Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 30. economy 31001

30. economy 31001

Published by kungchay17, 2020-12-15 03:40:42

Description: 30. economy 31001

Search

Read the Text Version

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง (ทช31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หามจาํ หนา ย หนังสือเรียนเลม น้ี จดั พมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพ่อื การศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธ์เิ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

2 | ห น้ า หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง (ทช31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง 2560 ลิขสทิ ธเิ์ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี 20/2555

คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 เมือ่ วนั ท่ี 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเชอื่ พืน้ ฐานในการจดั การศึกษานอกโรงเรยี นท่มี ีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูแ ละสั่งสมความรู และประสบการณอ ยา งตอเนอ่ื ง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธกิ ารไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือนนโยบาย ทางการศึกษาเพ่อื เพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง รายไดที่ม่ังคั่งและม่ันคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก รับผิดชอบตอตนเองและผอู ่ืน สาํ นักงาน กศน. จงึ ไดพจิ ารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการ เรียนรูท่ีคาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ กจิ กรรม ทําแบบฝกหดั เพื่อทดสอบความรูค วามเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ยี นเรียนรกู ับกลมุ หรือศึกษา เพมิ่ เติมจากภูมปิ ญ ญาทองถิ่น แหลงการเรยี นรูและส่อื อ่ืน การปรับปรงุ หนังสือเรียนในครัง้ นี้ ไดร บั ความรวมมอื อยางดีย่งิ จากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา และผูเ กีย่ วขอ งในการจัดการเรยี นการสอนทศ่ี กึ ษาคน ควา รวบรวมขอ มลู องคความรจู ากสอื่ ตา ง ๆ มาเรียบ เรยี งเน้อื หาใหครบถว นสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั ตวั ช้ีวัดและกรอบเน้ือหาสาระของ รายวิชา สาํ นักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียนชุดน้ี จะเปนประโยชนแ กผเู รียน ครู ผูสอน และผเู กย่ี วขอ งในทุกระดับ หากมขี อ เสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน.ขอนอ มรับดวยความขอบคุณย่ิง

4 | ห น้ า สารบญั หนา คํานาํ คําแนะนําในการใชหนงั สอื เรียน โครงสรา งรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง บทที่ 1 ความพอเพยี ง .............................................................................................................. 1 บทท่ี 2 ชมุ ชนพอเพยี ง ............................................................................................................10 บทที่ 3 การแกป ญหาชมุ ชน .....................................................................................................24 บทท่ี 4 สถานการณข องประเทศไทยและสถานการณโลกกับความพอเพียง .............................31 บทท่ี 5 การประกอบอาชีพตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื การสรางรายได อยา งม่ันคง ม่ังคง่ั และยง่ั ยนื ………………………………………………………………………………………………….43 บรรณานกุ รม ภาคผนวก คณะผูจดั ทํา

คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สอื เรียน หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย เปน หนงั สือเรยี นทจ่ี ดั ทําข้นึ สาํ หรบั ผเู รียนทีเ่ ปน นักศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสือเรยี นสาระ ผเู รยี นควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจ พอเพียง สาระสําคัญ ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง และขอบขา ยเน้ือหาของรายวชิ านนั้ ๆ โดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตล ะบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด และทํา กิจกรรมตามกําหนด แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกจิ กรรมตามที่กําหนดถาผูเ รียนตอบผิดควรกลับไปศึกษา และทาํ ความเขาใจในเน้อื หานัน้ ใหมใ หเ ขา ใจ กอนทีจ่ ะศึกษาเรอื่ งตอๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่ืองของแตล ะเร่ือง เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาใน เรื่องนน้ั ๆ อกี ครง้ั และการปฏบิ ัติกิจกรรมของแตล ะเน้ือหา แตละเรื่อง ผูเ รียนสามารถนําไปตรวจสอบกับ ครแู ละเพ่ือนๆ ทร่ี ว มเรียนในรายวชิ าและระดบั เดยี วกนั ได หนงั สอื เรียนเลม น้ีมี 5 บท บทที่ 1 ความพอเพยี ง บทที่ 2 ชุมชนพอเพยี ง บทท่ี 3 การแกปญ หาชมุ ชน บทท่ี 4 สถานการณของประเทศไทยและสถานการณโ ลกกบั ความพอเพียง บทท่ี 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ การสรา งรายได อยางมัน่ คง ม่ังคั่ง และยัง่ ยนื

6 | ห น้ า โครงสรา งรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ทช31001 สาระสาํ คัญ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรัชญาท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท9่ี ) ทรงพระราชดาํ รัสช้ีแนะแนวทางการดํารงอยแู ละการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดบั ใหด ําเนนิ ชีวิตไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพ่ือใหก าวทันตอโลกยคุ โลกาภวิ ัตน ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจําเปนทีจ่ ะตองมรี ะบบภูมคิ ุมกันในตวั ทด่ี ี พอสมควรตอ ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลยี่ นแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน ทงั้ นจี้ ะตองอาศยั ความ รอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยง่ิ ในการนาํ วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและ ดาํ เนนิ การทุกข้ันตอน และขณะเดยี วกันจะตอ งเสรมิ สรา งพน้ื ฐานจิตใจของคนในชาติใหม สี ํานึกใน คุณธรรม ความซ่อื สัตยสุจริตและใหมคี วามรอบรทู เ่ี หมาะสมดาํ เนนิ ชีวิตดวยความอดทน ความเพยี ร มีสตปิ  ญญาและความรอบคอบ เพ่ือใหส มดลุ และพรอมตอ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ และกวา งขวาง ท้งั ดา นวัตถุ สังคม สง่ิ แวดลอมและวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได พรอ มทง้ั สามารถนาํ แนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชป ระกอบอาชีพไดอยา งเหมาะสม ผลการเรียนรูท ี่คาดหวงั 1. อธิบายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาํ คัญของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได 2. บอกแนวทางในการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ชในการดําเนนิ ชีวิต 3. เหน็ คุณคาและปฏิบตั ติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. ปฏิบตั ติ นเปนแบบอยางในการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 5. เผยแพรห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหชุมชนเห็นคุณคาแลว นําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวติ 6. มสี ว นรวมในชุมชนในการปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 7. สามารถนาํ แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชป ระกอบอาชพี ได

ขอบขา ยเนอ้ื หา บทที่ 1 ความพอเพียง บทที่ 2 ชมุ ชนพอเพยี ง บทที่ 3 การแกปญ หาชมุ ชน บทที่ 4 สถานการณของประเทศไทยและสถานการณโลกกบั ความพอเพยี ง บทที่ 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการสรางรายได อยางม่นั คง ม่ังค่งั และย่งั ยืน



ห น้ า | 1 บทที่ 1 ความพอเพียง สาระสาํ คัญ เศรษฐกิจพอเพียงเปน ปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ท่ีช้ีแนวทางดํารงอยูแ ละปฏิบัติของ ประชาชนในทุกระดับ ตง้ั แตครอบครัวไปจนถึงระดบั รฐั ทง้ั ในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหดําเนินไป ในทางสายกลางมีความพอเพยี ง และมคี วามพรอ มท่จี ะจัดการตอผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงท้ังภายนอก และภายใน ซ่งึ จะตองอาศยั ความรู ความรอบคอบ และระมดั ระวัง ในการวางแผน และดาํ เนนิ การทกุ ขั้นตอน เศรษฐกิจพอเพียงไมใ ชเพ่ือการประหยัด แตเ ปน การดาํ เนนิ ชีวิตอยา งสมดลุ และย่งั ยืน เพื่อใหสามารถอยูได แมใ นยคุ โลกาภวิ ัตนท่มี กี ารแขง ขันสงู ผลการเรียนรูท ค่ี าดหวงั ผเู รยี นสามารถอธบิ ายแนวคดิ หลักการ ความหมาย ความสาํ คัญของปรญั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองท่ี 1 ความเปน มา ความหมาย หลกั แนวคดิ เรื่องท่ี 2 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การจดั การความรู

2 | ห น้ า เรื่องท่ี 1 ความเปน มา ความหมาย หลักแนวคดิ ความเปนมา พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท9่ี )ไดพ ฒั นาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือที่จะใหพสกนกิ รชาวไทยไดเขาถงึ ทางสายกลางของชีวติ และเพอื่ คงไวซ ึง่ ทฤษฎีของการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน ทฤษฎนี เ้ี ปน พื้นฐานของการดํารงชวี ติ ซ่งึ อยูระหวา ง สงั คมระดบั ทองถ่ินและตลาดระดบั สากล จดุ เดน ของแนวปรชั ญานีค้ ือ แนวทางทส่ี มดลุ โดยชาติสามารถทนั สมยั และกา วสูความเปน สากลได โดย ปราศจากการตอ ตา นกระแสโลกาภิวฒั น ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง มคี วามสําคญั ในชวงป พ.ศ. 2540 เม่ือปท่ี ประเทศไทยตอ งการรกั ษาความมัน่ คงและเสถยี รภาพเพ่ือท่ีจะยืนหยัดในการพง่ึ ตนเองและพฒั นานโยบายท่ี สําคัญเพอื่ การฟนฟูเศรษฐกจิ ของประเทศโดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจทพ่ี ึ่งตนเองได ซง่ึ คนไทยจะ สามารถเลีย้ งชพี โดยอยูบนพืน้ ฐานของความพอเพียงพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9)มพี ระราชดํารวิ า “มนั ไมไ ดม คี วามจําเปนทเี่ ราจะกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม (NIC)” พระองคไดท รงอธิบายวา ความพอเพียงและการพึง่ ตนเอง คือ ทางสายกลางท่จี ะปองกนั การเปลี่ยนแปลงความไมมั่นคงของ ประเทศได เศรษฐกิจพอเพยี งเปน ปรัชญาทช่ี แ้ี นวทางการดํารงอยแู ละปฏบิ ตั ิตน ที่พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่9ี ) มีพระราชดาํ รัสแกพ สกนกิ รชาวไทยมาตั้งแตป  พ.ศ. 2517 มี ใจความวา “...การพฒั นาประเทศจําเปน ตอ งทําตามลําดบั ขนั้ ตอ งสรางพนื้ ฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญเ ปนเบื้องตน กอนโดยใชว ธิ กี ารและใชอ ุปกรณท ปี่ ระหยดั แตถ ูกตอ งตามหลกั วิชา เม่ือไดพ้ืนฐานมั่นคงพรอ มพอควร และปฏิบตั ไิ ดแลว จงึ คอยสรา งคอยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกจิ ข้ันที่สูงข้นึ โดยลําดบั ตอ ไป...” และนับจากนนั้ เปน ตนมาพระองคไดทรงเนนยา้ํ ถึงแนวทางการพฒั นา หลักแนวคิดพงึ่ ตนเองเพอื่ ใหเกดิ ความพอมี พอกนิ พอใชข องคนสวนใหญ โดยใชห ลักความพอประมาณ การคาํ นงึ ถงึ ความมเี หตผุ ล การสรางภูมคิ ุมกันในตัวท่ดี ี ตลอดจนทรงเตือนสตปิ วงชนชาวไทยไมใ หป ระมาท มคี วามตระหนกั ถึงการพฒั นาอยา งเปนขน้ั เปน ตอนที่ถกู ตอ งตามหลกั วชิ า และการมีคณุ ธรรมเปน กรอบใน การปฏบิ ัติและการดํารงชีวิต ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกบั ภาวะวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ นับวา เปน บทเรยี นของการพฒั นาท่ี ไมส มดลุ และไมม ีเสถยี รภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอความเปน อยขู องประชาชนสว นใหญ สวนหนงึ่ เปน ผลมา จากการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมท่ไี มไดคาํ นงึ ถึงระดับความเหมาะสมกบั ศักยภาพของประเทศ หรอื ความ พรอมของคนและระบบและอีกสว นหนงึ่ นั้น การหวังพง่ึ พิงจากตา งประเทศมากเกินไปทง้ั ในดานความรู เงนิ

ห น้ า | 3 ลงทุน หรอื ตลาด โดยไมไ ดเ ตรียมสรางพืน้ ฐานภายในประเทศใหมีความม่นั คงและเขม แข็ง หรอื สราง ภูมคิ มุ กันทดี่ เี พอื่ ใหส ามารถพรอ มรับความเสยี่ งจากความผกผนั เปลย่ี นแปลงของปจ จยั ภายในและภายนอก บทเรยี นจากการพัฒนาทผี่ านมานน้ั ทาํ ใหป ระชาชนคนไทยทกุ ระดบั ในทกุ ภาคสวนของสังคม ทั้งภาครฐั เอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ หันกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาและการดําเนินชีวิตของคนในชาติ แลวมุง ใหค วามสาํ คญั กบั พระราชดาํ รขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี9)ใน เรอ่ื งการพฒั นาและการดาํ เนินชีวติ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษาคน ควาพฒั นาความรู ความเขาใจ เก่ียวกบั แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งท้ังในเชงิ กรอบแนวคิดทางทฤษฎแี ละใชเปนแนวในการนําไปประยุกตใช ในชวี ิตประจาํ วนั มากขนึ้ สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติไดเ ชญิ ผทู รงคณุ วุฒิจากหนวยงาน ตา งๆ มารวมกนั พิจารณา กลน่ั กรอง พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท9ี่ )ทีไ่ ดพ ระราชทานแกปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแลว สรุปเปนนิยามความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางในการจัดทํา แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) เพ่ือสงเสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความเขาใจในหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและนาํ ไปเปนพนื้ ฐานและแนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ิตอนั จะนาํ ไปสูการพัฒนาที่สมดุลและ ย่งั ยืน ประชาชนมีความเปนอยูรม เยน็ เปน สุข สงั คมมคี วามเขมแข็ง และประเทศชาตมิ ีความม่นั คง ความหมาย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาท่ีเปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของ แตล ะบุคคลและองคก รทกุ ระดับตัง้ แตร ะดับครอบครวั ระดบั ชุมชน และระดบั ประเทศท้งั ในการพัฒนาและ บริหารประเทศใหดาํ เนินไปในทางสายกลาง โดยคาํ นงึ ถงึ ความพอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะ แวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความ รอบคอบและระมดั ระวงั ควบคูไปกบั การมีคุณธรรม ไมเบียดเบยี นกนั แบงปน ชวยเหลือซ่ึงกันและกันและ รวมมือปรองดองกันในสังคม ซึ่งนําไปสูความสามัคคี การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืนพรอมรับตอการ เปล่ียนแปลงภายใตก ระแสโลกาภิวัตนไ ด

4 | ห น้ า หลักแนวคิด การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง คอื การพฒั นาทตี่ ั้งอยูบ นพน้ื ฐานทางสายกลางและความไม ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวท่ีดีตลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคณุ ธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมหี ลกั การพจิ ารณา 5 สวน ดงั นี้ 1. กรอบแนวคดิ เปน ปรัชญาที่ชแี้ นะแนวทางการดํารงชีวติ และการปฏบิ ตั ติ นในทางทีค่ วรจะเปน โดยมพี ืน้ ฐานจากวิถีชีวติ ด้ังเดมิ ของสงั คมไทยทน่ี ําประยุกตใ ชไ ดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบท่ี มกี ารเปลยี่ นแปลงอยูต ลอดเวลา มงุ เนนการรอดพน จากภัยและวิกฤติเพื่อความม่ันคงและความย่ังยืนของ การพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับโดย เนนการปฏบิ ตั บิ นทางสายกลางและการพฒั นาอยา งเปนข้นั ตอน 3. คํานิยามความพอเพียง ประกอบดว ย 3 คุณลกั ษณะ ดงั นี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม เบยี ดเบยี นตนเองและผอู ่ืน การจะทําอะไรตอ งมคี วามพอดี พอเหมาะ พอควร ตอความจําเปน เหมาะสม กับฐานะของตนเอง สภาวะสงั คมแวดลอม รวมทง้ั วัฒนธรรมในแตละทอ งถ่ิน และไมนอยเกินไปจนกระทั่ง ไมเพียงพอท่ีจะดําเนินการได ซ่ึงการตัดสินวาในระดับพอประมาณนั้นจะตองอาศัยความรอบรู ความ รอบคอบในการวางแผนและตัดสินใจอยางมีคุณธรรมดวย เชน ไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน ไมทําให สงั คมเดอื ดรอน ไมท ําลายธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม 3.2 ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเกี่ยวกบั ระดบั ความพอเพยี งนนั้ จะตอ งเปน ไปอยางมี เหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จจัยท่เี กย่ี วของ ตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทําน้ัน อยางรอบคอบ ครบวงจรบนพนื้ ฐานของความถกู ตอง ความเปนจรงิ ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลัก ศีลธรรม จรยิ ธรรม และวัฒนธรรมทดี่ งี าม ท้ังในระยะยาว ท้ังตอ ตนเอง ผูอ ่ืน และสวนรวม การคดิ พิจารณา แยกแยะใหเ หน็ ความเชอื่ มโยงของเหตุ ปจจัย ตา งๆ อยางตอ เนือ่ ง อยา งเปน ระบบจะทาํ ใหบรรลุเปาหมาย ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ มขี อผดิ พลาดนอ ย การทจ่ี ะวางแผนดําเนินการส่ิงใดอยางสมเหตุสมผล ตองอาศัย ความรอบรู ขยันหม่ันเพียร อดทนท่ีจะจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและแสวงหาความรูท่ีถูกตองอยาง

ห น้ า | 5 สมา่ํ เสมอ มคี วามรอบคอบในความคิด พจิ ารณาตัดสินใจ โดยใชสติ ปญญา อยางเฉลียวฉลาดในทางท่ีถูก ท่คี วร 3.3 การมีภมู คิ มุ กนั ในตวั ที่ดี หมายถงึ การเตรียมตัวใหพ รอมรบั ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลง ดา นตางๆ ทจี่ ะเกิดทงั้ ในดา นเศรษฐกิจสังคม ส่งิ แวดลอม และวฒั นธรรม เพื่อใหส ามารถปรับตัวและรับมือ ไดทนั ที หรอื กลา วไดวาการทจ่ี ะทาํ อะไรอยา งไมเ ส่ียงเกนิ ไป ไมป ระมาท คิดถึงแนวโนมความเปนไปไดของ สถานการณต างๆ ท่ีอาจจะเกิดข้ึนได แลวเตรียมตนเอง เตรียมวิธีการทํางานรองรับกับการเปล่ียนแปลง ตางๆ เพ่อื ใหการทํางานสามารถดําเนินเปนไปไดอยางราบรื่นและนํามาซึ่งผลประโยชนในระยะยาวและ ความสขุ ทย่ี ัง่ ยืน 4. เงื่อนไข การตดั สินและการดําเนินกจิ กรรมตา งๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ตองอาศัยทั้งความรู และคุณธรรมเปน พนื้ ฐาน ดังน้ี 4.1 เงอ่ื นไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรเู กยี่ วกบั วิชาการตา งๆ ที่เกี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกันเพ่ือประกอบการวางแผนและความ ระมัดระวังในข้นั ปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคุณธรรม คุณธรรมทจ่ี ะตองเสรมิ สรา งใหเปนพ้ืนฐานของคนในชาติ ประกอบดวย มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มีความซ่ือสัตยสุจริต มีความอดทน มีความเพียร รูผิดรูชอบ ใชสติปญญาใน การดําเนินชีวิตอยางถูกตองและเหมาะสม ไมโลภและไมตระหน่ี รูจักแบงปนและรับผิดชอบในการอยู รว มกบั ผูอ น่ื ในสังคม 5. แนวทางการปฏิบัติ/ผลที่คาดวาจะไดร บั จากการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช คือ การพฒั นาทส่ี มดุลและย่งั ยืน พรอ มรบั การเปล่ยี นแปลงในทกุ ดา นท้งั ดานเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี

6 | ห น้ า สรุปปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เงือนไข ความรู้ นํา ู่ส เงือนไข คุณธรรม (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซือสัตย์ สุจริต ขยนั อดทน แบ่งปัน) แผนภาพแสดงแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง 3 หว ง 2 เง่อื นไข ความสําคัญ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมคี วามสาํ คญั ตอ การพัฒนาประเทศและพัฒนาคน ดังน้ี 1. เศรษฐกจิ พอเพียงเปน ปรชั ญาที่มคี วามสาํ คัญย่ิงสําหรบั การขจัดความยากจน และการลดความ เสีย่ งทางเศรษฐกจิ 2. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปนพ้ืนฐานของการสรางพลังอํานาจของชุมชนและการพัฒนา ศักยภาพชุมชนใหเขมแขง็ เพ่อื เปน รากฐานของการพัฒนาประเทศ 3. เศรษฐกจิ พอเพยี งชว ยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทดวยการสรางขอปฏิบัติใน การทาํ ธรุ กิจที่เนน ผลกําไรระยะยาวในบริบทท่ีมีการแขง ขัน 4. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอการปรับปรุงมาตรฐานของ ธรรมาภบิ าลในการบริหารงานภาครฐั 5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชเ ปนแนวทางในการกําหนดนโยบายของชาติ เพือ่ สราง ภมู ิคมุ กันตอ สถานการณท่ีเขา มากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายตางๆ ใหเหมาะสมยิ่งขึ้น และ เพ่อื วางแผนยทุ ธศาสตรในการสงเสรมิ การเติบโตทีเ่ สมอภาคและยัง่ ยืน 6. ในการปลูกฝงจิตสํานึกพอเพียงจําเปนตองมีการปรับเปล่ียน คานิยม และความคิดของคน เพอ่ื ใหเ อ้ือตอ การพฒั นาคน

ห น้ า | 7 7. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยมีความพออยู พอกิน พอใช พ่ึงตนเองได และมี ความสุขตามอตั ภาพ 8. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งชวยใหม นษุ ยอ ยูรว มกับผอู ื่นตลอดจนมีเสรีภาพในสังคมไดอยาง สนั ตสิ ขุ ไมเบียดเบียน ไมเ อารดั เอาเปรยี บ แบงปน เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ มีจิตเมตตาและจติ สาธารณะ 9. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงชวยใหมนษุ ยอ ยูรวมกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน โดยไมท ําลาย เห็นคณุ คา และมจี ิตสํานกึ ในการอนุรักษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม 10. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูอยางมีรากเหงาทางวัฒนธรรม ประเพณี ประวัตศิ าสตร ภมู ิปญญา คา นิยม และเอกลกั ษณของแตล ะบุคคล/สงั คม เรือ่ งท่ี 2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การจัดการความรู “ การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับข้ัน ตองสรางพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญเปน เบ้ืองตน กอ น โดยใชวิธีการและใชอ ุปกรณท่ีประหยัด แตถ ูกตองตามหลักวิชา เมื่อไดพน้ื ฐานม่ันคงพรอ มพอควรและปฏบิ ตั ิไดแลว จงึ คอยสรางคอ ยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขนั้ ท่ีสูงขน้ึ โดยลาํ ดับตอไป หากมงุ แตจะทุม เทสรา งความเจริญ ยกเศรษฐกจิ ขน้ึ ใหร วดเร็วแตป ระการเดยี ว โดย ไมใหแ ผนปฏิบัตกิ ารสัมพันธก ับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลองดว ย ก็จะเกิดความไม สมดลุ ในเร่ืองตา งๆ ข้ึน ซ่ึงอาจกลายเปนความยุง ยากลมเหลวไดใ นท่ีสดุ ” พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาบตั รของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ณ หอประชุมมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร วนั พฤหสั บดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 “คนอ่นื จะวา อยา งไรกช็ างเขาจะวาเมอื งไทยลาสมัย วา เมอื งไทยเชย วาเมอื งไทยไมม ีส่ิงใหมแ ตเ รา อยูอ ยา งพอมีพอกิน และขอใหทุกคนมีความปรารถนาท่ีจะใหเมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบชว ยกัน รักษาสว นรวม ใหอยูที่พอสมควร ขอย้ําพอควร พออยูพอกิน มีความสงบไมใ หคนอ่ืนมาแยง คุณสมบัติไป จากเราได” พระราชกระแสรับสัง่ ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพยี งแกผ เู ขาเฝา ถวายพระพรชัยมงคล เนอื่ งในวนั เฉลิมพระชนมพรรษา แตพทุ ธศักราช 2517 “การจะเปน เสือนั้นมันไมส ําคัญ สําคัญอยูที่เราพออยูพ อกิน และมีเศรษฐกิจการเปนอยูแ บบ พอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความวา อุม ชตู วั เองได ใหม พี อเพยี งกับตัวเอง ” พระราชดํารัส “เศรษฐกจิ แบบพอเพียง” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน เม่ือวนั ท่ี 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทท่ี รงปรบั ปรงุ พระราชทานเปน ท่ีมาของนิยาม“3 หว ง 2 เงื่อนไข” ทคี่ ณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

8 | ห น้ า แหงชาติ นาํ มาใชในการรณรงคเผยแพร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผานชองทางตา งๆ อยูใ นปจ จุบัน ซ่ึงประกอบดว ยความ “พอประมาณ มีเหตผุ ล มภี ูมคิ มุ กัน” บนเงื่อนไข “ความรู และ คณุ ธรรม” อภิชยั พนั ธเสน ผูอํานวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ไดจัดแนวคิดเศรษฐกิจพอ เพยี งวา เปน “ขอเสนอในการดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอยา งแทจ ริง” ท้ังน้ี เน่ืองจากในพระราชดํารัสหนึ่ง ไดใหค ําอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียงวา “คือความพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโ ลภมาก และตอ งไมเบียดเบียนผอู ืน่ ” ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง มงุ เนนใหบ ุคคลสามารถประกอบอาชพี ไดอ ยา งยง่ั ยืน และใชจ ายเงินที่ได มาอยางพอเพยี งและประหยดั ตามกาํ ลังของเงนิ ของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกูห น้ียืมสิน และถา มีเงิน เหลือก็แบงเกบ็ ออมไวบ างสว น ชวยเหลือผูอื่นบางสว น และอาจจะใชจายมาเพ่ือปจ จัยเสริมอีกบางสวน (ปจ จัยเสรมิ ในท่ีนีเ้ ชน ทอ งเทยี่ ว ความบันเทงิ เปนตน ) สาเหตทุ ีแ่ นวทางการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ไดถ ูก กลา วถงึ อยางกวา งขวางในขณะนี้เพราะสภาพการดาํ รงชวี ิตของสังคมทุนนยิ มในปจ จบุ นั ไดถูกปลกู ฝง สราง หรือกระตุน ใหเกดิ การใชจ ายอยางเกนิ ตวั ในเรือ่ งทไ่ี มเก่ียวขอ งหรอื เกนิ กวา ปจ จัยในการดํารงชวี ิต เชน การ บริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบความสวยความงาม การแตงตัวตามแฟชั่น การพนันหรือ เสีย่ งโชค เปนตน จนทาํ ใหไ มม ีเงนิ เพยี งพอเพื่อตอบสนองความตองการเหลา นั้น สงผลใหเกิดการกหู น้ยี มื สนิ เกดิ เปน วัฏจักรทบ่ี คุ คลหน่งึ ไมส ามารถหลดุ ออกมาได ถาไมเ ปล่ียนแนวทางในการดํารงชวี ติ แมว าการอธิบาย ถงึ คุณลักษณะและเงือ่ นไขในปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะใชค ําวาความรู อันเปนท่ตี กลงและเขา ใจกนั ทว่ั ไป แตหากพิจารณาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทไี่ ดทรงพระกรุณา ปรับปรงุ แกไขและพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหนาํ ไปเผยแพรอ ยางละเอยี ดนน้ั กลบั พบคาํ วา “ความรอบร”ู ซ่งึ กินความมากกวาคาํ วา “ความร”ู คอื นอกจากจะอาศยั ความรใู นเชงิ ลกึ เก่ยี วกับงานท่จี ะ ทําแลว ยังจําเปนตอ งมีความรูในเชิงกวาง ไดแ กค วามรูค วามเขา ใจในขอ เทจ็ เกยี่ วกบั สภาวะแวดลอ ม และ สถานการณท่ีเกย่ี วพันกบั งานทีจ่ ะทําทงั้ หมด โดยเฉพาะทพ่ี ระองคทา นทรงเนน คอื ระบบชวี ติ ของคนไทย อันไดแ กค วามเปน อยู ความตอ งการ วัฒนธรรม และความรูสาํ นึกคิดโดยเบด็ เสรจ็ จึงจะทํางานใหบรรลุ เปา หมายได การนําองคประกอบดา นความรไู ปใชใ นปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ ชใ นทางธุรกิจ จึงมิ ไดจาํ กัดอยูเพียงความรู ที่เกีย่ วของกบั มิตทิ างเศรษฐกิจ ท่คี ํานงึ ถงึ ความอยูรอด กําไร หรอื การเจรญิ เตบิ โต ของกจิ การแตเพียงอยา งเดยี ว แตร วมถึงความรูทเี่ กย่ี วของกบั มติ ิทางสงั คม สงิ่ แวดลอ ม และวัฒนธรรมของ คนในทอ งถ่ินน้นั ๆ สอดคลองตามหลัก การไมต ิดตํารา เชน ไมควรนําเอาความรจู ากภายนอก หรือจากตาง ประเทศ มาใชก ับประเทศไทยโดยไมพิจารณาถึงความแตกตา ง ในดา นตา งๆอยางรอบคอบระมัดระวัง หรือไมควรผูกมดั กบั วชิ าการทฤษฎี และเทคโนโลยที ไ่ี มเ หมาะสมกบั สภาพชีวิต และความเปน อยทู ี่แทจ ริง ของคนไทยและสงั คมไทย

ห น้ า | 9 ยงิ่ ไปกวา นัน้ ความรู ทีป่ รากฏในปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยงั ประกอบไปดวยความระลึกรู (สติ)กับ ความรูชัด (ปญ ญา) ซ่ึงถอื เปน องคป ระกอบสําคัญท่ีวิชาการหรือทฤษฎี ในตะวันตกท่ีเกี่ยวกับการ จัดการความรู ยงั ไมค รอบคลมุ ถึง หรือยังไมพัฒนากาวหนาไปถงึ ขัน้ ดังกลา ว จึงไมม แี นวคดิ หรอื เครื่องมอื ทางการบริหารจัดการความรูใ ดๆ ที่มีความละเอียดลึกซ้ึงเทา กับที่ปรากฏอยูใ นปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงอีกแลว พิพัฒน ยอดพฤติการ ไดก ลาวไวใ นบทความ เร่ืองท่ีมักเขาใจผิดเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง วาเศรษฐกิจพอเพียงมีรากฐานมาจากแนวคิดในการสรา งความ “พอมี” (คือการผลิต) “พอกิน-พอใช” (การบริโภค)ใหเกดิ ข้นึ แกประชาชนสว นใหญของประเทศ เพราะถา ประชาชนสวนใหญข องประเทศยงั ยากไรขัดสน ยังมชี ีวิตความเปน อยอู ยางแรนแคน การพฒั นาประเทศก็ยังถอื วา ไมประสบความสาํ เรจ็ เศรษฐกิจพอเพียง สําหรับคนทุกกลุม มิใชแ คเ กษตรกร การสรา งความ“พอกิน-พอใช” ในเศรษฐกิจพอเพยี งนี้ มุง ไปทป่ี ระชาชนในทกุ กลมุ สาขาอาชีพที่ยังมีชีวิตแบบ “ไมพอกิน-ไมพ อใช” หรือ ยังไมพอเพียง ซ่ึงมิไดจ ํากัดอยูเพียงแคค นชนบท หรือเกษตรกร เปน แตเพียงวา ประชาชนสว นใหญของ ประเทศท่ียังยากจนนั้นมีอาชีพเกษตรกรมากกวา สาขาอาชีพอื่น ทําใหค วามสําคัญลําดับแรกจึงมุง เขา สู ภาคเกษตรหรือชนบทที่แรน แคน จนมีรูปธรรมของการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงออกมาเปน เกษตรทฤษฎีใหม อันเปนที่ประจักษในความสําเร็จของการยกระดับชีวิตความเปน อยูของเกษตรกรให “พอม”ี “พอกิน-พอใช” หรอื สามารถพ่งึ ตนเองได ในหลายพน้ื ที่ทว่ั ประเทศ กจิ กรรมที่ 1 1. ใหผูเรยี นบอกถงึ ความเปน มาของเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยสงั เขป 2. ใหผ เู รียนเขยี นอธิบายความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. เศรษฐกจิ พอเพยี งมหี ลักแนวคิดอยางไร จงอธบิ าย 4. ใหผูเรยี นบอกถึงความสาํ คัญของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งวามีความสําคญั อยางไร

10 | ห น้ า บทที่ 2 ชมุ ชนพอเพยี ง สาระสาํ คัญ ชุมชนทมี่ คี วามสามารถในการบริหารจัดการชุมชนอยางมปี ระสิทธภิ าพ เปนกําลังสําคัญในการขับ เคลือ่ นเศรษฐกิจพอเพียง นกั วิชาการหลายทานไดศ ึกษาและวิเคราะหเ รื่องการพัฒนาชุมชน เพื่อมุง สูก าร เปน ชุมชนท่ีพอเพียง รวมทั้งตัวอยางของชุมชนพอเพียงที่ประสบความสําเร็จ และตัวอยางของชุมชน พอเพียงดานพลงั งาน ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั ผเู รียนสามารถบอกแนวทางในการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใชใ นชุมชน ขอบขา ยเนื้อหา เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญการบริหารจัดการชมุ ชน เรอ่ื งที่ 2 การบริหารจดั การชมุ ชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ห น้ า | 11 เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญการบริหารจัดการชุมชน ความหมายของชมุ ชน ชุมชน หมายถงึ ถ่นิ ฐานท่ีอยูของกลมุ คน ถิ่นฐานนมี้ พี ้ืนท่ีอา งองิ ได และ กลุมคนนี้มีการอยูอาศัยรว มกัน มีการทํากิจกรรม เรียนรู ติดตอ ส่ือสาร รวมมือและพึ่งพาอาศัยกัน มี วัฒนธรรมและภูมิปญ ญาประจําถิ่น มีจิตวิญญาณ และความผูกพันอยูก ับพื้นท่ีแหง นั้น อยูภ ายใตการ ปกครองเดยี วกนั โครงสรา งของชมุ ชน ประกอบดว ย 3 สว นคอื 1. กลมุ คน หมายถึง การที่คน 2 คนหรือมากกวานั้นเขามาติดตอ เก่ียวของกัน และมีปฏิสัมพันธ ตอ กันทางสังคมในชว่ั เวลาหนง่ึ ดว ย ความมุงหมายอยา งใดอยางหน่งึ รวมกัน 2. สถาบนั ทางสงั คม เม่ือคนมาอยูรวมกันเปนกลุมแลว และมีวิวัฒนาการไปถึงข้ันต้ังองคก รทาง สงั คมแลว กจ็ ะมีการกาํ หนดแบบแผนของการปฏบิ ัตติ อกนั ของสมาชิกในกลุม เพื่อสามารถดําเนินการตาม ภารกิจ 3. สถานภาพและบทบาทสถานภาพ หมายถงึ ตําแหนง ทางสังคมของคนในกลุม หรอื สังคมบทบาท หมายถึง พฤติกรรมท่ีคนในสังคมตอ งทําตามสถานภาพในกลมุ หรือสังคม ชมุ ชนทม่ี ีความสามารถในการบรหิ ารจดั การชุมชนอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ตอ งมีองคป ระกอบสําคัญ หลายประการและสามารถพัฒนาหรือควบคุมองคประกอบเหลาน้ันได โดยมีนักวิชาการหลายทานท่ีได ศกึ ษาและวิเคราะหอ งคประกอบการพัฒนาชมุ ชนไวต ามแนวคิดการพฒั นาชุมชน ดังตอไปนี้ สนทยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ไดก ลา วถงึ การพัฒนาชุมชนวา มีองคป ระกอบ 2 ประการ สรุปได ดงั นี้ 1. การเขา มีสว นรว มของประชาชน เพ่ือที่จะปรับปรุงระดับความเปน อยูใ หดีขึ้น โดยจะตอ ง พง่ึ ตนเองใหม ากที่สดุ เทา ทจ่ี ะเปนได และควรเปนความรเิ รม่ิ ของชุมชนเองดวย 2. การจัดใหม ีการบริการทางเทคนิคและบริการอื่นๆที่จะเรง เราใหเ กิดความคิดริเร่ิม การชวย เหลอื ตนเอง ชวยเหลือกนั และกนั อนั เปนประโยชนมากที่สดุ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ (2539 : 1 – 2) ไดกลาวถึงลักษณะการ พัฒนาคนและสิง่ แวดลอม ซง่ึ อาจถอื วา เปนองคการพฒั นาชุมชนดวย สรปุ ไดด ังนี้ 1. การพัฒนาคนประกอบดวย 4 ดานดังนี้ ดา นจิตใจ ดานรา งกาย ดานสตปิ ญ ญา ดานบคุ ลิกภาพ

12 | ห น้ า 2. การพฒั นาสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการพัฒนา ประกอบดว ย 4 ดา นดังน้ี ดา นเศรษฐกิจ ดานครอบครวั และชุมชน ดา นทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ ม ดานการบรหิ ารจดั การและการเมือง สุพัตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ไดก ลา วถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเปล่ียนแปลงทางสังคม ซึ่งเปน องคประกอบการพัฒนาชมุ ชน วา มี 7 ประการดงั นี้ 1. สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ หากมีความสมบูรณจะสงผลใหชุมชนมีการพัฒนาไดรวดเร็วและ มัน่ คง 2. การเปล่ียนแปลงดานประชากร การเพ่ิมประชากรท่ีมีคุณภาพสามารถทําใหเ กิดการพัฒนา ดา นเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งที่ทนั สมยั ขน้ึ 3. การไดอ ยูโดดเด่ียวและติดตอ เกี่ยวขอ ง ชุมชนใดที่มีการติดตอกันทําใหการพัฒนาเปนไปอยา ง รวดเรว็ 4. โครงสรางของสังคมและวัฒนธรรม ชุมชนที่มีการเคารพผูอ าวุโสจะมีการเปล่ียนแปลงนอ ย คา นิยมตางๆ ชวยใหรูวา ชมุ ชนมีการเปลย่ี นแปลงเกิดการพัฒนาขึ้นมากนอ ยเพยี งไร 5. ทัศนคติและคานิยม การมีคานิยมดา นอาชีพ ดา นบริโภค เปนสวนของการจัดการ พฒั นาในชมุ ชนนั้นได 6. ความตอ งการรับรู การยอมรับส่ิงประดิษฐใหมๆ จะเปน เครื่องช้ีทิศทางและอัตราการ เปล่ียนแปลงของชมุ ชน 7. พนื้ ฐานทางวฒั นธรรม ถา มีฐานทดี่ สี ิ่งใหมท่ีจะเกิดขน้ึ ยอมดีตามพ้นื ฐานเดมิ ดวย พลายพล คุม ทรัพย (2533 : 44 – 47) ไดก ลา วถงึ ปจจยั ที่สามารถใชในการพัฒนาชุมชน ซึ่งเปน องคป ระกอบการพฒั นาชุมชน วาประกอบดว ย 3 ปจ จัย ดงั น้ี 1. โครงสรางทางสังคม ครอบครัวท่ีมีขนาดเล็กและมีโครงสรางไมซับซอ นจะสงผลใหช ุมชนน้ัน พฒั นาไดดีกวาชมุ ชนทีม่ ีโครงสรา งทางครอบครวั ทีซ่ บั ซอ น 2. โครงสรางทางชนช้ัน ในชุมชนที่มีโครงสรา งแบบเปด ที่สามารถเปลี่ยนแปลงฐานะทางสังคม ไดงา ย ชุมชนนัน้ จะเกดิ การพฒั นา 3. ความแตกตางทางเผาพันธุ เช้ือชาติ และศาสนา ความแตกตางหากเกิดขึ้นในชุมชนใดยอมเปน อุปสรรคตอ การพฒั นา ตามลําดบั ความแตกตา ง ยุวัฒน วุฒิเมธี (2531 : 58 – 63) กลาวถึงปจจัยท่ีเกื้อกูลใหการพัฒนาชนบทบรรลุความสําเร็จ จําเปน ตอการพัฒนา วา ดว ยองคประกอบ และสว นประกอบยอยขององคป ระกอบ ดงั นี้

ห น้ า | 13 1. นโยบายระดบั ชาติ ฝายบริหารจะสามารถดาํ เนินการแผนพฒั นาไดตอเนอ่ื ง และมีเวลาพอที่จะ เห็นความถูกตอง คุมคา มีแนวทางประสานประโยชนร ะหวางรัฐและเอกชน และความรว มมือระหวา ง ประเทศจะตองเกอ้ื กูลตอการพฒั นา 2. องคก ารบริหารการพัฒนาชนบท ที่มีองคก รกลางทําหนาท่ีประสานนโยบาย แผนงานและโครงการอยา งมปี ระสิทธภิ าพและมอี ํานาจเดด็ ขาดในการลงทุนในหนวยปฏบิ ัติตอ งดําเนินการ ตามนโยบาย แผนงาน และโครงการในแผนระดับชาติ และจัดงบประมาณการติดตามควบคุมท่ีมี ประสทิ ธิภาพ 3. วิทยาการทีเ่ หมาะสมและการจดั การบริการที่สมบูรณ เลือกพ้ืนที่และกลุม เปา หมายที่สอดคลอ ง กบั ความเปนจริง และเลือกวทิ ยาการท่ปี ระชาชนจะไดร ับใหเ หมาะสม 4. การสนับสนุนระดับทอ งถน่ิ ความรบั ผิดชอบของการสนับสนุนงานในทองถ่ินที่มีประสิทธิภาพ จะเกดิ การพฒั นาอยางแทจ รงิ ในระยะยาว 5. การควบคุมดแู ลและตดิ ตามผลการปฏบิ ัติงาน ควรเปน ไปตามแผนงานและโครงการทุกระดับ และครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่ พรอ มทง้ั ใหส ถาบันการศกึ ษาทองถิ่นตดิ ตามประเมินผล อชั ญา เคารพาพงศ (2541 : 82 – 83) กลา วถงึ ปจจยั สวนประกอบที่มอี ิทธพิ ลตอ การพัฒนา สรุป ไดดังน้ี 1. ผนู าํ ไดแ ก ผูน าํ ทอ งถน่ิ ทงั้ เปนทางการและไมเปน ทางการในหมูบ าน และจากองคกรภาครัฐ มี สว นใหชมุ ชนพฒั นาในทางท่ีดีขน้ึ เปน ประโยชน ชมุ ชนมเี จตคตทิ ่ีดยี อมรบั สงิ่ ใหมแ ละสรางพลงั ตอสเู พอื่ การ เปลย่ี นแปลง 2. สังคม – วัฒนธรรม การไดร ับวัฒนธรรมจากสังคมเมืองมาปฏิบัติทําใหชุมชนเกิดการ เปล่ยี นแปลง 3. ส่ิงแวดลอม การปรับปรุงสภาพแวดลอ มภูมิศาสตรช ุมชน สงผลใหที่ดินอุดมสมบูรณ ราคาสนิ คา เกษตรดี ความเปน อยูสะดวกสบายกวา เดมิ 4. ประวัตศิ าสตร เหตกุ ารณสาํ คัญในอดตี มผี ลตอ การพัฒนาความสามัคคี รักพวกพอง ชวยเหลือซึ่ง กันและกัน ปรียา พรหมจนั ทร (2542 : 25) ไดสรุปองคป ระกอบท่ีเปน ปจจัยการพฒั นาชมุ ชนไดดงั น้ี 1. ดา นเศรษฐกิจ ชมุ ชนท่ีเศรษฐกจิ ดีการพัฒนาชมุ ชนสามารถพัฒนาไดดีดวย 2. ดา นสังคม วัฒนธรรม และส่งิ แวดลอม เปนบรบิ ททป่ี รับเปลยี่ นสภาพชมุ ชนไปตามปจจัย 3. ดานการเมือง หมายรวมถงึ การเมืองระดบั ชาติและชมุ ชนระดบั ทอ งถิ่น 4. ดา นประวัติศาสตร โดยอาศัยประสบการณแ ละวิกฤตของชุมชนเปน ฐานและบทเรียนการ พฒั นาชมุ นมุ

14 | ห น้ า นอกจากนี้ปรียา พรหมจันทร ยังไดจําแนกออกเปน องคป ระกอบท่ีเปน ปจจัยการพัฒนาชุมชน ปจ จยั โดยตรง เชน คน ทุน ทรพั ยากร การจัดการ เปน ตน และปจ จัยโดยออม เชน ภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การปกครอง เปนตน ไพบูลย วัฒนศิริธรรม (2549) ไดก ลาวถึงการสรา งและพัฒนาคนรุน ใหมเพื่อ พฒั นาชมุ ชนทองถ่ิน มปี จจัยสาํ คญั 4 ประการ ซึ่งถือเปนองคประกอบการพฒั นาชุมชน ดงั นี้ 1. สังคมดี ส่ิงแวดลอ มดี มีโอกาสในอาชีพ และกิจกรรมที่หลากหลาย รวมไปถึงวิถีชีวิต ศลิ ปวฒั นธรรม ความอบอนุ ความสุข ความเจริญกา วหนาที่พงึ คาดหวังในอนาคตดวย 2. ระบบการศกึ ษาของชาติ มีเปาหมายในการผลติ คนเพื่อการพัฒนาชุมชนหรือทอ งถ่ิน ใหเปน ท่ี พึงปรารถนาของทอ งถน่ิ เพียงไร 3. รัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐ ท่ีเอ้ือตอการพัฒนาชุมชนทองถ่ินใหเ ปนท่ีพึงปรารถนานาอยู บทบาทของชุมชน มีสิ่งสําคัญ 3 ประการ คือ ความรักและความดี การเรียนรูที่มากกวาความรู และการ จัดการกับปจ จยั ชุมชนตางๆ กิจกรรมท่ชี มุ ชนตองรบั ผิดชอบคอื จะตอ งมีการติดตามและการบริหารท่ีมี - ตง้ั คณะกรรมการบริหาร - ประเมนิ สภาพของชุมชน - เตรียมแผนการปฏบิ ตั ิ - หาทรพั ยากรทจ่ี ําเปน - ทําใหแนใ จวา กิจกรรมของชุมชนทั้งหมด ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ สําหรบั การปฏบิ ตั ิงาน

ห น้ า | 15 แบบจาํ ลองชมุ ชนท่มี กี ารบริหารจัดการทดี่ ี แผนชมุ ชนท่ีมพี ลงั

16 | ห น้ า กระบวนการชุมชน 1. วิเคราะหช ุมชน 2. การเรยี นรูและการตดั สนิ ใจของชุมชน 3. การวางแผนชุมชน 4. การดาํ เนินกจิ กรรมชุมชน 5. การประเมนิ ผลการดําเนินงานของชุมชน องคประกอบการขับเคล่อื นชมุ ชน 1. โครงสรา งพ้ืนฐานทางสงั คมของชมุ ชน 2. ความคิดพนื้ ฐานของประชาชน 3. บรรทัดฐานของชมุ ชน 4. วถิ ีประชาธปิ ไตย เรอ่ื งที่ 2 การบรหิ ารจดั การชุมชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตวั อยา งชุมชนพอเพียงท่ปี ระสบความสาํ เรจ็ กดุ กะเสยี น วันนีท้ ่ยี ม้ิ ได “เวลาติดขัดก็ไปกู...เขามาทําทุน พอหาได ขายไดก็เอาไปฝาก...เขา” เขาในความหมาย ของคนในชมุ ชนกุดกะเสียน คือ สถาบันการเงินชุมชนกดุ กะเสยี นรว มใจ

ห น้ า | 17 ทา มกลางภาวะเศรษฐกิจเงินเฟอพุง ดอกเบ้ียเพิ่ม ทั้งเงินกู เงินฝาก (ติดลบเมื่อเทียบกับเงินเฟอ ) ทุกอยางอยูในชว งขาขึ้น(ราคา) จะมีที่ลดลงคงเปน กําลังใจประชาชนโดยเฉพาะคนเมือง ย้ิมฝนๆ เผชิญ ชะตาในยุคขา ว(แก) ยาก นํ้ามันแพงกนั ไป แตกตางจากคนในชุมชนบานกุดกะเสียน ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี หมูบา นรางวัล พระราชทาน “เศรษฐกจิ พอเพียง อยเู ยน็ เปน สุข” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ซ่ึงมี นายสมาน ทวีศรี กาํ นันตาํ บลเขื่องใน เปน ผูน ําสรางรอยยิม้ ใหค นในชมุ ชน จากหมบู านทีม่ อี าชีพทํานาปละ 2 คร้ัง แตเ นื่องจากสภาพพ้ืนท่ีเปน ท่ีลุม มีน้ําทวมถึง ทําใหมี ปญหานํ้าทว มนา จงึ ตอ งหาปลาแลกขาว ตอมาประกอบอาชพี คา ขายสียอมผา ทําใหมีปญ หาหนี้สินเพราะ ตอ งไปกูนายทนุ ดอกเบย้ี สูง แตสภาพในปจจบุ นั ของกดุ กะเสยี น ผคู นย้ิมแยมแจมใจ เนอื่ งจากเศรษฐกจิ ของหมูบ า นดขี น้ึ มาก สบื เนื่องจากการรเิ รมิ่ ของผนู ําชมุ ชนที่เห็นปญ หาของหมูบาน จึงไดสง เสริมใหมกี ารตงั้ กลมุ ออมทรัพย

18 | ห น้ า จนกระทง่ั พัฒนามาเปน ธนาคารกดุ กะเสยี นรว มใจ โดยการปลอยสินเชื่อในอัตราดอกเบ้ยี ตา่ํ ใหค นในชุมชน ไปประกอบอาชีพ อาชพี หลกั ทาํ นา คา ขายเฟอรนเิ จอร เคร่อื งใชไ ฟฟา ชุดเครือ่ งนอน ชุดเครอ่ื งครวั ฯลฯ ท้ังมีการรวมกลุมอาชีพ กลุมเล้ียงโค กลุมทํานํ้ายาลางจาน กลุมนํ้ายาสระผม กลุมเพาะเห็ด กลมุ เกษตรกรทาํ นา กลุมจกั สาน หนง่ึ ในชมุ ชนตวั อยา งทีก่ รมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คัดเลอื กมาเปน ตน แบบในการ สง เสริมการบรหิ ารจดั การชมุ ชนใหเ ขมแขง็ อยา งย่งั ยืน นายปรชี า บุตรศรี อธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชนกลา ววา ประเด็นยทุ ธศาสตรห นงึ่ ในการสง เสรมิ การบรหิ ารการจดั การชมุ ชน คอื การเพิ่มขีดความสามารถผนู าํ ชุมชน เพือ่ ใหผ นู าํ ชุมชนเปน กาํ ลงั หลกั ในการบรหิ ารจัดการชมุ ชนใหชุมชนเขมแขง็ และพง่ึ ตนเองไดใ นทส่ี ุด ยุทธศาสตรใ นการทํางานของกรมการพัฒนาชุมชน ทั้ง 5 ประเด็น ประกอบดว ย การพัฒนาทุน ชมุ ชนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนใหเ ขม แข็ง การเพ่ิมขีดความสามารถผูน ําชุมชนนําขับเคลื่อนแผนชุมชน และการสงเสริมการจดั การความรชู ุมชน บนพน้ื ฐานปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ซ่งึ มีเปา หมายสรางผนู ําชมุ ชน ระดับแกนนาํ ท่ัวประเทศจาํ นวน 691,110 คน ภายใน 4 ป ในป 2551ดําเนนิ การใน 217 หมูบานทว่ั ประเทศ เพ่ือใหไ ดผ ูน ําชมุ ชน ที่มภี าวะผนู ํา มีคณุ ธรรม จริยธรรม องคความรู เปนกลมุ แกนนําในการขับเคลื่อนและ ผลกั ดนั นโยบายของรฐั ในระดับชุมชน ใหม ีทิศทางการพฒั นาชุมชน สอดคลองกบั การพัฒนาประเทศ “ส่ิงท่ีทําใหห มูบ านไดรับการคัดเลือกมาจากการดําเนินการท้ัง 6 ดาน ประกอบดวย การลด รายจา ย เพม่ิ รายได การเรยี นรู อนรุ กั ษ เออ้ื อาทร และการประหยัด สงิ่ ท่คี ณะกรรมการมาดูแลว ประทับใจ ทส่ี ดุ คอื สถาบนั การเงิน” นายสมานกลา ว ซึ่งไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินการบริหาร ธนาคารชุมชน กุดกะเสยี นรวมใจ การประหยัด อดออม ออมเพื่อนาํ ไปใชใ นการผลิต ไมน ําไปใชฟ ุมเฟอย ใหกู โดยถอื หลกั ความพอประมาณ ถือหลกั มเี หตุมผี ล และมีภูมิคุม กนั ในตัวทดี่ ี ภายใตเ งื่อนไขความรู คอื รอบรู

ห น้ า | 19 รอบคอบ ระมัดระวัง และเงอื่ นไขคณุ ธรรม ซื่อสตั ย สจุ ริต ขยัน อดทนและแบง ปน ปจจบุ ันมีเงนิ ทนุ หมุนเวียนประมาณ 14 ลา นบาท สมาชกิ สถาบนั การเงนิ ชุมชน ประกอบดว ยหมูที่ 10,11,12 บานกดุ กะเสียน ตาํ บลเข่อื งใน ซ่งึ มสี มาชกิ 246 ครัวเรอื น 285 คน มจี าํ นวนสมาชกิ เงนิ ฝาก 464 คน “สรา งผลดีใหชุมชน ผูกูกูถ ูก คนฝากไดดอกเบ้ียสูง ตั้งแตรอยละ 2 สูงสุดหากมีเงินฝาก 5 แสน บาทขึ้นไปดอกเบ้ียรอยละ 5 บาทไมห ักภาษีดอกเบี้ยกูงายกวา แตใ หก ูเ ฉพาะคนในชุมชน เทาน้ัน สว นผูฝากนอกชมุ ชน ก็ฝากไดดอกเบี้ยเทา คนในชุมชน แตก ไู มได ทําใหป ระชาชนประหยัดดอกเบี้ยเงินกูได ชุมชน ก็พึงพอใจ เสียดอกเบ้ียนอยกวา และยังไดส วัสดิการกลับคืนสูชุมชน “ นายสมาน ทวีศรี ประธาน กรรมการสถาบันการเงินชมุ ชนกุดกะเสยี นรว มใจกลาว ในมุมมองของคนในชุมชน บานกุดกะเสียนตา งบอกเปนเสียงเดียวกันวา ที่มีวันน้ีไดเ พราะ “ผนู ําด”ี เปนผูนําชุมชน ที่เขม แข็ง นอกจากการยอมรับของคนในชุมชน แลว ยังมีรางวัลมากมายรับรอง อาทิ ผูใหญบ า นยอดเยย่ี มแหนบทองคาํ ป 2523 กาํ นนั ยอดเยี่ยมแหนบทองคําป 2546 ประกาศเกียรติคุณ “คนดศี รีอุบล” ป 2550 และรางวลั ผูน าํ ชมุ ชน ดีเดนระดับเขตป 2550 ในฐานะท่ีเปน แกนนําสรางรอยยิ้ม ใหชุมชน ตวั อยางของชุมชนพอเพียงดา นพลังงาน ตลอด 3 ป (2549-2551) ของการเดินหนาโครงการจัดทําแผนพลังงานชุมชน 80 ชุมชน สนองพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวง พลงั งาน ดว ยมองเหน็ ศกั ยภาพชมุ ชนในการจัดการดา นพลังงานท่ชี ุมชนทาํ เองได ภายใตการบรหิ ารจัดการ ทรัพยากรทองถิ่นทีส่ ามารถนํามาเปลี่ยนเปนพลงั งานทดแทนใชในการดําเนินชีวติ นน้ั ทาํ ไดจ รงิ “แผนพลังงานชมุ ชน” คือ สิ่งท่ีเกดิ ข้ึนกับทุกชุมชนที่เขา รวมในระยะเวลาท่ตี างกันพรอ มกับกลไก การทาํ งานรว มกัน ระหวางภาคชมุ ชนและภาควิชาการ โดยเฉพาะเจาหนาท่พี ลังงานจงั หวัด หรือสํานักงาน พลังงานภูมิภาค ซงึ่ เปนตัวแทนกระทรวงพลังงานไปเผยแพรความรูส รางความเขา ใจ “พลังงานเร่ืองใกล ตัว” และนําเสนอเทคโนโลยีพลงั งานทางเลือก หรอื พลงั งานทดแทนหลากหลายประเภท ใหช าวบา นเลือก นําไปใชไดอยางเหมาะสมกับความตอ งการ เพื่อประโยชนส ูงสุดของการใชพลังงานอยางคุม คา และไม ทําลายสิง่ แวดลอมปรากฏการณท่เี กิดขนึ้ ในชมุ ชนสว นใหญท ่ีเขารวม คือ การตอ ยอด หรือนําเทคโนโลยีท่ี กระทรวงพลงั งานนาํ มาใหนนั้ นําไปประยุกตตอ เพ่อื การใชงานทสี่ ะดวก และสอดคลอ งกับความตอ งการ

20 | ห น้ า ของแตล ะคน แตล ะชมุ ชนท่ีแตกตา งกนั การลองทาํ ลองใช ใหเห็นผลกระจางชัดแลว จงึ บอกตอ “สาธติ พรอมอธิบาย” จงึ เปนพฤติกรรมท่เี กิดขึ้นโดยอตั โนมัติของวิทยากรตัวคณู พลงั งาน หรือนกั วางแผน พลังงานชุมชนทไี่ มห วงแหนความรู เกดิ เครอื ขายวทิ ยากรตวั คณู พลังงานขึน้ อยใู นทุกกลมุ คนของชุมชนไมว า จะเปนอันดับแรก คอื แกนนํา ตอมาคือชาวบานทส่ี นใจ และนําไปทําจริงจึงขยายผลตอ กบั เพื่อนบา นใกล เคียงหรือในหมูญ าติมติ ร กบั อีกกลุม คอื เยาวชนทีเ่ ปนพลงั เสรมิ แตย ่งั ยนื ภาพทเี่ กิดขน้ึ ในชมุ ชนท่ีทําตามแผนพลังงานชุมชนอยา งแข็งขัน คือ เกิดการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต สรา งวิถีพลังงานชุมชนที่ไปไดด ีกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จุดเดนของเทคโนโลยีพลังงานท่ีถูกนําไป ปรบั ใช ไมไ ดเกิดประโยชนเฉพาะตวั ผูป ฏิบัติ แตยังสรา งผลดีตอ ชุมชนคนรอบขาง และสังคมประเทศโดย รวมเมอื่ เราสามารถสรา งทางเลือกการใชพ ลังงานทดแทนข้ึนไดเ อง และมีการจัดการอยา งครบวงจร การ จัดการพลงั งานอยา งยงั่ ยืนจงึ เกดิ ขึน้ ไดภายใตส องมือของทกุ คนท่ชี วยกัน ไมต องหวั่นวิตกกับภาวะความไม แนนอนของนา้ํ มัน ท่ตี องนาํ เขาจากตางประเทศอีกตอ ไป เมื่อยอมรับวาพลังงานเปน เรื่องใกลต ัวการจัดการพลังงานของชุมชนที่ชว ยเสริมสรา งความ เขม แข็งชุมชนจึงเกดิ ขึน้ ในหลายดา น อาทิ 1. ดา นเทคโนโลยีพลงั งานชมุ ชนเกดิ ผลชัดเจนในหลายตาํ บล ตัวอยางเชน ชาว อบต.พลบั พลาชัย จ.สพุ รรณบรุ ี สง่ิ ท่ีเกิดคอื ความคกึ คักของชมุ ชนกับการเลอื กใชเทคโนโลยปี ระหยดั พลังงาน การทําถา นอดั แทง จากข้เี ถาแกลบดาํ ของโรงไฟฟา ชีวมวลในพืน้ ทคี่ ลายกนั กับ อบต.นาหมอบญุ จ.นครศรีธรรมราช ท่ี อบต.และบรรดาแกนนาํ พรอ มใจกนั ผลักดนั เต็มที่ ทั้งคน เครื่องมอื และงบประมาณ ทาํ ใหยงั คงใชพลังงานเทา เดมิ แตคาใชจา ยดานพลงั งานกลบั ลดลงเรือ่ ยๆ โดยมเี ทคโนโลยเี พ่ือการจัดการ พลังงานในแบบเฉพาะของคนนาหมอบุญเปน เคร่ืองมอื 2. ดานการพัฒนาประชาธิปไตย (การมีสว นรว ม) ตัวอยางเชน อบต.ถ้ํารงค อ.บานลาด จ.เพชรบุรี มีจุดเดนของการขยายผลแผนพลังงานชุมชน ผา นกระบวนการจัดทําแผนพลังชุมชนทุกดา น เกดิ ขนึ้ จากการมสี ว นรวมของชาวชมุ ชน ท่มี ีกิจกรรมพลังงานแทรกอยูในวิถีชีวิตประจําวัน และวิถีอาชีพที่ เหน็ ตรงกันวา ตอ งเปนไปเพื่อการอนรุ กั ษพ ลงั งานดวย เชน กจิ กรรมทองเทยี่ วชมุ ชนทใี่ หใชจ กั รยานแทนการ ใชร ถยนต 3. ดานการพฒั นาวิสาหกิจชุมชน (กลุม อาชีพดานพลังงาน) มี 7ชุมชนที่ไดรับการนําเสนอวาเกิด รูปธรรมจรงิ คอื อบต.หนองแซง อ.หันคา จ.ชัยนาท อบต.หนองโพรง อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบรุ ี

ห น้ า | 21 อบต.ตาออ็ ง อ.เมืองสุรินทร จ.สรุ ินทร อบต.กดุ นํ้าใส อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน อบต.กอ เอ อ.เข่อื งใน จ.อุบลราชธานี อบต.ทุง อ.ไชยา จ.สุราษฎรธานี อบต.ทา ขาม อ.หาดใหญ จ.สงขลา ในทุกชุมชนเกิดอาชีพท่ีมาจากการตอยอดเทคโนโลยีพลังงานชุมชนออกมาเปน ผลิตภัณฑสินคา ชุมชน ทํารายไดเ ปน อาชีพเสริม จากผลพวงการบริหารจัดการพลังงานทดแทนในชุมชนไมว าจะเปน ถานจากกิ่งไมที่เคยไรค าถานผลไมเหลือท้ิงในบรรจุภัณฑเ กๆ ใชดูดกลิ่นในตูเย็น น้ําสมควันไมที่ใช ประโยชนไ ดส ารพดั ที่สําคัญหลายชุมชนเกิดกลุมอาชีพชา งผลิตเตาเผาถา น เตาซูเปอรอ ั้งโลประหยัดพลังงาน เตาชีวมวล ในแบบที่ถูกประยุกตใ หเหมาะกับการใชข องแตละพ้ืนที่ จําหนา ยใหก ับคนในตําบลและ นอกพนื้ ท่ี 4. ดานการศึกษา (กิจกรรมการเรยี นการสอนดา นพลงั งาน) ชมุ ชนสว นใหญม องภาพความย่ังยืน ดานการจัดการพลงั งานชุมชน โดยมุงเปาหมายไปทกี่ ารปลูกฝง เดก็ และเยาวชน ในรั้วโรงเรียนและในชุมชน เกิดความรู ความเขา ใจวาเร่ืองพลังงานเปนอีกปจจัยหนึ่งท่ีเก่ียวขอ งในชีวิตประจําวันของทุกคน และมี พลังงานหลายชนิดสามารถบริหารจัดการใหเกิดความย่ังยืนไดจากทรัพยากรท่ีมีอยูใ นชุมชน สรา งพฤติกรรมการใชพลงั งานอยางรคู ณุ คา 5. ดา นการทอ งเท่ียว (ศนู ยก ารเรียนรูเ พื่อเปน ที่ศกึ ษาดงู าน) มีตวั อยา งชมุ ชนที่ทําเรอ่ื งนอี้ ยา ง เขม ขน คือ อบต.ดอนหญานาง อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา เปน ชุมชนท่ีเนน การเลือกนําเทคโนโลยี พลังงานไปใชใหส อดคลอ งกบั ความตองการทีห่ ลากหลายของคนในชมุ ชน ซง่ึ มที ้งั ทาํ นา ทําสวน และคาขาย รวมทัง้ เดินหนาสรา งจิตสํานึกผา นการทํางานกับโรงเรียน และนักเรียนในพ้ืนที่หวังการเรียนรูท่ีซึมลึกวา พลังงาน คือ สวนหน่ึงของชีวิตที่ตองใสใจและจัดการ จึงเกิดแหลง เรียนรูจากการ ทําจริงกระจายอยูท่ัว ชมุ ชน 6. ดา นสุขภาวะและสิ่งแวดลอ ม ผลอีกดานหน่ึงของการจัดการพลังงานชุมชนไปใชอยา งมี เปา หมาย ดังตัวอยาง ต.คอรุม อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ ท่ีมีสํานักงานพลังงานภูมิภาคท่ี 9 เขามาเสริมตอ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ที่ชุมชนทาํ อยูเดมิ อยางเขม แขง็ นั้นใหมัน่ คงยิ่งขึ้น มกี ารอบรมทําปุยอนิ ทรีย ซ่ึง การลดการใชสารเคมีจะชว ยใหส ุขภาพของคนในชุมชนและสิ่งแวดลอมดีขึ้น มีจุดเผยแพร ศูนยเ รียนรู พลงั งาน มีการอบรมการทาํ ไบโอดีเซล อบรมเผาถาน เปน ตน

22 | ห น้ า 7. ดา นบญั ชพี ลังงานครัวเรอื น การทาํ บญั ชคี า ใชจ ายดานพลังงานถือเปน หัวใจ หรือจุดเริ่มตนของ การไดมาซ่ึงขอ มลู ในการสรางความรว มมอื หาทางออกของการประหยัด ลดคาใชพ ลังงาน แทบทุกชุมชนใช เปนเครอ่ื งมือ รวมท้ัง อบต.บางโปรง อ.เมอื งจ.สมุทรปราการ ท่ีสํานักงานพลงั งานภูมิภาคท่ี 1 ไดเ ขา ไปเช่ือม ตอ แนวทางการพฒั นาชุมชนในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ในแบบเฉพาะของสังคมกึ่งเมืองก่ึงอุตสาหกรรม ท่ีมี ทรพั ยากรท่จี ะแปลงมาเปนพลังงานทดแทนไดนั้นมนี อย ชมุ ชนจงึ เดนิ หนาดวยการสรางจติ สํานกึ กบั เครอ่ื งมือ “บัญชพี ลงั งานครวั เรอื น” ที่ไมต อ งลงทนุ เพราะทุกคนทําไดด ว ยตวั เองและทําไดตลอดเวลา น่ีคือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนจากการรูจักการบริหารจัดการและการใชพ ลังงานชุมชนอยางมี ประสิทธิภาพ เปน วิถีพลังงานชุมชนของคนพอเพียง ท่ีกาํ ลังขยายผลออกไปอยางกวา งขวาง และเราทุกคน สามารถมีสวนรวมได และเร่มิ ไดต ลอดเวลา เราสามารถชวยจดั การกับปญ หาพลังงานใหห มดไปได เมอื่ เรารู จักพ่ึงตนองและใชช ีวิตดว ยความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีภูมิคุม กัน อันเปน หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งทจ่ี ะนาํ ไปสูก ารจดั การพลังงานชุมชนอยางยงั่ ยนื

ห น้ า | 23 กิจกรรมที่ 2 จากขอความตอ ไปนี้ ใหผเู รยี น วิเคราะหเ ขียนสงอาจารยประจาํ กลมุ และ นาํ เสนอเพอื่ แลกเปล่ยี น เรียนรู “การโฆษณาในโทรทัศน และวิทยปุ จจบุ นั ถา ยังโฆษณากนั อยางบา เลือดอยอู ยางน้ี จะไปสอนใหคน ไมซอ้ื ไมจาย และใหบริโภคตามความจาํ เปนไดอ ยางไร ในเมื่อปลอยใหมีการกระตุนการบริโภคแบบเอาเป นเอาตายอยูเชนนี้ ผคู นกค็ ดิ วา อะไรทตี่ ัวเองตองการตองเอาใหได ความตองการถูกทําใหกลายเปน ความจําเป นไปหมด” ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

24 | ห น้ า บทที่ 3 การแกป ญ หาชมุ ชน สาระสําคัญ การแกปญหาชมุ ชนโดยใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยพืน้ ฐานก็คอื การพ่งึ พาตนเอง เป นหลกั การทําอะไรเปน ขั้นตอน รอบคอบ ระมดั ระวงั พิจารณาถึงความพอดีพอเหมาะพอควร ความ สมเหตุสมผล และการพรอมรับความเปล่ยี นแปลง การสรา งความสามัคคีใหเกดิ บนพ้นื ฐานของความสมดลุ ในแตล ะสัดสวนแตล ะระดับครอบคลุมทง้ั ดานจติ ใจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม รวมถงึ เศรษฐกิจ ผลการเรียนรูที่คาดหวงั 1. สาํ รวจและวเิ คราะหปญ หาของชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ มและวัฒนธรรม พ้ืนฐาน ของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. อธบิ ายแนวทางพัฒนาชุมชนดา นสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ มและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิด ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได 3. เสนอแนวทางและมีสว นรว มในการแกปญ หา หรือพัฒนาชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ ส่งิ แวดลอมและวฒั นธรรมโดยใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. มีสวนรว มในการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ของบคุ คล ชมุ ชนทปี่ ระสบผลสาํ เรจ็ ขอบขา ยเนือ้ หา เร่ืองท่ี 1 ปญ หาของชมุ ชน เรอื่ งที่ 2 การจัดทาํ แผนชมุ ชน เร่ืองที่ 3 การประยุกตใชเ ศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือแกไ ขปญ หาชุมชน

ห น้ า | 25 เร่ืองที่ 1 ปญหาชุมชน ในแตละชุมชนจะมีปญ หาที่แตกตางกันออกไป ขึ้นอยูก ับบริบทของชุมชน แตโ ดยท่ัวไป เราสามารถแบงปญ หาของชมุ ชน ออกในดา นตา งๆ ดงั น้ี 1. ปญ หาดานการศึกษา อาทิเชน จํานวนผูไ มร ูหนังสือ ระดับการศึกษาของประชาชนอัตรา การศึกษาในระดบั ตางๆ และแหลงเรยี นรูใ นชุมชน เปนตน 2. ปญหาดา นสุขภาพอนามัย ไดแ ก ภาวะทุโภชนาการ คนพิการ โรคติดตอ โรคประจําตัว อัตราการตายของทารกแรกเกิด สถานพยาบาลในชุมชน การรับบริการดานสาธารณสุข เปนตน 3. ปญ หาดา นสังคม การเมือง การปกครอง ไดแก การเกิดอาชญากรรม แหลง อบายมขุ ความขดั แยง ทางการเมอื ง กิจกรรมทเ่ี กีย่ วขอ งกบั การเลือกต้งั ในระดับตา งๆ 4. ปญหาดานส่ิงแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติไดแก ปญ หามลภาวะตางๆ การทําลายทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม ของมลู ฝอยกับธรรมชาติตา งๆ 5. ปญหาดา นศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ไดแ ก การสืบทอด อนรุ ักษแ ละการปฏิบัติศาสนกิจของ ประชาชน ท่ีสงผลถึง ความรกั และความสามคั คขี องคนในชาติ เชน - ดา นการศึกษา - สุขภาพอนามยั - ดา นสงั คม/การเมอื งการปกครอง - ส่งิ แวดลอม - ศาสนาวัฒนธรรม คณุ ธรรม ควรแยกปญหาเปน ดานๆมากกวา การยกมาเปนอยา งๆ ใหผเู รยี นจําแนกและคน หาปญ หาในชุมชน ของตนเอง แนวทางการแกปญ หาชมุ ชน เนนเรื่องปญหา เปนการเปลี่ยนแปลงที่เอาปญหามาเปนตัวตั้ง แลว หาแนวทางจัดการหรือ แกปญ หาน้นั ๆ ชุมชนเปลีย่ นแปลงไปหรือไมอ ยางไร ดทู ่ีปญ หาวามีอยูและแกไ ขไปอยา งไร เนนเร่ืองอํานาจ เปนการเปล่ียนแปลงที่มองตัวอํานาจเปนสําคัญชุมชนเปล่ียนแปลงไปหรือไม อยางไร ดทู ่ีใครเปนคนจดั การ อาํ นาจในการเปลยี่ นแปลงอยทู ่ีไหน ศักยภาพในการเปล่ยี นแปลงเพ่มิ ข้นึ หรอื ไมแ ละสุดทายมกี ารเปลย่ี นโครงสรา งอาํ นาจหรือไม เนนการพฒั นา เปน การเปลย่ี นแปลงทีเ่ นน ทพี่ ลังจากภายในชมุ ชน ดาํ เนนิ การเปลยี่ นแปลงชุมชน โดยการตดั สินใจ การกระทําของคนในชมุ ชนเอง ไมไ ดไ ปเปล่ียนที่คนอ่ืน หากเปน การเปลี่ยนท่ีชุมชน และ ไมไ ดเ อาตวั ปญหาเปนตวั ต้งั แตเ ปนความพยายามท่ีจัดสรา งชุมชนทพี่ ่ึงตนเอง และสามารถยนื อยไู ดดวยตน เอง

26 | ห น้ า เรอื่ งท่ี 2 การจัดทําแผนชมุ ชน การแกป ญ หาชุมชนที่เปนรูปแบบและขั้นตอน นา จะใชก ารแกป ญ หาในรูปแบบชมุ ชนโดยชุมชนจะ ตองมคี ณะทํางานทม่ี าจากหลายภาคสวน เขา มามีสวนรวมในการแกปญ หาของชุมชนดว ยตนเอง โดยนํา เอาปญ หา และประสบการณของชุมขน มาวิเคราะห จัดลําดับและแนวทางการแกไ ข มารวมกัน พิจารณา ปญหาในบางเร่อื ง ชมุ ชนสามารถแกไ ขไดดว ยตนเอง ปญหาใหญๆ และซบั ซอนอาจตองจัดทาํ เป นโครงการ ประสานงาน หนวยงาน องคการภาครัฐ หรือองคก รปกครองสวนทองถิ่นหรือหนว ยงานท่ีมี การรับผดิ ชอบ และมศี ักยภาพโดยตรง ตลอดจนโครงการของรัฐบาล การจัดทําแผนชุมชนนาจะเปน เนื้อหา สาระหนึ่งท่ี ชุมชนจะตองไดรับการฝกฝน เพราะใน ปจจุบันน้ี ทางราชการไดใ ชแ นวทางของแผนชุมชนเปน แนวทางในการพัฒนา ไมวา จะเปน โครงการ กองทุนเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการ SML และโครงการขององคการตา งๆ แมก ระท่งั องคการปกครองสว น ทอ งถิ่น เร่ืองที่ 3 การประยกุ ตใ ชเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อแกปญ หาชุมชน ดา นจิตใจ มีจติ ใจเขมแข็ง พึง่ ตนเองได / มีจิตสํานึกท่ีดี / เอื้ออาทร / ประนีประนอม นึกถึงผล ประโยชนส วนรวมเปน หลกั ดานสังคม ชวยเหลือเกือ้ กลู กัน / รูรักสามัคคี / สรางความเขมแข็งใหค รอบครวั และชมุ ชน ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจักใชและจัดการอยา งฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช ทรพั ยากรท่ีมอี ยอู ยา งคุมคา และเกดิ ประโยชนส ูงสดุ / ฟนฟูทรัพยากรเพ่อื ใหเกดิ ความยงั่ ยนื สงู สดุ ดานเทคโนโลยี รูจักใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพแวดลอม (ภมู ิสงั คม) / พัฒนาเทคโนโลยีจากภมู ิปญ ญาชาวบานเองกอน / กอใหเกิดประโยชนกบั คนหมมู าก การประยกุ ตใ ชป รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง - โดยพืน้ ฐานกค็ ือ การพงึ่ พาตนเอง เปนหลัก การทําอะไรเปน ขัน้ ตอน รอบคอบ ระมัดระวัง - พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตุสมผลและการพรอมรับความ เปล่ียนแปลง - การสรางสามัคคีในเกดิ ข้ึนบนพืน้ ฐานของความสมดุลในแตล ะสัดสวนแตละระดบั - ครอบคลุมทั้งดานจิตใจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมรวมถึงเศรษฐกจิ การจดั ระเบยี บชมุ ชน 1. การชว ยตนเอง (Self – help) หมายถงึ การเปลีย่ นแปลงทชี่ มุ ชนคน หาปญหา รับสมัครสมาชิก และใหบรกิ ารกันเอง โดยรบั ความชวยเหลอื จากภายนอกใหนอ ยทสี่ ุด

ห น้ า | 27 2. การสรางพนั ธมิตร (Partnership) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงการดําเนินการโดยคนในชุมชนท่ี มปี ญ หา รวมตวั กนั รับความชวยเหลอื จากภายนอก โดยเฉพาะดา นการเงิน 3. การทาํ งานรว มกนั (Co production) หมายถงึ การจดั ตัง้ กลุม องคก รในชุมชนข้ึนมารับผิดชอบ กจิ กรรมรว มกบั หนวยงานภาครฐั 4. การกดดนั (Pressure) หมายถึงการเปล่ียนแปลงที่คนในชุมชนคนหาประเด็นปญ หาของตนมา จัดการ แตเ ปน การจัดการภายใตก ฎเกณฑของบา นเมือง ดวยการโนม นา วใหนักการเมืองและขาราชการ เปลีย่ นแปลงนโยบาย 5. การประทวงคัดคา น (Protest) หมายถึงการรวมตัวกันของประชาชน และมีการจัดระเบียบท่ี มงุ กอใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกจิ และการเมือง ทําอยา งไรจงึ จะจัดชุมชนใหมกี ารทํางานอยางมีประสิทธิภาพ กิจกรรมท่ีชุมชนตอ งรับผิดชอบคอื - ต้ังคณะกรรมการบรหิ าร - ประเมนิ สภาพของชมุ ชน - เตรียมแผนการปฏิบตั ิงาน - หาทรพั ยากรท่จี าํ เปน - ทาํ ใหแนใ จวากิจกรรมของชุมชนทง้ั หมด จะตองมีการติดตามและการบริหารที่มีประสิทธิภาพ สงู สดุ สาํ หรับการปฏบิ ัตงิ าน การประเมนิ สภาพชมุ ชน - ชุมชนการดาํ เนินกจิ กรรมของตนเองโดยองิ ขอมูลสารสนเทศ - วิเคราะหช ุมชนหรือเร่ืองราวของชุมชน คณะกรรมการบริหารจะตอ งทําการประเมินดว ย คณะกรรมการเอง - มองปญหาและหาทางแกไข ทรัพยากรและขอจาํ กดั - ประเมินส่งิ ทคี่ นพบใหผสมผสานกันเปนองคร วมทจี่ ะเสนอใหชมุ ชนไดร บั ทราบ - การประเมินเปน ส่ิงที่ตอ งกระทาํ กอนท่ีจะมีการวางแผนปฏิบตั ิงานของชมุ ชนใหแ นใ จวาชุมชนมี ความเขา ใจท่ถี ูกตองตรงกันกับสิ่งท่ีคณะบริหารไดส ังเกตมา และเปนความเห็นรว มกันเก่ียวกับธรรมชาติ และขอบเขตของปญ หาและศักยภาพ การเตรยี มแผนปฏิบัตกิ ารชุมชน - ชมุ ชนเปนผกู าํ หนดอนาคตของตนเอง - การตดั สินส่ิงทต่ี องการเฝาสังเกตสงิ่ ทม่ี อี ยู และทําความเขาใจขั้นตอนที่ตองการ เพ่ือใหไดสิ่งที่ ตองการทั้งหลายท้งั ปวง คือพน้ื ฐานการวางแผน

28 | ห น้ า - เน้ือแทของการวางแผนการจดั การ เราตอ งการอะไร เรามีอะไรอยใู นมอื เราจะใชส่ิงทอ่ี ยูในมืออยางไร ใหไ ดส่งิ ที่เราตองการ อะไรจะเกดิ ขนึ้ เมอ่ื เราทํา แผนปฏิบัตกิ ารของชมุ ชน ควรชใี้ หเ ห็นถงึ - เดย๋ี วน้ี ชุมชนเปนอยา งไร - เมอ่ื สิน้ สดุ แผนแลว ตอ งการที่จะเปนอยา งไร - จะไดอะไรจากการเปลย่ี นแปลง - คณะกรรมการบริหารจะเปนผูรางแผนปฏิบัติจากขอ มูลสะทอนกลับของชุมชน จากการ ประเมินปจ จุบันรางแผนปฏิบัติการ ควรนําเสนอตอชุมชนทั้งหมดเพ่ือการปรับแผน และการอนุมัติจาก ชุมชน

ห น้ า | 29 กิจกรรมท่ี 3 ใหผ ูเรียนแบงกลมุ กลุมละ 5-10 คน ศกึ ษาปญหาของชมุ ชน จัดปญ หาเปนกลมุ ๆ และหาแนวทาง แกป ญหา ทานคดิ อยา งไรเกีย่ วกับประเดน็ ตอ ไปน้ี “มีเรอื่ งจริงเก่ียวกับนาสาวกับหลานชายจากปลายทุงอยุธยาซ่ึงมีท้ังปลาและพืชผักพ้ืนบานอุดม สมบูรณ นามีการศึกษาสูงจึงยายไปเปน ครูอยูในเมืองใหญ เวลากลับไปเยี่ยมบานเธอจะรับประทาน อาหารจําพวกปลาและผักพ้ืนบา นดว ยความพอใจ สว นหลานชายมักบน วาปลาและผักพื้นบา นเปน อาหารลา สมัย หนุมนอ ยคนน้ันจึงชอบขับมอเตอรไ ซค เขาไปในตลาดเพื่อรับประทานอาหารทันสมัย ไดแกบะหม่ีสําเร็จรปู นาํ้ อัดลม ขนมกรุบกรอบ” ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

30 | ห น้ า กจิ กรรมท่ี 4 ใหผเู รยี นแบงกลมุ 5-10 คน ใหว ิจารณส ถานการณโ ลกวาเหตุใดประเทศท่ีมีความเจรญิ กาวหนา อยางประเทศสหรฐั อเมริกาจึงประสบปญ หาเศรษฐกิจตกตํา่ ใหผ เู รียนบนั ทกึ สาเหตทุ ี่ทําใหภ าวะเศรษฐกจิ ตกตํ่าท่ัวโลก ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

ห น้ า | 31 บทท่ี 4 สถานการณข องประเทศไทย และสถานการณโลกกบั ความพอเพยี ง สาระสําคญั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหเ กิดการพิจารณาอยางรอบดาน มีความรอบคอบ และ ระมัดระวังในการวางแผนและการดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อมิใหเกิดความเสียหายตอการพัฒนา เปนการพฒั นาทค่ี ํานงึ ถงึ การมรี ากฐานท่ีม่ันคงแข็งแรง สรางการเจริญเติบโตอยางมลี ําดับข้นั ตอน สามารถ ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ทงั้ ทางกายภาพและทางจิตใจควบคูก ัน หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงจึงมิไดข ัดกับ กระแสโลกาภวิ ัฒน ตรงกันขามกลับสง เสรมิ ใหกระแสโลกาภวิ ฒั นไ ดรับการยอมรับมากข้ึน ดวยการเลือก รับการเปลี่ยนแปลงท่ีสง ผลกระทบในแงด ีตอประเทศ ในขณะเดียวกันตองสรา งภูมิคุมกันในตัวที่ดี พอสมควรตอ การเปลี่ยนแปลงในแงทไี่ มด ีและไมอาจหลีกเลย่ี งได เพือ่ จํากดั ผลกระทบใหอ ยใู นระดับไมกอ ความเสียหายหรือไมเปนอันตรายรา ยแรงตอประเทศ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตระหนักในความสําคัญของการพัฒนาประเทศภายใตก ระแสโลกาภิวัฒนแ ละเลือกแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ ชในการดําเนินชีวิตอยางสมดุลและพรอ มรับตอ ความเปลี่ยน แปลงของประเทศภายใตกระแสโลกาภวิ ัฒน ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองที่ 1 สถานการณโ ลกปจจบุ นั เร่อื งท่ี 2 สถานการณพลงั งานโลกกับผลกระทบเศรษฐกจิ ไทย

32 | ห น้ า เร่อื งที่ 1 สถานการณโ ลกปจ จุบนั ( ชวงป 2551-2552 ) เมือ่ สหรฐั อเมริกาไดพัฒนาเศรษฐกจิ ของตน สสู ูงสดุ ของทนุ นยิ มโลก เนือ่ งจากตลาดทุนจากทวั่ โลก หล่ังไหลสูต ลาดทุนในสหรัฐอเมริกา หลังจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเอเซียและขยายตัวออกไปทั่วโลก สตอ กทุนจํานวนมหาศาลในแตละประเทศ ไมสามารถนําไปลงทุนได เนื่องจากเศรษฐกิจชะลอตัวถึงขั้น วิกฤต เม็ดเงินจากสตอ กทนุ ท่ัวทกุ มุมโลกไดไหลบา ทะลักสูตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา ปญหาจากการเติบ ใหญข องทุนในสหรฐั อเมริกากค็ อื การขยายพื้นทีก่ ารลงทุน เพ่อื กระจายทุนออกไป ในขอบเขตปริมณฑลให กวางท่สี ดุ เพอ่ื รองรับการขยายตวั ของทุน ทีน่ ับวันจะเตบิ ใหญ ป พ.ศ.2541 ขณะที่วิกฤตเศรษฐกิจกําลังเปนภัยคุกคามประเทศตา งๆ จากท่ัวโลก ตลาดทุนใน สหรัฐอเมรกิ า กลับพุง ทะยานอยา งรวดเร็ว ดชั นหี ุน Dow Jones พงุ ทะยานทะลุ 10,000 จุดเปน คร้ังแรก และสูงสุดกวา 11,000 จุด Nasdaq สูงกวา 3,800 จุดสรางความเลื่อมใสศรัทธา งุนงง และไมเ ขา ใจตอ เศรษฐกิจอเมรกิ า ทสี่ วนทางกับวิกฤตเศรษฐกิจโลก ซ่ึงจริงๆ แลวเปนเร่ืองท่ีสามารถทําความเขาใจไดไ ม ยาก เมอื่ สตอ กทนุ ในแตล ะประเทศ ไมสามารถนําไปลงทุนภายในประเทศได และความเช่ือม่ันในตลาดทุน อเมริกา ยังคงอยูในความรูส ึกที่ดีของนักลุงทุน ดังน้ัน ทุนจากท่ัวทุกมุมโลกจึงหล่ังไหลเขา สูต ลาดทุนใน อเมริกา เมื่อตลาดทุนในอเมริกาไมไ ดเติบโตบนพ้ืนฐานของความเปนจริง การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบ ฟองสบขู องสหรัฐอเมรกิ า จึงนา จะยนื อยูไดไ มนาน ป 2001 ปฐมวัยยางกาวแรก ของรอบพันปที่ 3 บริษัทยักษใหญใ นสหรัฐอเมริกาเร่ิมทยอย ประกาศผลประกอบการกาํ ไรที่ลดลง และการประกาศปลดพนกั งาน เชนเม่ือเดอื นธันวาคม 2543 เจเนอรลั มอเตอรส (จีเอ็ม) ปลดพนักงาน 15,000 คน วันพุธที่ 24 มกราคม 2544 ลูเซนตเทคโนโลยี ผูผลิตอุปกรณ โทรศัพทยักษใหญป ระกาศปลดพนักงาน 16,000 ตําแหนง เวิรลพูลผูผ ลิตเคร่ืองใชไฟฟา ปลดพนักงาน 6,000 คน เอโอแอลไทม วอรเนอร กิจการสื่อยุคใหมจ ากการผนวกระหวางอเมริกาออนไลน กับ ไทม วอรเ นอรปลดพนักงาน 2,000 คน การแกวงตัวอยางไรทิศทางและไมช ัดเจนของตลาดทุนในสหรัฐอเมรกิ า เริ่มที่จะผันผวนและไมแ น นอน นักลงทุนเร่ิมไมแ นใจตอความเช่ือม่ันตลาดทุนอเมริกา และเม่ือนายคิอิชิ มิยาซาวา รัฐมนตรีคลัง ญี่ปุน กลา วเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2544 ในการชี้แจงตอคณะกรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภา ยอมรับ ความปราชัยทางเศรษฐกิจอยางเปนทางการครั้งแรก หลังจากท่ีเศรษฐกิจญี่ปุน ผุกรอ นเปนปญ หายืดย้ือ ยาวนานมารว ม 10 ป วา ฐานะการเงินของประเทศกําลังย่ําแยเ ต็มที หรืออาจกลาวไดวา ใกลจ ะลมละลายแลว สปั ดาหร งุ ขนึ้ หลงั การแถลงของมยิ าซาวา ตลาดทนุ ในสหรัฐอเมรกิ า นําโดย NASDAQ รวงลงกวา 30% ตามดว ย Dow Jones, S&P และตลาดทุนท่ัวโลก พังทะลายลงทันที จอรจ บุช เรียกสถานการณนี้ วาเปน World Stock Crisis

ห น้ า | 33 ขณะท่ีนกั ลงทุนจากทั่วโลก เกิดความไมเ ช่ือม่นั ตลาดทนุ ในสหรฐั อเมริกา เหตุการณค วามตงึ เครียด ในภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก ในชว งของเดือนมีนาคม 2544 ไลต้ังแตการประกาศจะพัฒนาขีปนาวุธ ปอ งกันตนเองของสหรัฐอเมรกิ า การจบั ตัว มโิ ลเซวิช อดีตผูนาํ ยูโกสลาเวีย การตอ สูของชาวปาเลสไตนท ่ี พัฒนาจากการขวา งกอ นอิฐกอนดิน มาเปนการวางระเบิดและมีการใชป น ความตึงเครียดในเชสเนีย การทําลายพระพุทธรูปทใี่ หญที่สุดในโลกของกลุมตาลีบัน ในอัฟกานิสถาน ไดสรางแผลลึกในจิตใจของ ชาวพุทธ ตอชาวมสุ ลมิ องคทะไลลามะธเิ บต เยอื นใตห วัน เรือดํานํ้าอเมริกาโผลที่เกาะแหงหนึ่งในญ่ีปุน โดยไมม ีการแจง ลวงหนา สหรัฐอเมริกาประกาศขายอาวุธแกใตหวัน ปด ทา ยดวยการยั่วยุจีน ดว ยการใช เครื่องสอดแนมบินรุกลํ้าเขา ไปในนา นฟาจีน กระท่ังทําใหจ ีนตอ งใชเคร่ืองบินขับไลส องลํา ขึ้นบังคับให เครือ่ งบินสอดแนมของสหรฐั ลงจอดบนเกาะไหหลําเหตุการณท่ีเกิดความตึงเครียดดังกลาว ลว นเกิดข้ึนใน เดอื นมนี าคม ขณะท่วี ิกฤตตลาดทุนของสหรัฐอเมริกากําลังเกิดขึ้นพอดี โดยเบื้องลึกจะเกิดจากการสรา ง สถานการณโ ดยสหรัฐอเมริกาหรือไมก็ตามภายในระยะเวลาเพียงหน่ึงเดือน ดัชนีตลาดหุน Dow Jones กด็ ดี กลับข้ึนมายืนอยูในระดับที่สงู กวา เดือนมกราคมเสียอีก ทั้งที่เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ยังตกอยูใน ภาวะท่เี ลวราย สถานการณเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา – ญี่ปุน กําลังจะนําไปสูวิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยม การเตรียม พรอ มของสหรฐั อเมริกาในการตงั้ รับ และเปด แนวรกุ ตอสถานการณด งั กลา วมานานกวา 20 ป น่ันก็คือการ เตรยี มพรอมดา นยทุ ธศาสตร “การทาํ สงครามเล้ยี งเศรษฐกิจ” เนื่องจากสหรัฐอเมริกา ไดพัฒนาปจจัยการ ผลิตสูยุค IT (Information Technology) ดังน้ัน ยุทธศาสตร ยุทธวิธี ทางสงคราม ไดถูกพัฒนารูปแบบ สงครามสูย ุค IT ขณะที่รูปแบบยุทธศาสตร - ยุทธปจจัย ของประเทศตางๆ ทั่วโลก ยังคงใชรูปแบบของ สงครามในยคุ อุตสาหกรรม (บางประเทศมหาอาํ นาจอยาง จีน –รฐั เซีย รูปแบบสงครามอาจพฒั นาสูย ุค IT แลว แตยังไมม กี ารสาธติ เชน สหรฐั อเมริกาทไี่ ดผ า นการสาธติ แลวในสงครามอา ว) ประเทศจีนหลังจากท่ี เติ้งเซี่ยวผิง ไดประกาศนโยบายส่ีทันสมัย นําประเทศจีน สูการพัฒนาดานพลัง การผลิต ดวยนโยบาย หน่ึงประเทศสองระบบ ทําให GDP จีน เติบโตระหวา ง 8–12% มาโดยตลอด แมป จจุบันทว่ี กิ ฤตเศรษฐกิจโลกสงผลกระทบกบั ทกุ ประเทศ การเติบโตทางเศรษฐกจิ ของจนี ก็ยงั ยืนอยูใ นระดับ7-8% จากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนดังกลาว ยอมท่ีจะไปกระทบ และขดั ขวางตอ ผลประโยชนของสหรัฐอเมริกา ในการที่จะแผอ ิทธิพลสูการเปน จักรวรรดินิยมจาวโลก ดัง นั้น ความพยายามในการที่จะทําลายจีนใหออ นกําลังลง ดว ยการแยกสลายจีนจาก 8 เขตปกครองตน ใหเปน ประเทศเชนเดยี วกับรัสเซียจึงนับเปน สุดยอดของยุทธศาสตร อันจะนําไปสูความสําเร็จของการ เปน จักรวรรดินยิ มจาวโลก

34 | ห น้ า เรอ่ื งท่ี 2 สถานการณพ ลงั งานโลกกบั ผลกระทบเศรษฐกิจไทย ปญหาเรงดวนในปจ จบุ ันท่สี ง ผลกระทบตอเกือบทกุ ประเทศในโลก คือ การท่ีราคานํ้ามันไดสูงข้ึน อยา งรวดเรว็ และตอเน่อื งในชวงเวลา 4-5 ปท ่ผี านมา และ ดเู หมือนน้ํามันในปนี้ (พ.ศ.2551) จะแพงสูงสุด เปนประวตั ิการณแ ลว ภาวะน้ํามันแพงทําใหต น ทุนดานพลังงาน (โดยเฉพาะอยางยิ่งในการขนสง) สูงขึ้น อยา งรวดเร็ว มีผลลูกโซตอไปยงั ราคาสินคาและบริการตา งๆ นอกจากจะทาํ ให คา ครองชีพสูงขึ้นมากแลว ยงั เปน อปุ สรรคตอการขยายตวั ทางเศรษฐกิจอกี ดว ย ผลกระทบเหลา นี้ไดก อ ใหเกิดการประทวงของกลุม ผูท ่ีตองแบกรับภาระ เชน คนขับรถบรรทุก และชาวประมงในหลายประเทศ รวมทั้งการเรียกรองใหรัฐบาลยื่นมือเขามาแทรกแซงและใหค วามชวย เหลอื ปญ หาราคานํา้ มันแพงมากในชวงน้ีถือไดวา เปน วิกฤตการณน ํา้ มนั ครง้ั ท่ี 3 ของโลกก็วาได 7 ปจ จัย ตนเหตุน้าํ มันแพง ! ราคานํา้ มันดบิ ในตลาดโลกเริ่มขยับตัวข้ึนสูงอยา งเห็นไดช ัดในป 2547 โดยราคาน้ํามันดิบ สูงข้ึน บารเ รลละประมาณ $10 เปนกวา $38 ตอ บารเรล และหลงั จากน้ันเปนตน มา ราคาก็มีแนวโนม สูงข้ึนโดย ตลอด จะมลี ดลงบา งในบางคร้ังเปน ชวงสั้นๆ เทาน้ัน โดยความผันผวนของราคามีมากข้ึน แตการเปล่ียน แปลงเปนไปในทางเพิ่มมากกวา ทางลด ในชวงปลายป 2550 ราคานาํ้ มนั ดบิ พุงสูงเกนิ $100 ตอ บารเรล ซึ่งนอกจากจะเปน ระดับท่ีสูงที่สุด เปน ประวัติการณใ นรปู ของราคาปปจ จบุ ัน ในชว งคร่ึงปแรกของป 2551 ราคาน้ํามันกย็ ังคง ขยับสูงขึ้นอยาง ตอ เนอ่ื งและอยูในระดับกวา $130 ตอ บารเ รลในสัปดาหท่ี 2 ของเดือนมถิ ุนายน 2551 มีบทความขอเขียน จํานวนมากทไี่ ดว ิเคราะหแ ละอธิบายสาเหตุของภาวะนํ้ามันแพงดังกลาว สว นใหญมีประเด็นที่เหมือนกัน และสอดคลอ งกัน ดังน้ี 1 กําลังการผลิตสว นเกิน (excessproduction capacity) ในตลาดนํ้ามันดิบอยูใ นระดับที่ คอนขา งตา่ํ มาตลอด 5 ปท ผี่ านมา ทงั้ นี้ เปน ผลจากการท่ีประเทศ ผูผลิตน้ํามันหลายแหง ขาดแรงจูงใจใน การขยายกําลงั การผลติ ในชว งท่รี าคานาํ้ มนั อยูในระดับคอ นขา งต่ําในชวงทศวรรษ 1990 หนวยงานพลงั งาน ของสหรัฐ (EIA) รายงานวา ในเดือนกันยายน 2550 OPEC มีกําลังการผลิตสวนเกินเพียง 2 ลา นบารเ รลตอวัน (ประมาณ 2% ของปริมาณการใชน้ํามันของโลก) โดยประมาณ 80% ของสวนเกินนี้ อยูใ นซาอดุ ีอาระเบียเพียงประเทศเดียว 2 การผลติ น้าํ มนั จากแหลงใหมๆ ในโลก เริม่ มีตน ทนุ ท่ีสูงมากข้ึน ท้ังนี้อาจเปนเพราะแหลงน้ํามัน ขนาดใหญๆ ถูกคนพบและใชงานเปน สวนใหญแลว ยังเหลืออยูก ็จะเปนแหลงนํ้ามันขนาดเล็ก หรือท่ีมี คุณภาพต่ํา หรือท่ีอยูในถิ่นทุรกันดาร/น้ําทะเลลึกๆ ซ่ึงมีตนทุนการสํารวจและการผลิตที่สูงมาก มีการ วเิ คราะหพบวา ในปจ จุบันตน ทนุ การผลิตน้ํามันในปริมาณ 4 ลานบารเรลตอ วัน (คิดเปน 5% ของปริมาณ

ห น้ า | 35 การผลติ ของโลกในปจ จบุ นั ) มีตน ทุนการผลิตสูงถึง $70 ตอ บารเ รล ตัวอยา งที่เห็นไดชัด คือ ทรายนํ้ามัน (tars sands) ในแคนาดา ซง่ึ เรมิ่ ผลติ ออกมาแลว และมีตนทุนการผลติ ไมตา่ํ กวา $60 ตอ บารเ รล 3 ในประเทศผูผ ลิตและสง ออกน้ํามันรายใหญหลายราย การผลิตน้ํามันมีโอกาสหยุดชะงักได (supply disruption) เพราะเหตุจากความไมส งบทางการเมือง สงคราม และภัยธรรมชาติ เหตุการณ สําคัญที่บงชี้ถึงปญ หาน้ี ไดแ ก การบกุ อริ ักของกองทัพสหรัฐในป 2546 ทําใหก ําลังการผลิตนํ้ามันของอิรัก ลดลงระดับหนง่ึ และความไมสงบซึ่งยงั คงเกิดขน้ึ ในประเทศหลังจากน้นั ยังเปน อปุ สรรคสําคัญตอการผลิต และการสง ออกน้าํ มนั ของอิรกั ใหกลบั ไปสูระดบั ปกติ ความขัดแยง ระหวา งอิหรานกับประเทศตะวันตกเก่ียวกับโครงการพัฒนานิวเคลียรข องอิหราน (ซ่งึ เปน ผูผลติ นาํ้ มนั มากเปน อันดบั ท่ี 4 ของโลก) กอ ใหเกดิ ความตึงเครยี ดในภูมิภาคตะวนั ออกกลางระหวาง อิหรา นและสหรฐั โดยอหิ รานประกาศวา จะใชน้าํ มันเปนอาวุธเพือ่ ตอบโตมาตรการคว่ําบาตรของสหรฐั และ ในป 2551 ไดม ีการเผชิญหนากันระหวา งทหารอิหรา นและทหารสหรัฐในบริเวณชอ งแคบฮอรมุซ ซึ่งเปน ทางผา นสําคัญสําหรบั การขนสง นาํ้ มันจากตะวนั ออกกลาง พายุเฮอรร ิเคนในแถบอาวเม็กซิโกในเดือนกันยายน 2548 มีผลกระทบตอ แทนผลิตนํ้ามันของ เม็กซิโก และโรงกลั่นท่ีต้ังอยูต อนใตข องสหรัฐ มีผลใหราคานํ้ามันเบนซินในสหรัฐเพ่ิมสูงข้ึนเปน $3 ตอ แกลลอน ซ่ึงเปนระดับทส่ี ูงสุดในรอบ 25 ป ผูกอ การรายในไนจเี รียคกุ คามแหลงผลิตนาํ้ มนั หลายครัง้ ทําใหป ระมาณการผลิตและสง ออกนํา้ มัน จากไนจเี รียลดลงประมาณ 500,000 บารเ รลตอ วัน ความขัดแยงทางการเมืองระหวา งรัฐบาลเวเนซุเอลา และรฐั บาลสหรัฐ ทําใหก ารนําเขา นํา้ มนั จากเวเนซเุ อลาของสหรัฐมคี วามเส่ยี งมากขึ้น 4 ในหลายประเทศทส่ี งออกน้ํามันได มกี ารผลิตน้ํามันในปริมาณที่ลดลงไป เพราะปริมาณสํารอง เร่ิมมีขอ จํากัดมากข้ึน ในขณะเดียวกันความตองการใชน ํ้ามันในประเทศเหลาน้ีก็เพ่ิมข้ึนตามการขยายตัว ของประชากรและเศรษฐกิจดว ย ทําใหห ลายประเทศตอ งลดการสง ออกลง เชน อินโดนีเซีย เม็กซิโก นอรเวย และองั กฤษ ในระหวา งป 2005 ถงึ 2006 การบรโิ ภคนาํ้ มนั ภายในประเทศผสู งออก 5 อันดับแรก คือ ซาอุดอิ าระเบีย รัสเซีย นอรเ วย อิหรา น และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ไดเ พิ่มสูงขึ้นถึงรอ ยละ 5.9 และ มีปริมาณการสงออกลดลงกวารอ ยละ 3 เม่ือเทียบกับปก อ นหนานี้ หรือในกรณีของอินโดนีเซียท่ีรัฐบาล มกี ารอุดหนุนผูบ ริโภคภายในประเทศ และกรณีของซาอุดิอาระเบียที่ราคาน้ํามันเบนซินในประเทศอยูท่ี 5 บาทตอ ลิตร ขณะท่ีมาเลเซยี อยใู นระดับ 20 บาทตอ ลติ ร จึงทําใหเ กดิ การคาดการณวา ปรมิ าณการสง ออก น้าํ มนั ดิบของประเทศผสู งออกน้าํ มนั จะลดลงถึง 2.5 ลา นบารเรลตอวนั ภายในชวง 10 ปน ้ี เม่ือไมกเ่ี ดอื นมา นี้ขา ววารัฐบาลอินโดนีเซียกําลังพิจารณาจะถอนตัวจากการเปนสมาชิก OPEC เพราะอินโดนีเซียจะไม สามารถสงออกน้าํ มันไดอ ีกตอ ไปในอนาคตอันใกลน ี้ 5 นอกจากกําลังการผลติ สว นเกนิ ของน้ํามนั ดบิ จะมีนอย กําลงั การกล่ันนํ้ามัน ของโลกกม็ ปี ญ หาคอ ขวด โดยมสี วนเกินนอยกวา 1 ลา นบารเ รลตอ วัน ในขณะเดียวกันตลาดนํ้ามันมีแนวโนมตองการใชนํ้ามัน ชนิดเบาและสะอาดมากข้ึน จงึ สรางแรงกดดนั ใหโ รงกลนั่ นํา้ มนั ตองลงทุนปรบั ปรุงคุณภาพอีกดว ย ขอ จํากัด

36 | ห น้ า นีจ้ งึ ทาํ ใหร าคาผลติ ภณั ฑน า้ํ มนั มรี าคาสูงข้ึนเพ่ิมไปจากการเพ่ิมของราคาน้ํามันดิบ และกําไรของโรงกล่ัน นํ้ามันอยใู นระดับที่คอนขางสูงมาโดยตลอด เปน ท่นี า สงั เกตดว ยวา สหรฐั ซ่ึงเปน ผใู ชน ํา้ มนั รายใหญที่สุดของ โลกไมไดกอสรา งโรงกลั่นนา้ํ มนั แหง ใหมม าเลยตงั้ แตท ศวรรษ 1970 6 ถงึ แมวาราคานาํ้ มนั ระหวา งป 2546 ถึงป 2550 จะสูงข้นึ กวา 3 เทาตวั แลว แตความตองการใช น้าํ มนั ของโลกก็ไมไดลดลงเลย กลับยังคงเพิ่มขนึ้ ในอตั รา 3.55% ในป 2548 และในอัตราที่ยังสูงกวา 1% ใน ปตอๆ มา ปรากฏการณเชน นแี้ ตกตางจากท่ีเกดิ ขนึ้ ในชว งวิกฤตน้ํามนั สองคร้งั แรก (ป 2516/17 และป 2522/23) ซึ่งเราพบวา ราคาน้ํามันที่สูงข้ึนมากทําใหความตอ งการน้ํามันลดลงในปต อมา ในชวง 4-5 ป ท่ผี านมา เศรษฐกิจโลกยังขยายตัวได คอ นขา งดี และดเู หมือนจะยงั ไมไดรบั ผลกระทบจากภาวะราคานํา้ มัน แพงมากนัก จนี และอนิ เดยี เปนผใู ชพลังงานทมี่ อี ทิ ธิพลตอ ตลาดน้ํามันโลก 7 กองทุนประเภท hedge funds หันไปลงทุนซอ้ื ขายเก็งกาํ ไรในตลาดนํ้ามันลว งหนามากข้ึน ท้ังน้ี เพื่อหลกี เลี่ยงการลงทุนในรูปของเงินดอลลารสหรัฐ ซึ่งในระยะหลังมีแนวโนม ออนคาลงมากเม่ือเปรียบ เทยี บกบั เงนิ สกุลอน่ื ๆ เนอ่ื งจากภาวะตลาดน้าํ มนั ตามท่ีกลา วมาแลว ชี้ใหเห็นวาราคาน้ํามันมีแนวโนม ที่จะ สูงขึ้น ผจู ัดการกองทุนเหลาน้ีจึงเกง็ กาํ ไรโดยการซื้อน้ํามันไวล วงหนา เพื่อขายเอากําไรในอนาคต สง ผลให ราคานํ้ามนั ทงั้ ในตลาด spot และตลาดลวงหนา สูงขนึ้ อกี ระดับหน่ึง ปรากฏการณโ ลกรอนและปรากฏการณเรอื นกระจก คา ผิดปกติของอุณหภูมิเฉลี่ยท่ีผิวโลกท่ีเพ่ิมข้ึนในชวงป พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิ ระหวาง พ.ศ. 2504–2533 คา เฉลย่ี อุณหภมู ิผวิ พืน้ ทผี่ ดิ ปกติทเี่ ทยี บกบั อณุ หภูมเิ ฉลยี่ ระหวา งป พ.ศ. 2538 ถึง พ.ศ. 2547 ในชว ง 100 ปท ่ีผา นมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกลผ ิวดินท่ัวโลกโดยเฉลี่ยมีคา สูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส ซ่ึงคณะกรรมการระหวา งรัฐบาลวา ดว ยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติไดสรุปไววา “จากการ สงั เกตการณการเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉล่ียของโลกที่เกิดขึ้นต้ังแตก ลางคริสตศ ตวรรษท่ี 20 (ประมาณตั้งแต พ.ศ. 2490) คอนขางแนช ัดวาเกิดจากการเพ่ิมความเขม ของแกสเรือนกระจกท่ีเกิดข้ึนโดยกิจกรรมของ มนุษยท ี่เปน ผลในรูปของปรากฏการณเรอื นกระจก” ปรากฏการณธรรมชาติบางอยาง เชน ความผันแปร ของการแผร ังสจี ากดวงอาทิตยแ ละการระเบิดของภูเขาไฟ อาจสง ผลเพียงเล็กนอ ยตอ การเพ่ิมอุณหภูมิใน ชวงกอนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กนอยตอการลดอุณหภูมิหลังจากป 2490 เปนตนมา ขอสรปุ พน้ื ฐานดงั กลาวน้ีไดร ับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตรไม นอยกวา 30 แหง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตรระดับชาติท่ีสําคัญของประเทศอุตสาหกรรมตา งๆ แมนักวิทยาศาสตรบ างคนจะมีความเห็นโตแยง กับขอสรุปของ IPCC อยูบาง [4] แตเสียงสว นใหญข อง นักวทิ ยาศาสตรท ี่ทํางานดานการเปลี่ยนแปลงของภูมอิ ากาศของโลกโดยตรงเห็นดวยกับขอสรปุ น้ี

ห น้ า | 37 แบบจําลองการคาดคะเนภูมิอากาศ บง ชี้วาอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยท่ีผิวโลกจะเพ่ิมข้ึน 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในชวงคริสตศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) คา ตัวเลขดังกลาวไดม าจากการจําลอง สถานการณแ บบตา งๆ ของการแผขยายแกสเรอื นกระจกในอนาคต รวมถึงการจาํ ลองคาความไวภูมิอากาศ อีกหลากหลายรูปแบบ แตความรอ นจะยังคงเพ่ิมข้ึนและระดับน้ําทะเลก็จะสูงข้ึนตอ เนื่องไปอีกหลาย สหัสวรรษ แมว าระดับของแกส เรือนกระจกจะเขา สภู าวะเสถยี รแลว ก็ตาม การท่อี ณุ หภูมิและระดบั นํ้าทะเล เขา สูส ภาวะดุลยภาพไดชาเปน เหตุมาจากความจุความรอนของน้ําในมหาสมุทรซึ่งมีคาสูงมาก การท่ี อุณหภูมิของโลกเพ่ิมสูงข้ึนทําใหร ะดับนํ้าทะเลสูงขึ้น และคาดวา ทําใหเกิดภาวะลมฟา อากาศ ที่รุนแรง มากขน้ึ ปรมิ าณและรปู แบบการเกดิ หยาดน้าํ ฟาจะเปล่ียนแปลงไป ผลกระทบอื่นๆ ของปรากฏการณโลก รอนไดแ ก การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตรการเคลื่อนถอยของธารน้ําแข็ง การสูญพันธุพ ืช-สัตว ตา งๆ รวมท้งั การกลายพันธุและแพรข ยายโรคตางๆ เพ่ิมมากข้ึนรัฐบาลของประเทศตางๆ แทบทุกประเทศ ไดล งนามและใหส ตั ยาบนั ในพธิ ีสารเกยี วโต ซ่งึ มงุ ประเดน็ ไปทก่ี ารลดการปลอ ยแกสเรอื นกระจก แตยังคงมี การโตเถียงกันทางการเมืองและการโตวาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลกเกี่ยวกับมาตรการวาควรเปนอยางไร จงึ จะลดหรอื ยอ นกลบั ความรอ นที่เพ่ิมข้ึนของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกันอยา งไรตอ ผลกระทบของ ปรากฏการณโ ลกรอ นทค่ี าดวา จะตองเกดิ ข้ึน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลที่9) มพี ระราชดาํ รัสเก่ียวกับปรากฏ การณเรอื นกระจก ทศี่ าลาดสุ ดิ าลัย อยา งลกึ ซงึ้ กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จงึ ไดร บั สนองกระแส พระราชดาํ รัส นําเขาประชมุ คณะรัฐมนตรี จนกระทงั่ ทาํ ใหว ันที่ 4 ธ.ค. ของทกุ ป เปน วันสิ่งแวดลอ ม แหงชาติ ตัง้ แตป  2534 เปน ตนมา จากผลงานพระราชดํารแิ ละการทรงลงมือปฏบิ ตั พิ ฒั นาดว ยพระองคเอง เก่ียวกับสภาพแวดลอ ม โดยเฉพาะอยา งย่ิง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีมีคุณประโยชนตอ คนชนชาติตางๆ ท้ังดา นเศรษฐกิจ สังคม ความมนั่ คงของมนุษยแ ละการเมือง ซึ่งเปน ที่ประจกั ษไ ปทั่วโลก องคการสหประชาชาติ โดยนายโคฟ อันนัน อดตี เลขาธกิ ารองคการสหประชาชาติ จึงไดเ ดินทางมาประเทศไทย ในวาระมหามงคลฉลองสิริราช สมบัตคิ รบ 60 ป เขาเฝาพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว วันที่ 26 พ.ค. 2549 เพื่อถวายรางวัล “UNDP Hu man Development Lifetime Achievement Award” (รางวัลความสําเร็จสูงสุดดานการพัฒนามนุษย) ซึ่งเปน รางวัลประเภท Life - Long Achievement และพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวทรงเปน พระมหากษัตริยพระองคแรกในโลกทไี่ ดรบั รางวลั นี้ องคการสหประชาชาติ ไดย กยอ งพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว เปน “พระมหากษัตริยนกั พัฒนา” และกลาวถงึ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง (Sufficiency Economy) ของพระองควา เปนปรัชญาหรอื ทฤษฎี ใหมท ่ีนานาประเทศรูจ กั และยกยอง โดยทอี่ งคการสหประชาชาติไดสนบั สนนุ ใหป ระเทศตา งๆ ทเี่ ปน สมาชิก ยึดเปนแนวทางสูการพัฒนาประเทศท่ยี ่งั ยืน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มใิ ชเปนเพียงปรัชญานามธรรม หากเปนแนวทางปฏบิ ตั ิซงึ่ สามารถ จะชวยท้งั แกไ ขและปองกันปญหาท่เี กิดจากกเิ ลสมนุษย และความเปลย่ี นแปลงทซ่ี บั ซอนรุนแรงขน้ึ ทก่ี าํ ลงั

38 | ห น้ า เกิดข้นึ กบั มนุษยท ง้ั โลก และปญ หาท่ีลกุ ลามตอ ถึงธรรมชาตกิ อ ใหเ กิดความเปลีย่ นแปลงใหญในเชงิ รุนแรง และสรางปญหายอนกลับมาทมี่ นษุ ย โดยท่ัวไป มักเขาใจกันวา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เหมาะที่จะใชเฉพาะกับคนยากจน คน ระดับรากหญา และประเทศยากจน อีกท้ังเคร่ืองมือ เทคโนโลยี ก็จะตองใชเฉพาะเครื่องมือราคาถูก เทคโนโลยตี าํ่ การลงทนุ ไมค วรจะมีการลงทุนระดบั ใหญ แตใ นความเปน จริง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ก็ตอ งการคนและความคดิ ทก่ี าวหนา คนทก่ี ลา คดิ กลาทําในสง่ิ ใหมๆ เน่ืองจากการนาํ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชป ระโยชนใ นดา นตางๆ ไมมสี ตู รสําเรจ็ หรือคมู ือการ ใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสาํ หรบั ภารกจิ ดงั เชน วกิ ฤตโลกรอ นผเู กย่ี วขอ งจึงตอ งศกึ ษาทาํ ความเขา ใจ แลวก็พัฒนาแนวทางหรือแนวปฏบิ ัตสิ ําหรับแตล ะปญ หาข้ึนมา โดยยดึ หลกั ทีส่ ําคัญ ดังเชน - การคดิ อยา งเปน ระบบ อยา งเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร - หลักคิดท่ีใช ตองเปน หลักการปฏิบัติที่เปน สายกลาง ท่ีใหความสําคัญของความสมดุลพอดี ระหวา งทกุ ส่ิงทเี่ กยี่ วของ ดงั เชน ระหวา งธรรมชาติกับมนุษย - ขอ มลู ทใ่ี ช จะตองเปน ขอ มูลจริง ที่เกิดจากการศึกษา การวิจัย หรือการลงสนามใหไดข อมูลท่ี เปนจริง - การสรางภูมติ านทานตอ ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้นึ - การยึดหลักของความถูกตอง คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ในทุกข้ันตอนของการ ดาํ เนินงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเปน กระบวนการสําคัญของการสรา งภูมิตานทานตอ ผล กระทบและความเปลี่ยนแปลงทีก่ ําลังเกิดขนึ้ หรือท่จี ะเกดิ ขึน้ เหลานเ้ี ปน หลักการใหญๆ ซึ่งผทู ีร่ ับผิดชอบหรือเก่ียวขอ งหรือคิดจะทํา โครงการหรือกิจกรรมใน ระดบั คอนขางใหญ จะตอ งคํานึงถึง และสามารถจะนําปรัชญานี้ไปใชไดทันที และมีผูที่ไดใ ชลว นประสบ ความสาํ เรจ็ สงู สดุ ทีม่ นษุ ยพ งึ จะมี คือ ความสุขทีย่ ่งั ยืน แลวเรื่องของการแขงขัน ชิงไหวชิงพริบ การวางแผนยุทธศาสตรและโลจิสติกส (การจัดซ้อื จดั หา การจัดสง การบํารงุ รักษาอุปกรณ และการรกั ษาพยาบาลบุคลากร ) ในการบริหารจดั การ ระบบ หรอื โครงการใหญๆ การใชจ ติ วิทยามวลชน การใชเ ทคโนโลยกี าวหนา การกําหนดแผนหรอื ตนเองให เปน “ฝายรกุ ” มิใช “ฝา ยตง้ั รบั ” ละ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งปฏเิ สธหรือไม? คาํ ตอบคือ ปฏเิ สธ ถาใชอ ยางไมถกู ตอง อยางหลีกเลย่ี งกฎหมาย อยางผิดคณุ ธรรม-จรยิ ธรรม-และ จรรยาบรรณ อยา งไมซ ่อื ตรงตอ หนาท่ีและความรบั ผดิ ชอบ อยา งมเี จตนาเพอ่ื ผลประโยชนท่ีไมส ุจริตของตน เอง และพวกพอ ง แตจ ะตองรูจกั และใชอยา งรเู ทา ทัน ปกปอ ง และรักษาผลประโยชนของสว นรวม อยา งมี ความคดิ กา วหนาในเชงิ สรา งสรรค

ห น้ า | 39 สาํ หรับการแกปญ หา หรือการเตรยี มเผชิญกบั ปญหาจากวิกฤตโลกรอน มีประเดน็ และเร่ืองราวทัง้ เกาและใหม ดังเชน เร่ืองของมาตรการที่ถูกกําหนดข้ึนมา เพื่อเผชิญกับภาวะโลกรอ น เพ่ือใหป ระเทศท่ี พฒั นาแลว และท่กี าํ ลงั พฒั นา (ดังเชนประเทศไทย) ไดดํารงอยูร วมกัน พ่ึงพิง และเอื้ออาทรตอ กัน อยาง เหมาะสม ดงั เชน เรื่อง คารบ อนเครดิต ท่ีเปน เร่ืองคอ นขางใหมของประเทศไทย แตก ็เปนท้ัง “โอกาส” และ “ปญหา” ทปี่ ระเทศไทยตอ งเผชญิ ซ่งึ กข็ ึน้ อยูกับคนไทยเราเองวา จะตอ งเตรียมตัวกนั อยา งไร เพ่ือให สามารถเปน “ท่ีพง่ึ ” ของโลกหรือประเทศอ่ืน แทนทจ่ี ะเปน “ปญหา” ทเ่ี กดิ จากความไมใ สใจ หรอื ความใส ใจ แตเพอ่ื จะกอบโกยผลประโยชนเ ทา น้นั เรื่องของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับวิกฤตโลกรอน จึงมีโจทย มเี ปา หมายมากมาย ทีท่ าทาย เชิญ ชวนใหผูคนและประเทศ ทีต่ องการมีชวี ติ สรางสรรคและมคี วามสขุ อยา งยั่งยืนไดน ําไปใช โดยใชปญญาเปน ตัวนํา กํากับดว ยสติ และควบคุมดว ยคุณธรรมกับจริยธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งน้ี ถูกใชเ ปน กรอบแนวคดิ และทศิ ทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาค ของไทย ซ่ึงบรรจุอยใู นแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554 ) เพ่ือมุงสู การพัฒนาที่สมดุลยิ่งขึ้น และมีภูมิคุมกัน เพ่ือความอยูดีมีสุข มุง สูส ังคมท่ีมีความสุขอยา งยั่งยืน ดว ย หลกั การดงั กลาวแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 10 นจ้ี ะเนนเรอ่ื งตัวเลขการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ แตย ังใหค วาม สําคัญตอระบบเศรษฐกจิ แบบทวิลักษณห รือระบบเศรษฐกิจ ที่มีความแตกตา งกันระหวา งเศรษฐกิจชุมชน เมืองและชนบท แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เชน รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในสว นที่ 3 แนวนโยบายดา นการบริหารราชการแผนดิน มาตรา 78 (1) บรหิ ารราชการแผน ดนิ ใหเปน ไปเพือ่ การพฒั นาสงั คม เศรษฐกิจ และความมนั่ คงของประเทศอยา งย่ังยืน โดยตองสงเสรมิ การดาํ เนนิ การตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องประเทศชาติใน ภาพรวมเปนสาํ คญั นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศไดก ลาวเมื่อวันท่ี 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The Francophonic Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่ Burkina Faso วา ประเทศไทยไดย ึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคูก ับ “การพัฒนาแบบยั่งยืน” ในการพิจารณาประเทศทั้งทางดา นการเกษตรกรรม เศรษฐกิจและการแขง ขันซ่ึงเปน การสอดคลอ งกับ แนวทางของนานาชาตใิ นประชาคมโลก การประยุกตนําหลักปรัชญาเพ่ือนํามาพัฒนาประเทศในตางประเทศนั้น ประเทศไทยไดเ ปน ศนู ยก ลางการแลกเปลย่ี นผานทางสํานักงานความรวมมือเพอื่ การพฒั นาระหวา งประเทศ(สพร.) โดย สพร. มีหนาท่ีคอยประสานงานรับความชวยเหลือทางวิชาการดานตางๆ จากตางประเทศมาสูภาครัฐ แลว ถายทอดตอไปยังภาคประชาชน และยังสง ผา นความรทู ม่ี ไี ปยังประเทศกาํ ลังพัฒนาอ่ืนๆ เร่อื งปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงน้นั สพร. ถายทอดมาไมต ํ่ากวา 5 ป ประสานกบั สาํ นักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่อื ประสานงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาํ ริ (กปร.) และคณะอนุกรรมการขับเคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซ่ึงตา งชาติกส็ นใจเร่ืองเศรษฐกิจพอเพยี ง เพราะพิสูจนแ ลววาเปน ส่งิ ท่ีดแี ละมีประโยชน ซง่ึ แตละ

40 | ห น้ า ประเทศมคี วามตองการประยุกตใ ชปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไมเ หมอื นกนั ขน้ึ อยูกับวิถชี ีวติ สภาพ ภูมศิ าสตร ฯลฯ เชน พมา ศรีลังกา เลโซโท ซูดาน อัฟกานิสถาน บังกลาเทศ ภูฎาน จีน จิบูดี โคลัมเบีย อียิปต เอธิโอเปย แกมเบีย อินโดนิเซีย เคนยา เกาหลีใต มาดากัสการม ัลดีฟส ปาปวนิวกินี แทนซาเนีย เวียดนาม ฯลฯ โดยไดใ หประเทศเหลาน้ีไดม าดูงาน ในหลายระดับ ทั้งเจา หนาท่ีปฏิบัติงาน เจาหนา ท่ฝี า ยนโยบาย จนถึงระดบั ปลดั กระทรวง รัฐมนตรีกระทรวงตางๆ[14] นอกจากนัน้ อดิศักดิ์ ภาณุพงศ เอกอัครราชทูตไทยประจาํ กรุงเวยี นนา ประเทศออสเตรีย ไดก ลา ว วาตา งชาตสิ นใจเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพียง[14] เนอ่ื งจากมาจากพระราชดํารใิ นพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวท่ี ทรงหวงใยราษฎรของพระองค และอยากรวู า ทาํ ไมรฐั บาลไทยถึงไดนาํ มาเปนนโยบาย สวนประเทศที่พฒั นา แลวกต็ อ งการศกึ ษาพจิ ารณาเพอ่ื นําไปชวยเหลอื ประเทศอื่น 13 นักคิดระดับโลกเห็นดว ยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ บทสมั ภาษณ เปนการย่นื ขอเสนอแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงใหแ กโ ลก เชน ศ.ดร.วูลฟ กัง ซัคส นักวิชาการ ดา นสิ่งแวดลอ มคนสําคัญของประเทศเยอรมนี สนใจการประยุกตใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยางมาก และมองวานา จะเปน อีกทางเลือกหนึ่งสําหรับทุกชาติในเวลานี้ ท้ังมีแนวคิดผลักดันเศรษฐกิจ พอเพียงใหเปนท่ีรูจักในเยอรมนี, ศ. ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารยชาวอินเดีย เจาของรางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตรป 1998 มองวา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เปนการใชส งิ่ ตา งๆ ทีจ่ าํ เปน ตอการดํารงชีพ และใชโ อกาสใหพอเพียงกับชีวิตที่ดี ซึ่งไมไ ดห มายถึงความไมตองการ แตตองรูจ ักใชชีวิตใหดีพอ อยา ให ความสําคัญกับเรื่องของรายไดแ ละความร่ํารวย แตใหม องที่คุณคาของชีวิตมนุษย, นายจิกมี ทินเลย นายกรฐั มนตรแี หงประเทศภูฎาน ใหท รรศนะวา หากประเทศไทยกําหนดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงใหเ ปน วาระระดับชาติ และดําเนินตามแนวทางน้ีอยางจริงจัง “ผมวา ประเทศไทยสามารถสรา งโลกใบใหมจาก หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สรางชีวิตท่ีย่ังยืน และสุดทายจะไมหยุดเพียงแคใ นประเทศแตจ ะเปน หลกั การและแนวปฏบิ ตั ิของโลก ซ่งึ หากทําไดสําเรจ็ ไทยก็คอื ผูนํา” [15] ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ไดร ับการเชิดชูสูงสุดจากองคก ารสหประชาชาติ(UN) โดยนายโคฟ อันนัน ในฐานะเลขาธิการองคก ารสหประชาชาติ ไดทูลเกลา ฯ ถวายรางวัล The Human Development lifetimeAchievement Award แกพ ระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั เมือ่ วันท่ี 26 พฤษภาคม 2549 และไดมี ปาฐกถาถงึ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง วาเปน ปรชั ญาท่ีมปี ระโยชนตอ ประเทศไทยและนานาประเทศ[6] และ สามารถเร่ิมไดจากการสรา งภูมิคุมกันในตนเอง สูห มูบ า น และสูเ ศรษฐกิจในวงกวางข้ึนในที่สุด นาย Hakan Bjorkman รักษาการผูอ ํานวยการ UNDP ในประเทศไทยกลา วเชิดชูปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และ UNDP น้ันตระหนักถึงวิสัยทัศนแ ละแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ[16] โดยที่องคก ารสหประชาชาติไดสนับสนุนใหป ระเทศตางๆ ท่ีเปน สมาชิก 166 ประเทศยึดเปนแนวทางสู การพฒั นาประเทศแบบยั่งยนื [7] อยางไรก็ตาม ศ. ดร.เควนิ ฮวิ วิสนั อาจารยป ระจํามหาวิทยาลัยนอรธ แคโรไลนา ที่แซพเพลฮิลล ไดว ิจารณรายงานขององคการสหประชาชาติโดยสํานกั งานโครงการพัฒนาแหง สหประชาชาติ (UNDP) ท่ี

ห น้ า | 41 ยกยองปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง[17]วา รายงานฉบับดงั กลาว ไมไ ดม เี นือ้ หาสนบั สนนุ วา เศรษฐกิจพอเพียง “ทางเลือกท่จี าํ เปน มากสําหรับโลกท่กี ําลังดาํ เนนิ ไปในเสนทางทไี่ มย งั่ ยืนอยใู นขณะนี”้ (น. V . ในรายงาน UNDP) โดยเนือ้ หาแทบทงั้ หมดเปน การเทดิ พระเกียรติ และเปน เพยี งเครือ่ งมอื ในการโฆษณาชวนเชื่อ ภายในประเทศเทา นั้น (18) สวนHakan Bjorkman รักษาการผอู ํานวยการ “ UNDP” ตองการที่จะทาํ ให  เกิดการอภปิ รายพจิ ารณาเรือ่ งนี้ แตการอภิปรายดังกลาวน้ันเปนไปไมได เพราะอาจสมุ เสี่ยงตอการหม่ิน พระบรมเดชานุภาพ ซ่ึงมโี ทษถงึ จาํ คุก (10) เม่ือปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 นายโคฟ อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติไดเขา เฝาทูลเกลา ฯ ถวายรางวลั Human Development Lifetime Achievement Award หมายความวาพระเจา อยูหัวสละ ความสขุ สว นพระองค และทมุ เทพระวรกาย ในการพัฒนาคนไทยในชว ง 60 ป จนเปน ที่ประจักษใ นความ สําเรจ็ ของพระราชกรณียกจิ พระบรมราโชวาท และเปนแบบอยา งทัว่ โลกได คาํ กราบบงั คมทูลของนายโคฟ บง บอกใหเ ห็นเขาศกึ ษาเร่อื งปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยางละเอยี ด และรบั ปากวา จะนาํ ไปเผยแพรท ่ัว โลก รวมท้งั ประมขุ หรือผูแทนของประเทศตางๆ ท่ีไดมาเขาเฝา และขออัญเชิญไปใชใ นประเทศของเขา เพราะเห็นวาเปนแนวทางที่ดี นอกจาก United Nation Development Program ( UNDP ) เปนองคก รหน่ึงภายใต สหประชาชาตทิ ี่ดูแลเกี่ยวกับการพัฒนา ดานหนึ่งที่เขาตองดูแล คือการพัฒนาคน มีหนาท่ีจัดทํารายงาน ประจําป โดยในปหนา จะเตรียมจัดทําเร่ืองการพัฒนาคนของโลก และคนในแตละประเทศ ( Country report และ Global report ) โดยในสว นของประเทศไทยจะนําเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งเปนหลกั ในการรายงานและเผยแพร ทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อที่ประเทศอ่ืนจะไดร ับประ โยชนจ ากของพระราชทานท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวพระราชทานใหคนไทยมากกวา 30 ป แลว จะเห็นไดวาขณะนีป้ รชั ญาฯ น้ี ไดเ ผยแพรโ ดยองคก รระดบั โลกแลว เราในฐานะพสกนกิ รของพระองคท าน นา จะภมู ใิ จหนั มาศกึ ษาและนาํ ไปปฏิบัตอิ ยางจรงิ จัง ก็จะบังเกิดผลดียง่ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook