Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้พบกลุ่มครั้งที่ 7 เรื่อง ทัศนศิลป์สากล

ใบความรู้พบกลุ่มครั้งที่ 7 เรื่อง ทัศนศิลป์สากล

Published by kungchay17, 2021-05-27 08:23:38

Description: ใบความรู้พบกลุ่มครั้งที่ 7 เรื่อง ทัศนศิลป์สากล
วิชา ศิลปศึกษา รหัสวิชา ทช 31003
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Search

Read the Text Version

ณฐั วฒุ ิ ศรตี ดั สงู ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน

ใบความรู้ คร้งั ท่ี 7 วิชา ศิลปศกึ ษา รหสั วิชา ทช ๓๑๐๐๓ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เร่อื ง ทัศนศิลป์สากล ********************************************* ทศั นศิลป์สากล ความหมายของศิลปะและทศั นศิลป์ ศลิ ปะ หมายถงึ ผลแห่งความคิดสรา้ งสรรค์ของมนุษยท์ แี่ สดงออกมาในรูปลักษณ์ต่างๆให้ปรากฏซงึ่ ความ สุนทรยี ภาพ ความประทับใจ หรอื ความสะเทือนอารมณ์ ตามประสบการณ์ รสนยิ ม และทกั ษะของบคุ คลแตล่ ะคน นอกจากนยี้ งั มีนักปราชญ์ นักการศึกษา ท่านผรู้ ู้ ได้ให้ความหมายของศลิ ปะแตกตา่ งกนั ออกไป เช่นการเลียนแบบ ธรรมชาติ การแสดงออของบุคลิกภาพทางอารมณ์ของมนษุ ย์ และศลิ ปะคอื การส่ือสารอย่างหน่ึงระหว่าง มนษุ ย์ การระบายความปรารถนาในใจของศิลปินออกมา การแสดงออกของผลงานด้านต่างๆท่สี รา้ งสรรค์ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งศิลปะกบั มนุษย์ การสรา้ งสรรค์ทางศิลปะเป็นกิจกรรมพัฒนาสติปญั ญาและอารมณ์ การสรา้ งสรรค์ศิลปะของมนษุ ยเ์ ช่ือ วา่ เกดิ ขน้ึ มาต้ังแตส่ มัยโบราณต้ังแตย่ ุคหินหรือประมาณ 5000,000 - 4,000 ปลี ว่ งมาแล้ว นบั ตงั้ แตม่ นษุ ย์ อาศัยอยูใ่ นถ้ำ เพิงผา ดำรงชีวติ ด้วยการล่าสัตว์และหาของปา่ เปน็ อาหาร โดยมากศิลปะจะเป็นภาพวาด ซงึ่ ปรากฏ ตามผนงั ถำ้ ต่างๆ เช่น ภาพววั ไบซัน ท่ีถำ้ อลั ตาริมา ในประเทศสเปน ภาพสัตวช์ นิดต่างๆทีถ่ ํ้าลาสล์โก ในประเทศ ฝร่ังเศส สำหรับประเทศไทยที่พบเห็น เช่นผาแต้ม จังหวดั อุบลราชธานี ภาชนะเคร่ืองป้ันดินเผา ที่บา้ นเชยี ง จังหวัดอดุ รธานี ประเภทของงานทัศนศิลป์ สามารถแบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คือ 1. จติ รกรรม 2. ประติมากรรม 3. สถาปัตยกรรม 4. ภาพพิมพ์ จติ รกรรม จิตรกรรม เปน็ งานศลิ ปะทีแ่ สดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจดั องคป์ ระกอบความงามอนื่ เพ่ือให้ เกิดภาพ 2 มติ ิ ไมม่ คี วามลกึ หรอื นูนหนา จติ รกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศลิ ป์ ผูท้ ำงานจิตรกรรม มักเรยี กว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ไดใ้ ห้ความหมายของจติ รกรรมไวว้ า่ จติ รกรรม คอื การระบายชั้นของสี ลงบนพืน้ ระนาบรองรบั เปน็ การจดั รวมกนั ของรปู ทรง และ สที เี่ กดิ ข้นึ จากการเตรียมการของศลิ ปินแตล่ ะคนใน การเขียนภาพน้ัน พจนานกุ รมศัพท์ อธบิ ายวา่ เป็นการสร้างงานทศั นศิลป์บนพ้นื ระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ปา้ ย ขดี ขูดวสั ดุ จิตรกรรมลงบนพ้ืนระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมท่ีเกา่ แกท่ ่สี ดุ ทเี่ ปน็ ที่ร้จู กั อย่ทู ่ีถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรงั่ เศส ซง่ึ นักประวัตศิ าสตรบ์ างคน อ้างวา่ มีอายรุ าว 32,000 ปีเป็นภาพทีส่ ลกั และระบายสีด้วยโคลนแดงและสยี ้อมดำ แสดงรปู มา้ แรด สงิ โต ควาย แมมมอธ หรอื มนุษย์ ซึ่งมักจะกาํ ลงั ล่าสตั ว์ ณัฐวฒุ ิ ศรตี ดั สูง ครศู นู ยก์ ารเรียนชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน

จติ รกรรม สามารถจาํ แนกได้ตามลักษณะผลงานท่ีสิ้นสุด และวัสดุอปุ กรณก์ ารสร้างสรรคเ์ ป็น 2 ประเภท คอื ภาพวาด และ ภาพเขียน จติ รกรรมภาพวาด (Drawing) จติ รกรรมภาพวาด เรียกเป็นศัพท์ทัศนศิลปภ์ าษไทยไดห้ ลายคาํ คือ ภาพวาดเขียน ภาพวาดเสน้ หรอื บางท่านอาจเรียกด้วยคาํ ทับศพั ทว์ ่า ดรออง้ิ กม็ ี ปจั จุบันได้มกี ารนาํ อุปกรณ์ และ เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการเขียนภาพและวาดภาพ ท่ีกา้ วหนา้ และทันสมยั มากมาใช้ ผเู้ ขยี นภาพจึงจึงอาจจะใช้อปุ กรณ์ ตา่ งๆมาใช้ในการเขียนภาพ ภาพวาดในสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ภาพวาดลายเส้น และ การต์ ูน จิตรกรรมภาพเขยี น (Painting) ภาพเขียนเปน็ การสร้างงาน 2 มิติ บนพื้นระนาบดว้ ยสหี ลายสซี ่งึ มกั จะ ตอ้ งมสี ่ือตัวกลางระหวา่ งวสั ดุกบั อปุ กรณ์ที่ใช้เขยี นอีก ซ่งึ กลวิธีเขียนทส่ี ำคัญ คือ 1. การเขยี นภาพสีน้ำ (Color Painting) 2. การเขยี นภาพสนี ้ำมัน (Oil Painting) 3. การเขยี นภาพสอี ะคริลิค (Acrylic Painting) ประติมากรรม เปน็ ผลงานศลิ ปะที่แสดงออกดว้ ยการสร้างรูปทรง 3 มิติ มีปรมิ าตร มีน้ำหนักและกนิ เน้อื ท่ใี น อากาศ โดยการใช้วสั ดุชนดิ ต่าง ๆ วัสดุท่ใี ช้สรา้ งสรรคง์ านประตมิ ากรรม จะเป็นตัวกำหนด วธิ ีการสร้างผลงาน ความงามของงานประติมากรรม เกิดจากการแสงและเงา ท่ี เกิดข้ึนในผลงานการสร้างงานประตมิ ากรรมทำได้ 4 วิธี คอื 1. การป้นั (Casting) เปน็ การสรา้ งรปู ทรง 3 มติ ิ จากวัสดุ ทีเหนียว ออ่ นตวั และยึดจับตัว กันได้ดี วสั ดุท่ี นิยมนำมาใชป้ ัน้ ได้แก่ ดินเหนยี ว ดนิ น้ำมัน ปนู แปง้ ข้ีผ้ึง กระดาษ หรือ ข้เี ล่ือยผสมกาว เป็นตน้ 2. การแกะสลกั (Carving) เปน็ การสร้างรูปทรง 3 มิติ จากวัสดทุ ่ี แข็ง เปราะ โดยอาศยั เคร่อื งมอื วัสดทุ ่ี นยิ มนาํ มาแกะ ได้แก่ ไม้ หนิ กระจก แก้ว ปนู ปลาสเตอร์ เปน็ ต้น งานแกะสลักไม้ 1. การหล่อ (Molding) เป็นการสร้างรปู ทรง 3 มติ ิ จากวสั ดุทห่ี ลอมตัวได้และกลับแข็ง ตวั ได้ โดยอาศยั แมพ่ ิมพ์ ซ่งึ สามารถทำใหเ้ กิดผลงานท่เี หมือนกนั ทุกประการตัง้ แต่ 2 ชิ้น ขนึ้ ไป วสั ดุทน่ี ิยมนำมาใชห้ ล่อ ได้แก่ โลหะ ปนู แปง้ แก้ว ข้ีผ้งึ ดนิ เรซ่ิน พลาสติก ฯลฯ เช่น ราํ มะนา (ชิต เหรยี ญประชา) 2. การประกอบขึ้นรปู (Construction) เปน็ การสรา้ งรูปทรง 3 มติ ิ โดยนําวัสดตุ ่าง ๆ มา ประกอบเขา้ ด้วยกัน และยดึ ติดกนั ด้วยวัสดตุ า่ ง ๆ การเลอื กวิธีการสรา้ งสรรค์งานประติมากรรม ข้ึนอยูก่ ับวัสดทุ ี่ ตอ้ งการใช้ ประตมิ ากรรม ไม่ว่าจะสรา้ งขน้ึ โดยวธิ ีใด จะมีอยู่ 3 ลกั ษณะ คือ แบบนูนต่ำ แบบนูนสูง และ แบบลอยตัว ผู้สรา้ งสรรคง์ านประติมากรรม เรียกว่า ประติมากร ประเภทของงานประติมากรรม 1. ประตมิ ากรรมแบบนูนต่ำ (Bas Relief) เป็นรูปที่เป็นนนู ขึน้ มาจากพนื้ หรือมีพื้นหลงั รองรับ มองเห็น ไดช้ ัดเจนเพียงด้านเดยี ว คอื ด้านหน้า มีความสูงจากพน้ื ไมถ่ ึงคร่งึ หนึ่งของรปู จริง ได้แก่รูปนูนแบบเหรยี ญ รูปนูนท่ีใช้ประดับตกแตง่ ภาชนะ หรอื ประดับตกแต่งอาคารทาง สถาปัตยกรรม โบสถ์ วหิ ารต่างๆ พระ เครอื่ งบางชนดิ ณฐั วุฒิ ศรีตดั สงู ครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

2. ประติมากรรมแบบนนู สูง ( High Relief ) เป็นรปู ต่าง ๆ ในลกั ษณะเชน่ เดียวกบั แบบ นนู ต่ํา แตม่ ี ความสงู จากพ้นื ตั้งแต่คร่ึงหน่ึงของรูปจริงขนึ้ ไป ทำใหเ้ หน็ ลวดลายที่ลกึ ชัดเจน และ และเหมือนจริงมากกวา่ แบบ นูนต่ำและใชง้ านแบบเดยี วกับแบบนนู ต่ำ 3. ประตมิ ากรรมแบบลอยตวั (Round Relief ) เปน็ รูปตา่ ง ๆ ทมี่ องเห็นได้รอบดา้ นหรอื ต้ังแต่ 4 ด้าน ขน้ึ ไป ได้แก่ ภาชนะตา่ ง ๆ รูปเคารพต่าง ๆ พระพุทธรปู เทวรปู รูปตามคตนิ ิยม รูปบุคคลสำคัญ รปู สัตว์ ฯลฯ สถาปัตยกรรม (Architecture) หมายถงึ การออกแบบก่อสร้างสิ่งตา่ ง ๆ ท้ังส่งิ ก่อสร้างทคี่ นทว่ั ไปอยู่อาศยั ได้ เชน่ สถปู เจดยี ์ อนสุ าวรีย์ เปน็ ต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการกำหนดผังบริเวณตา่ ง ๆ เพื่อใหเ้ กิดความสวยงาม และเป็นประโยชน์แก่การ ใช้สอยตามต้องการ งานสถาปัตยกรรมเปน็ แหลง่ รวมของงานศลิ ปะทางกายภาพเกือบ ทกุ ชนิดและมักมรี ูปแบบแสดงเอกลักษณ์ของ สังคมน้ัน ๆ ในช่วงเวลานนั้ ๆ เราแบ่งลกั ษณ์งานของสถาปัตยกรรม ออกไดเ้ ปน็ ๓ แขนง ดังนี้คือ 1. สถาปตั ยกรรมออกแบบก่อสรา้ ง เชน่ การออกแบบสรา้ งตึกอาคาร บ้านเรือน เปน็ ตน้ 2. ภูมสิ ถาปัตย์ เชน่ การออกแบบวางผัง จดั บริเวณ วางผังปลูกต้นไม้ จัดสวน เป็นตน้ ๓. สถาปตั ยกรรมผงั เมือง ได้แก่ การออกแบบบรเิ วณเมอื งให้มีระเบียบ มีความสะอาด มีความรวดเรว็ ในการ ตดิ ตอ่ และถกู หลักสุขาภบิ าล เราเรียกผูส้ ร้างงานสถาปตั ยกรรมวา่ สถาปนกิ องคป์ ระกอบสำคญั ของสถาปตั ยกรรม จุดสนใจและความหมายของศาสตรท์ างสถาปัตยกรรมนน้ั ไดเ้ ปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย บทความ De Architectura ของวทิ รูเวียส ซง่ึ เปน็ บทความเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ท่ีเก่าแกท่ ่ีสุดที่เราค้นพบ ได้กลา่ วไวว้ า่ สถาปตั ยกรรมต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสามสว่ นหลกั ๆ ทผ่ี สมผสานกนั อยา่ งลงตัวและสมดลุ อนั ได้แก่ ความงาม (Venustas) หมายถงึ สัดสว่ น และองค์ประกอบ การจัดวางทีว่ า่ ง สี วสั ดุ และพน้ื ผิวของ อาคาร ที่ผสมผสานลงตวั ที่ยกระดบั จติ ใจ ของผู้ได้ยลหรือเยีย่ มเยอื นสถานทนี่ ้นั ๆ ความม่นั คงแข็งแรง (Firmitas) และประโยชนใ์ ช้สอย (Utilitas) หมายถงึ การสนองประโยชน์ และ การ บรรลปุ ระโยชนแ์ หง่ เจตนา รวมถงึ ปรัชญาของสถานท่นี ั้นๆ สถาปัตยกรรมไทย ตวั อยา่ งของสถาปัตยกรรมไทย ไดแ้ ก่ ∆ เรือนไทย ซึ่งมีรูปแบบแตกตา่ งกนั ในแต่ละภาค ∆ วัดไทย รวมถงึ อุโบสถ วหิ าร หอระฆัง เจดยี ์ ∆ พระราชวัง ป้อมปราการ ณฐั วฒุ ิ ศรตี ดั สงู ครศู นู ยก์ ารเรียนชุมชน กศน.อาเภอชานุมาน

จดุ เส้น สี แสง เงา รปู รา่ ง และรูปทรง จุด คอื องคป์ ระกอบท่เี ล็กที่สุด จดุ เปน็ สง่ิ ทบ่ี อกตำแหนง่ และทิศทางได้การนาํ จุดมาเรียงตอ่ กันให้เป็นเสน้ การ รวมกันของจุดจะเกดิ น้ำาหนักทใ่ี ห้ปริมาตรแก่รูปทรง เป็นต้น เส้น หมายถงึ จุดหลายๆจดุ ทเี่ รียงชดิ ตดิ กนั เป็นแนวยาว หรือการลากเส้นจากจดุ หน่งึ ไปยงั จุดหนึง่ ในทศิ ทางท่แี ตกตา่ งกัน จะเป็นทศิ มุม 45 องศา 90 องศา 180 องศาหรือมุมใดๆ การสลับทศิ ทางของเสน้ ทล่ี าก ทำให้เกดิ เป็นลักษณะต่าง ๆ ในทางศลิ ปะเสน้ มหี ลายชนดิ ด้วยกันโดยจาํ แนกออกได้เป็น 2 ลกั ษณะใหญ่ๆ คือ ลกั ษณะ เช่น ต้งั นอน เฉยี ง โคง้ เสน้ หยกั เส้นซกิ แซก ความรูส้ กึ ท่ีมตี ่อเส้น เส้นเปน็ องค์ประกอบพ้ืนฐานท่สี ำคญั ในการสร้างสรรค์ เสน้ สามารถแสดงใหเ้ กดิ ความหมายของภาพและให้ ความรสู้ กึ ได้ตามลักษณะของเส้น เส้นทเ่ี ปน็ พ้ืนฐาน ได้แก่ เส้นตรงและเส้นโค้ง จากเส้นตรงและเส้นโค้งสามารถนํามาสรา้ งให้เกดิ เป็น เสน้ ใหม่ท่ใี ห้ความรสู้ ึกที่แตกต่างกันออกไปได้ดงั น้ี เส้นตรงแนวต้งั ใหค้ วามรสู้ กึ แขง็ แรง สงู เด่น สงา่ งาม น่าเกรงขาม เส้นตรงแนวนอน ใหค้ วามรู้สกึ สงบราบเรียบ กวา้ งขวาง การพกั ผอ่ น หยุดนิ่ง เสน้ ตรงแนวเฉียง ใหค้ วามรสู้ ึกไม่ปลอดภยั การล้ม ไม่หยดุ นง่ิ เส้นตัดกนั ใหค้ วามรสู้ กึ ประสานกนั แขง็ แรง เสน้ โค้ง ใหค้ วามร้สู กึ ออ่ นโยนนมุ่ นวล เสน้ คลนื่ ใหค้ วามร้สู ึกเคล่อื นไหวไหลเล่อื น รา่ เริง ต่อเนือ่ ง เส้นประ ใหค้ วามร้สู กึ ขาดหาย ลึกลับ ไมส่ มบรณู ์ แสดงสว่ นทมี่ องไมเ่ ห็น เสน้ ขด ให้ความรสู้ ึกหมนุ เวียนมึนงง ณัฐวุฒิ ศรตี ัดสูง ครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

เสน้ หยกั ให้ความรสู้ ึกขดั แย้ง น่ากลัว ตืน่ เต้น แปลกตา นกั ออกแบบนําเอาความรสู้ ึกทีม่ ตี ่อเสน้ ทแี่ ตกตา่ งกนั มาใช้ในงานศลิ ปะประยกุ ต์ โดยใช้เส้นมาเปลย่ี นรปู ร่าง ของตัวอักษร เพอ่ื ใหเ้ กิดความรสู้ ึกเคลื่อนไหวและทำใหส้ อื่ ความหมายได้ดีย่ิงข้นึ สี หมายถึง แสงที่มากระทบวัตถุแลว้ สะทอ้ นเข้าตาเรา ทำใหเ้ หน็ เปน็ สตี ่างๆ ทฤษฎสี ี หมายถงึ หลกั วิชาเกี่ยวกับสีที่สามารถมองเหน็ ได้ด้วยสายตา เรารับรู้สีได้เพราะ เมื่อสามร้อยกว่าปี ท่ผี ่านมา ไอแซก นิวตนั ไดค้ ้นพบ ว่า แสงสขี าวจาก ดวงอาทิตย์เมื่อหกั เห ผ่านแท่งแกว้ สามเหลยี่ ม ( prism) แสงสีขาวจะกระจายออกเป็นสรี งุ้ เรียกวา่ สเปคตรัม มี 7 สี ไดแ้ ก่ มว่ ง คราม น้ำเงิน เขียว เหลอื ง ส้ม แดง และไดม้ ีกาํ หนดใหเ้ ป็นทฤษฎสี ขี องแสงขึน้ ความจริงสรี ้งุ เปน็ ปรากฏการณ์ ตาม ธรรมชาติ ซ่งึ เกิดขึ้น และพบ เหน็ กันบอ่ ยๆ อยู่แล้ว โดยเกิดจากการหักเห ของ แสงอาทิตย์หรอื แสงสวา่ ง เม่อื ผา่ น ละอองน้ำในอากาศ ซึ่ง ลกั ษณะกระทบต่อสายตาใหเ้ ห็นเป็นสี มผี ลถึงจิตวิทยา คือมอี ำนาจใหเ้ กดิ ความเขม้ ของแสง ทอ่ี ารมณ์ และ ความร้สู ึกได้ การท่ีไดเ้ หน็ สจี ากสายตา สายตาจะส่งความรู้สกึ ไปยังสมองทำใหเ้ กิดความรสู้ ึกต่างๆ ตาม อิทธพิ ล ของสี เชน่ สดช่ืน เรา่ รอ้ น เยอื กเย็น หรอื ตน่ื เต้น มนษุ ยเ์ ราเกี่ยวข้องกบั สีต่างๆ อยูต่ ลอดเวลาเพราะ ทุกสิง่ ทีอ่ ยู่ รอบตัวนนั้ ล้วนแต่มสี สี ันแตกต่างกนั มากมาย แมส่ ี นกั วชิ าการสาขาตา่ งๆ ได้ศึกษาค้นควา้ เร่ืองสี จนเกิดเปน็ ทฤษฎีสี ตามหลักการของนกั วิชาการสาขานน้ั ๆดังนี้ แมส่ ีของนักฟิสกิ ส์ (แม่สีของแสง) (spectrum primaries) คอื สที ี่เกิดจากการผสมกนั ของคลืน่ แสง มีแมส่ ี 3 สี คือ ณฐั วุฒิ ศรีตัดสงู ครศู นู ย์การเรียนชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

แมส่ ีของนักเคมี (pigmentary primaries) คือสีทใ่ี ช้ในวงการอตุ สาหกรรมและวงการศิลปะ หรอื เรยี ก อกี อย่างหน่ึงว่า สีวัตถธุ าตุ ทเ่ี รากาํ ลังศึกษาอยใู่ น ขณะน้ี โดยใชใ้ นการเขยี นภาพเก่ียวกับพาณชิ ยศิลป์ ภาพโฆษณา ภาพประกอบเร่ือง ซ่ึงในหลักการเดยี วกันท้ังส้นิ ประกอบด้วย สขี ั้นที่ 1 (Primary Color) คือ สีพ้ืนฐาน มแี มส่ ี 3 สี ได้แก่ 1. สเี หลอื ง (Yellow) 2. สแี ดง (Red) 3. สนี ้ำเงนิ (Blue) สขี นั้ ท่ี 2 (Secondary color) คือ สีที่เกิดจากสีข้ันที่ 1 หรือแม่สผี สมกนั ในอตั ราสว่ นที่เท่ากัน จะทำใหเ้ กิดสีใหม่ 3 สี ได้แก่ 1. สสี ม้ (Orange) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกับสีเหลอื ง (Yellow) 2. สีมว่ ง (Violet) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกับสนี ้ำเงนิ (Blue) 3. สีเขียว (Green) เกิดจาก สีเหลือง (Yellow) ผสมกับสีน้ำเงนิ (Blue) ณฐั วุฒิ ศรีตัดสงู ครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชน กศน.อาเภอชานุมาน

สขี ั้นท่ี 3 (Intermediate Color) คือสที ี่เกิดจากการผสมกันระหว่างสขี องแมส่ ีกบั สีขั้นที่ 2 จะเกิดสขี ้ึนอีก 6 สี ไดแ้ ก่ 1. สีน้ำเงินมว่ ง ( Violet-blue) เกดิ จาก สีน้ำเงิน (Blue) ผสมสมี ว่ ง (Violet) 2. สีเขยี วน้ำเงิน ( Blue-green) เกดิ จาก สนี ้ำเงนิ (Blue) ผสมสีเขียว (Green) 3. สเี หลืองเขียว ( Green-yellow) เกดิ จาก สเี หลือง(Yellow) ผสมกับสีเขยี ว (Green) 4. สีสม้ เหลือง ( Yellow-orange) เกิดจาก สเี หลอื ง (Yellow) ผสมกบั สีส้ม (Orange) 5. สแี ดงส้ม ( Orange-red) เกดิ จาก สีแดง (Red) ผสมกบั สีสม้ (Orange) 6. สีม่วงแดง ( Red-violet) เกิดจาก สีแดง (Red) ผสมกับสมี ่วง (Violet) เราสามารถผสมสเี กดิ ขนึ้ ใหม่ไดอ้ กี มากมายหลายร้อยสดี ้วยวิธีการเดยี วกันน้ี ตามคุณลักษณะของสที ี่จะกลา่ ว ต่อไปจะเหน็ ได้วา่ ทฤษฎีสดี ังกล่าวมีผลใหเ้ ราสามารถนำมาใช้เปน็ หลักในการเลอื กสรรสีสำหรบั งานสรา้ งสรรค์ ของ เราได้ ซงึ่ งานออกแบบมิได้ถกู จาํ กัดดว้ ยกรอบความคดิ ของทฤษฎีตามหลักวิชาการเท่านั้น แตเ่ ราสามารถ คิดออก นอกกรอบแห่งทฤษฎนี น้ั ๆ ได้ เทา่ ที่มนั สมองของเราจะเค้นความคิดสรา้ งสรรค์ออกมาได้ คณุ ลกั ษณะของสีมี 3 ประการ คอื 1. สีแท้ หรอื ความเป็นสี (Hue ) หมายถึง สีที่อยู่ในวงจรสธี รรมชาติ ทง้ั 12 สี (ดูภาพสี 12 สีในวงจรสี ดา้ นซ้ายมือประกอบ) สี ทีเ่ ราเหน็ อยูท่ ุกวนั นี้แบ่งเปน็ 2 วรรณะ โดยแบง่ วงจรสีออกเป็น 2 สว่ น จากสีเหลืองวน ไปถึงสีมว่ ง คือ 1. สีรอ้ น (Warm Color) ให้ความรู้สึกรนุ แรง ร้อน ต่นื เต้น ประกอบด้วย สีเหลือง สีเหลอื งสม้ สี สม้ สีแดงส้ม สแี ดง สีม่วงแดง สีมว่ ง 2. สีเยน็ (Cool Color) ให้ความรสู้ ึกเย็น สงบ สบายตาประกอบด้วย สเี หลือง สเี ขยี วเหลือง สเี ขยี ว สีน้ำเงนิ เขยี ว สีน้ำเงิน สมี ่วงน้ำเงิน สีม่วง เราจะเห็นวา่ สีเหลือง และสมี ่วง เป็นสที อี่ ยู่ ไดท้ ั้ง 2 วรรณะ คือเป็นสกี ลาง เป็นได้ทง้ั สรี ้อน และสเี ย็น ณัฐวุฒิ ศรีตัดสูง ครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

2. ความจดั ของสี (Intensity) หมายถึง ความสด หรือความบริสุทธขิ์ องสีใดสหี น่งึ สีท่ถี ูกผสมดว้ ย สดี ำจน หม่นลง ความจดั หรือความบริสุทธิ์จะลดลง ความจดั ของสีจะเรยี งลำดับจากจัดทส่ี ุด ไปจน หม่นทสี่ ดุ ได้หลายลำดับ ด้วยการค่อยๆ เพิ่มปริมาณของสีดำที่ผสมเข้าไปทลี ะน้อยจนถึงลำดับที่ความจัดของสีมนี ้อยท่ีสุด คอื เกือบเป็นสดี ำ 3. น้ำหนกั ของสี (Values) หมายถึง สีท่สี ดใส (Brightness) สกี ลาง (Grayness) สีทึบ(Darkness) ของสแี ต่ ละสี สีทกุ สีจะมนี ำ้ หนักในตวั เอง ถ้าเราผสมสีขาวเข้าไปในสีใดสีหนง่ึ สีนั้นจะสว่างข้นึ หรือมีน้ำหนกั อ่อนลงถ้าเพ่ิม สขี าวเขา้ ไปทีละน้อยๆ ตามลำดบั เราจะได้น้ำหนกั ของสีทีเ่ รยี งลำดับจากแก่สุด ไปจนถงึ ออ่ นสุดน้ำหนักอ่อนแก่ ของสีก็ได้ เกิดจากการผสมดว้ ยสีขาว เทา และ ดำ นำ้ หนกั ของสจี ะลดลงด้วยการใชส้ ขี าวผสม ( tint) ซ่ึงจะทำให้ เกิดความรู้สกึ นมุ่ นวล ออ่ นหวาน สบายตา น้ำหนักของสจี ะเพมิ่ ขึ้นปานกลางด้วยการใช้สเี ทา ผสม( tone) ซ่ึงจะทำให้ความเข้มของสีลดลง เกิดความรู้สึก ทสี่ งบ ราบเรียบ และน้ำหนักของสจี ะเพิ่มขึน้ มากข้นึ ดว้ ยการใช้สีดำผสม ( shade) ซึ่งจะทำให้ความเข้มของสีลดความสดใสลง เกิดความร้สู กึ ขรึม ลึกลับ น้ำหนักของสี ยงั หมายถงึ การเรียงลำดับน้ำหนกั ของสีแทด้ ว้ ยกันเอง โดยเปรยี บเทยี บ น้ำหนักอ่อนแก่กบั สีขาวดำ เราสามารถ เปรยี บเทยี บระหว่างภาพสกี บั ภาพขาวดำได้อย่างชดั เจนเม่ือนาํ ภาพสที เี่ ราเห็นวา่ มสี แี ดงอยู่หลายค่าทั้งอ่อน กลาง แก่ ไปถา่ ยเอกสารขาว-ดำ เมื่อนํามาดูจะพบวา่ สีแดงจะมีน้ำหนักอ่อน แก่ตั้งแตข่ าว เทา ดำ นัน่ เป็นเพราะวา่ สี แดงมนี ้ำหนักของสแี ตกตา่ งกันนัน่ เอง สตี า่ งๆ ท่ีเราสมั ผสั ดว้ ยสายตา จะทำให้เกดิ ความรู้สึกข้ึนภายในต่อเรา ทนั ทีท่เี รามองเห็นสี ไมว่ า่ จะเปน็ การ แต่งกาย บา้ นที่อยู่อาศยั เคร่ืองใชต้ ่างๆ แลว้ เราจะ ทำอยา่ งไร จึงจะใช้สีไดอ้ ย่างเหมาะสม และสอดคล้องกบั หลกั จิตวิทยา เราจะตอ้ งเข้าใจว่าสใี ดให้ความรู้สกึ ต่อมนุษย์อยา่ งไร ซึง่ ความรสู้ ึกเกีย่ วกับสี สามารถจาํ แนกออกได้ดังน้ี สีแดง ให้ความรสู้ ึกรอ้ น รุนแรง กระตนุ้ ท้าทาย เคลื่อนไหว ต่นื เต้น เรา้ ใจ มีพลงั ความอดุ มสมบรู ณ์ ความม่ัง คัง่ ความรกั ความสำคัญ อันตรายสีแดงชาด จะทำให้เกดิ ความอดุ มสมบรู ณ์ สสี ้ม ใหค้ วามรู้สึก รอ้ น ความอบอ่นุ ความสดใส มีชีวิตชีวา วยั รนุ่ ความคึกคะนอง การปลดปล่อย ความ เปรยี้ ว การระวังสีเหลือง ใหค้ วามร้สู กึ แจม่ ใส ความร่าเริง ความเบกิ บานสดชน่ื ชวี ิตใหม่ ความสด ใหม่ ความ สกุ สวา่ งการแผก่ ระจายอำนาจบารมสี เี ขียว ใหค้ วามรูส้ ึกงอกงาม สดชื่น สงบ เงียบ รม่ ร่ืน รม่ เย็น การพักผ่อน การผ่อนคลายธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสขุ ุม เยือกเย็น สีเขียวแก่ จะทำให้เกิดความรสู้ ึกเศร้าใจความแกช่ รา สีน้ำเงิน ใหค้ วามรูส้ กึ สงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เครง่ ขรมึ เอาการเอางาน ละเอยี ด รอบคอบ สงา่ งาม มีศักดิ์ศรี สงู ศักดิ์ เปน็ ระเบยี บถ่อมตน สฟี า้ ใหค้ วามรู้สึก ปลอดโปรง่ โล่ง กว้าง เบา โปรง่ ใส สะอาด ปลอดภัย ความสว่าง ลมหายใจ ความเป็น อิสรเสรีภาพ การชว่ ยเหลอื แบ่งปัน สคี ราม จะทำให้เกิดความร้สู กึ สงบ สีม่วง ให้ความรูส้ ึก มเี สน่ห์ นา่ ติดตาม เร้นลบั ซอ่ นเร้น มีอำนาจ มีพลงั แฝงอยู่ ความรกั ความเศร้า ความ ผดิ หวัง ความสงบ ความสงู ศักดิ์ สนี ้ำตาล ให้ความร้สู กึ เกา่ หนกั สงบเงียบ ณัฐวุฒิ ศรตี ัดสงู ครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

สีขาว ใหค้ วามรู้สึกบริสุทธ์ิ สะอาด ใหม่ สดใส สดี ำ ใหค้ วามรู้สกึ หนัก หดหู่ เศร้าใจ ทบึ ตนั สีชมพู ใหค้ วามรู้สกึ อบอุ่น ออ่ นโยน นมุ่ นวล ออ่ นหวาน ความรกั เอาใจใส่ วยั รุ่น หนมุ่ สาว ความนา่ รกั ความ สดใส สีไพล จะทำใหเ้ กิดความรู้สกึ กระชุ่มกระชวย ความเปน็ หนมุ่ สาว สเี ทา ให้ความรู้สกึ เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา ความสงบ ความเงยี บ สุภาพ สขุ มุ ถอ่ มตน สีทอง ใหค้ วามรสู้ ึก ความหรูหรา โออ่ า่ มรี าคา สูงคา่ สิ่งสำคัญ ความเจรญิ รุง่ เรือง ความสุข ความม่ังคั่ง ความรำ่ รวย การแผ่กระจาย จากความรู้สึกดงั กล่าว เราสามารถนาํ ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ในทุกเร่ือง และเมื่อต้องการสรา้ ง ผลงาน ทเี่ กยี่ วกบั การใชส้ ี เพื่อที่จะได้ผลงานที่ตรงตามความตอ้ งการในการสือ่ ความหมาย และจะช่วยลดปัญหาใน การ ตัดสนิ ใจที่จะเลือกใช้สีต่างๆได้ เช่น 1. ใช้ในการแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขยี น เพราะสีบรรยากาศในภาพเขียนน้ันๆ จะแสดงใหร้ ูว้ ่า เป็น ภาพตอนเช้า ตอนกลางวนั หรือตอนบ่าย เปน็ ตน้ 2. ในดา้ นการคา้ คือ ทำให้สินค้าสวยงาม นา่ ซ้อื หา นอกจากนีย้ งั ใช้กบั งานโฆษณา เช่น โปสเตอร์ต่างๆ ช่วย ใหจ้ าํ หนา่ ยสนิ คา้ ได้มากขึ้น 3. ในด้านประสทิ ธภิ าพของการทำงาน เชน่ โรงงานอุตสาหกรรม ถา้ ทาสีสถานท่ีทำงานใหถ้ กู หลักจิตวทิ ยา จะเปน็ ทางหนงึ่ ท่ีช่วยสร้างบรรยากาศใหน้ า่ ทำงาน คนงานจะทำงานมากขึ้น มีประสิทธิภาพในการทำงานสงู ขนึ้ 4. ในดา้ นการตกแตง่ สีของหอ้ ง และสีของเฟอรน์ เิ จอร์ ชว่ ยแกป้ ญั หาเร่อื งความสว่างของห้อง รวมทงั้ ความสขุ ในการใช้หอ้ ง ถ้าเป็นโรงเรยี นเดก็ จะเรยี นไดผ้ ลดีข้ึน ถา้ เป็นโรงพยาบาลคนไข้จะหายเร็วขน้ึ สรา้ งสรรคง์ านออกแบบจะเป็นผ้ทู เ่ี ก่ยี วข้องกับการใชส้ ีโดยตรง มัณฑนากรจะคดิ ค้นสีข้นึ มาเพ่ือใชใ้ นงานตกแต่ง คนออกแบบฉากเวทีการแสดงจะคิดคน้ สีเกย่ี วกับแสง จติ รกรกจ็ ะคดิ คน้ สีข้ึนมาระบายให้เหมาะสมกับ ความคิด และจินตนาการของตน แล้วตัวเราจะคิดค้นสขี ้ึนมาเพอ่ื ความงาม ความสุข สำหรับเรามิไดห้ รือ สีทใ่ี ช้สำหรบั การ ออกแบบน้นั ถา้ เราจะใชใ้ หเ้ กิดความสวยงามตรงตามความตอ้ งการของเรา มีหลกั ในการใช้กว้างๆ อยู่ 2 ประการ คือ การใช้สกี ลมกลืนกนั และ การใช้สีตดั กัน ณัฐวฒุ ิ ศรีตัดสงู ครศู นู ย์การเรยี นชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน

1. การใช้สีกลมกลนื กนั การใช้สีให้กลมกลืนกัน เปน็ การใชส้ หี รอื น้ำหนักของสีใหใ้ กลเ้ คยี งกัน หรอื คล้ายคลึงกัน เช่น การใชส้ ีแบบเอก รงค์ เปน็ การใชส้ ีสีเดียวที่มนี ้ำหนกั อ่อนแกห่ ลายลำดบั การใช้สขี า้ งเคยี ง เป็นการใช้สีที่เคยี งกนั 2 – 3 สี ในวงสี เช่น สแี ดง สีสม้ แดง และสีมว่ งแดง การใชส้ ีใกล้เคียง เปน็ การใชส้ ที ่อี ย่เู รียงกันในวงสีไมเ่ กิน 5 สี ตลอดจนการใช้สีวรรณะร้อนและวรรณะเยน็ ( warm tone colors and cool tone colors) ดังได้กลา่ วมาแล้ว 2. การใชส้ ีตดั กนั สตี ดั กันคอื สที ่ีอยู่ตรงข้ามกนั ในวงจรสี (ดูภาพวงจรสี ด้านซ้ายมือประกอบ) การใชส้ ีใหต้ ดั กันมีความจาํ เป็นมาก ในงานออกแบบ เพราะชว่ ยให้เกิดความน่าสนใจ ในทันทที ี่พบเห็น สตี ดั กันอย่างแท้จรงิ มี อยู่ ด้วยกนั 6 ค่สู ี คอื 1. สีเหลือง ตรงขา้ มกบั สีมว่ ง 2. สสี ้ม ตรงขา้ มกบั สนี ้ำเงนิ 3. สีแดง ตรงขา้ มกับ สเี ขียว 4. สเี หลอื งสม้ ตรงขามกับ สีม่วงน้ำเงนิ 5. สสี ้มแดง ตรงขา้ มกับ น้ำเงินเขยี ว 6. สีมว่ งแดง ตรงข้ามกับ สเี หลอื งเขียว การใช้สีตดั กนั ควรคำนงึ ถงึ ความเป็นเอกภาพด้วย วธิ ีการใช้มีหลายวธิ ี เชน่ ใช้สีใหม้ ปี รมิ าณตา่ งกนั เชน่ ใชส้ ี แดง 20 % สีเขียว 80% หรอื ใชเ้ นอื้ สีผสมในกันและกนั หรือใช้สีหน่ึงสใี ดผสมกับสคี ู่ท่ีตัดกนั ด้วยปรมิ าณ เลก็ น้อยรวมทงั้ การเอาสีท่ีตดั กันมาทำให้เป็นลวดลายเล็ก ๆ สลบั กัน ในผลงานชิ้นหนงึ่ อาจจะใช้สีให้กลมกลนื กนั หรือตดั กนั เพยี งอย่างใดอย่างหนง่ึ หรืออาจจะใชพ้ ร้อมกันท้ัง 2 อยา่ ง ทง้ั นี้แลว้ แต่ความตอ้ งการ และความคดิ สรา้ งสรรคข์ องเราไม่มีหลักการ หรอื รูปแบบทต่ี ายตวั ในงานออกแบบ หรือการจดั ภาพ หากเรารจู้ ักใช้สใี หม้ ีสภาพโดยรวมเปน็ วรรณะรอ้ น หรอื วรรณะเยน็ เราจะ สามารถควบคุม และสรา้ งสรรคภ์ าพให้เกิดความประสานกลมกลนื งดงามไดง้ ่ายข้ึน เพราะสีมอี ิทธิพลต่อ มวล ปริมาตร และช่องว่าง สีมคี ณุ สมบตั ิที่ทำให้เกิดความกลมกลืน หรือขดั แยง้ ได้ สสี ามารถขบั เน้นใหใ้ หเ้ กิด จดุ เด่น และการรวมกนั ให้เกิดเปน็ หน่วยเดียวกันได้ เราในฐานะผใู้ ช้สตี อ้ งนําหลักการต่างๆ ของสีไปประยุกตใ์ ช้ให้ สอดคลอ้ ง กับเป้าหมายในงานของเรา เพราะสีมีผลต่อการออกแบบ คือ 1. สรา้ งความรสู้ ึก สีใหค้ วามรูส้ ึกต่อผพู้ บเหน็ แตกตา่ งกันไป ท้งั น้ีขึ้นอยู่กบั ประสบการณ์ และภมู หิ ลัง ของ แต่ละคน สบี างสสี ามารถรกั ษาบําบัดโรคจติ บางชนิดได้ การใช้สีภายใน หรือภายนอกอาคาร จะมผี ลต่อ การ สัมผสั และสร้างบรรยากาศได้ 2. สร้างความนา่ สนใจ สมี ีอทิ ธิพลตอ่ งานศิลปะการออกแบบ จะช่วยสร้างความประทบั ใจ และความ น่าสนใจเปน็ อนั ดบั แรกท่ีพบเหน็ 3. สีบอกสญั ลกั ษณข์ องวัตถุ ซ่งึ เกิดจากประสบการณ์ หรือภูมหิ ลงั เชน่ สีแดงสัญลกั ษณข์ องไฟ หรือ อันตราย สเี ขยี วสัญลกั ษณ์แทนพชื หรือความปลอดภัย เป็นตน้ ณัฐวฒุ ิ ศรีตดั สงู ครศู นู ย์การเรียนชมุ ชน กศน.อาเภอชานุมาน

4. สีช่วยให้เกดิ การรับรู้ และจดจาํ งานศลิ ปะการออกแบบตอ้ งการให้ผู้พบเหน็ เกิดการจดจํา ในรปู แบบ และผลงาน หรอื เกดิ ความประทบั ใจ การใช้สจี ะตอ้ งสะดุดตา และมเี อกภาพ แสงและเงา แสงและเงา หมายถงึ แสงท่ีส่องมากระทบพ้ืนผวิ ที่มีสีอ่อนแกแ่ ละพนื้ ผิวสูงต่ำ โคงนูนเรยี บหรอื ขรุขระ ทำให้ ปรากฏแสงและเงาแตกตา่ งกัน ตวั กำหนดระดบั ของคา่ น้ำหนัก ความเข้มของเงาจะข้นึ อยู่กับความเข้มของแสง ในท่ีท่ีมีแสงสวา่ งมาก เงาจะ เข้มขนึ้ และในท่ีทีม่ ีแสงสว่างน้อย เงาจะไม่ชัดเจน ในที่ทไี่ ม่มีแสงสว่างจะไม่มเี งา และเงาจะอยู่ในทางตรงข้ามกบั แสงเสมอ ค่าน้ำหนกั ของแสงและเงาทเี่ กดิ บนวัตถุ สามารถจําแนกเปน็ ลกั ษณะที่ ตา่ ง ๆ ไดด้ ังนี้ 1. บริเวณแสงสวา่ งจัด (Hi-light) เปน็ บริเวณทอี่ ยใู่ กลแ้ หล่งกำเนิดแสงมากทส่ี ุด จะมีความสว่างมาก ท่สี ดุ ในวตั ถุที่มผี ิวมนั วาวจะสะท้อนแหล่งกำเนิดแสงออกมาให้เห็นได้ชัด 2. บริเวณแสงสวา่ ง (Light) เปน็ บรเิ วณท่ีได้รบั แสงสวา่ ง รองลงมาจากบรเิ วณแสงสว่าง จัด เนอ่ื งจากอยู่ ห่างจากแหล่งกำเนิดแสงออกมา และเรมิ่ มคี า่ น้ำหนักอ่อน ๆ 3. บรเิ วณเงา (Shade) เป็นบริเวณท่ีไม่ไดร้ ับแสงสว่าง หรือเปน็ บรเิ วณท่ีถูกบดบงั จาก แสงสวา่ ง ซึ่ง จะมคี ่าน้ำหนักเข้มมากขน้ึ กว่าบริเวณแสงสวา่ ง 4. บริเวณเงาเขม้ จัด (Hi-Shade) เป็นบริเวณที่อยู่ห่างจากแหล่งกำเนดิ แสงมากทสี่ ุด หรอื เป็นบรเิ วณที่ ถูกบดบงั มาก ๆ หลาย ๆ ชนั้ จะมีคา่ น้ำหนกั ทเี่ ขม้ มากไปจนถงึ เขม้ ทสี่ ุด 5. บรเิ วณเงาตกทอด เปน็ บรเิ วณของพ้นื หลงั ทเ่ี งาของวัตถุทาบลงไป เป็นบรเิ วณเงาทอ่ี ยู่ ภายนอกวัตถุ และจะมคี วามเขม้ ของคา่ น้ำหนักขึ้นอยู่กบั ความเขม้ ของเงา น้ำหนกั ของพน้ื หลงั ทิศทางและระยะของเงา ความสำคญั ของคา่ น้ำหนัก 1. ใหค้ วามแตกตา่ งระหวา่ งรูปและพนื้ หรือรูปทรงกับทีว่ ่าง 2. ให้ความรู้สึกเคลอื่ นไหว 3. ให้ความรูส้ ึกเป็น 2 มติ ิ แก่รปู รา่ ง และความเปน็ 3 มติ ิแก่รูปทรง 4. ทำให้เกิดระยะความตื้น - ลกึ และระยะใกล้ - ไกลของภาพ 5. ทำใหเ้ กิดความกลมกลนื ประสานกนั ของภาพ ณฐั วุฒิ ศรีตดั สูง ครศู นู ยก์ ารเรียนชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

ณฐั วฒุ ิ ศรตี ดั สงู ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook