยา่ งไร - ใชอ้ ะไรสรา้ งกลอ่ งใส่ขนมโค - มีขั้นตอนการสรา้ งกลอ่ งใส่ขนมโคอย่างไร - มวี ธิ ีการใชก้ ลอ่ งใสข่ นมโคอย่างไร - กล่องใส่ขนมโคท่สี รา้ ง เหมือนกบั ทีอ่ อกแบบหรือไม่ - เกดิ ปัญหาอะไรขน้ึ หรอื ไม่ ถา้ มี แก้ปัญหาอย่างไร - พงึ พอใจกับกลอ่ งใสข่ นมโคหรือไม่ ต้องการปรบั ปรุง แก้ไขหรอื ไม่ ถา้ มี จะปรับปรงุ แกไ้ ขอะไร (หากเด็ก ต้องการปรับปรุงแกไ้ ข ครูสามารถเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดล้ งมอื ท�ำตามทีเ่ ดก็ ต้องการได)้ สามารถดาวน์โหลดตวั อย่างแนวทางการใชก้ รอบการเรยี นรูฯ้ และตวั อยา่ งแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ บูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั หนว่ ย ขนมโค เพิ่มเติมได้ที่ http://ipst.me/11265 หรือสแกน QR Code 87


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook