Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้พบกลุ่มครั้งที่ 8 เรื่อง นาฏศิลป์สากล

ใบความรู้พบกลุ่มครั้งที่ 8 เรื่อง นาฏศิลป์สากล

Published by kungchay17, 2021-05-27 08:24:12

Description: ใบความรู้พบกลุ่มครั้งที่ 8 เรื่อง นาฏศิลป์สากล
วิชา ศิลปศึกษา รหัสวิชา ทช 31003
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Search

Read the Text Version

ณฐั วฒุ ิ ศรตี ดั สงู ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน

ใบความรู้คร้ังท่ี 8 วิชา ศิลปศึกษา รหัสวิชา ทช ๓๑๐๐๓ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เรอ่ื ง นาฏศลิ ปส์ ากล ********************************************* นาฏศิลปป์ ระเทศสาธารณรฐั สงั คมนิยมแหง่ สหภาพพมา่ [ทมี่ า :: http://gotoknow.org/blog/seksan1...1/124474] ประวัตินาฏศิลปพ์ ม่าที่มีหลักฐานแนน่ อน ภายหลัง พ.ศ. 2310 คือ หลงั จากกรงุ ศรีอยธุ ยาแตกครั้งท่ี 2 พมา่ ไดร้ บั อิทธิพลนาฏศิลป์ไปจากไทย กอ่ นหนา้ น้ี นาฏศิลป์ของพม่าเปน็ ของพ้นื เมืองมากกว่าท่จี ะได้รับอิทธิพลมา จากภายนอกประเทศ เหมือนกบั ประเทศอื่นๆ นาฏศิลปพ์ ม่าเรม่ิ ตน้ จากพธิ ที างศาสนา ต่อมาเมื่อพม่ามีการตดิ ต่อ กบั อินเดียและจนี ทา่ ร่ายรําของ 2 ชาตดิ ังกลา่ ว ก็จะมีอิทธพิ ลแทรกซมึ ในนาฏศลิ ป์พนื้ เมืองของพมา่ แต่ท่ารา่ ยราํ ของเดิมมคี วามเปน็ เอกลักษณ์ของพม่าจริงๆ นาฏศลิ ปก์ ารละครในประเทศพม่า มลี กั ษณะพเิ ศษ คอื ในแต่ละยุคสมัยลกั ษณะนาฏศิลปแ์ ละการละคร จะแตกต่างกนั ออกไปตามอิทธพิ ลภายนอกท่ีได้รบั ซึ่งแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ยุค คือ 1. ยคุ กอ่ นรบั นับถือพระพทุ ธศาสนา เปน็ ยคุ ของการนบั ถือผี การฟอ้ นราํ เปน็ ไปในการทรงเจา้ เข้าผี บูชาผีและบรรพบรุ ุษทต่ี ายไปแลว้ ต่อมาก็มี การฟ้อนราํ ในงานพิธตี า่ งๆ เช่น โกนจกุ 2. ยุคนับถือศาสนาพทุ ธ พมา่ รับนบั ถือศาสนาพุทธหลงั ปี พ.ศ. 1559 ในสมยั น้ีการฟ้อนรําเพอื่ บูชาผีก็ยงั มอี ยู่ และการฟ้อนราํ กลายเป็นส่วนหน่ึงของการบูชาในพุทธศาสนาดว้ ยหลงั ปี พ.ศ. 1800 เกิดมีการละครแบบหน่ึง เรียกว่า \"นพิ ทั ขน่ิ \" เป็นละครเร่ แสดงเร่ือง พุทธประวตั เิ พื่อเผยแพร่ความรูใ้ นพทุ ธศาสนา เพื่อใหช้ าวบา้ นเขา้ ใจเรื่องราวได้งา่ ย ต่อมา เพือ่ ใหค้ วามสนกุ สนานจึงได้เพม่ิ บทตลกให้มากขนึ้ บทตลกนไ้ี มม่ ีเขยี นไว้ ผูแ้ สดงต้องหามุขแทรกเอาเอง ตวั ตลก นั้นมที งั้ หญิงและชาย มักจะเป็นสาวใช้ คนใชค้ นสนทิ ของตัวเอก ตอ่ มาบทของเทวทตั ต์ก็กลายเป็นบทตลกไปด้วย ละครนิพทั ขิ่น มกั จะแสดงเรอ่ื งพทุ ธประวตั ิ ตอนตรสั รู้ เพราะไม่นยิ มแสดงบทบาทของพระพทุ ธเจา้ หรือพระ สาวกองค์สำคญั ณัฐวุฒิ ศรตี ดั สงู ครศู นู ย์การเรียนชุมชน กศน.อาเภอชานุมาน

ต่อมาพมา่ ได้รบั อิทธิพลของอนิ เดียโดยผา่ นทางเขมร ละครนิททั ขิ่นจงึ แสดงเร่ืองอื่นๆ เช่น รามายณะ เทพ นยิ ายต่างๆ และเหตุการณ์ในราชสำนัก 3. ยุคอิทธพิ ลละครไทย หลังการเสยี กรงุ ศรีอยุธยาแกพ่ มา่ ในปี พ.ศ. 2310 ชาวไทยก็ถูกกวาดต้อนไปเป็นจาํ นวนมาก พวกละครและ ดนตรี ถกู นาํ ไปไวใ้ นราชสำนัก เกดิ ความนิยมละครแบบไทยขึน้ จึงถือเปน็ เคร่ืองประดับราชสำนกั นยิ มให้เด็กพมา่ หดั ละครไทย ละครแบบพม่าในยุคน้ีเรียกว่า \"โยธยาสัตคยี\" หรือละครแบบโยธยา ทา่ รํา ดนตรี และเร่อื งทีแ่ สดง รวมทัง้ ภาษาทใ่ี ช้กเ็ ปน็ ของไทย มีการแสดงอยู่ 2 เร่อื ง คือ รามเกียรติ์ เลน่ แบบโขน และอเิ หนา เล่นแบบละครใน ในปี พ.ศ. 2328 เมียวดี ขา้ ราชการพม่า ได้คิดละครแบบใหม่ขึ้น ชื่อเร่ือง \"อีนอง\" ซึง่ มลี ักษณะใกลเ้ คียงกบั อิเหนามาก มีส่ิงทแี่ ปลกออกไปคอื ตัวละคร ตัวละครของเร่ืองนี้ มลี ักษณะเปน็ มนุษย์ธรรมดาสามญั ท่ีมกี เิ ลส มี ความดีความช่ัว ละครเร่ืองน้ีเปน็ แรงบนั ดาลใจให้เกดิ ละครในแนวนีอ้ ีกหลายเร่ือง ต่อมา ละครในราชสำนักเสอื่ มความนิยมลง เม่ือกลายเปน็ ของชาวบา้ นก็ค่อยๆ เสื่อมลง แตล่ ะครแบบ นิพัทข่นิ กลับเฟ่ืองฟขู ้นึ แต่ก็ลดมาตรฐานลงจนกลายเป็นจำอวด เมอื่ ประเทศพมา่ ตกเปน็ เมอื งขนึ้ ของอังกฤษแล้ว ในปี พ.ศ. 2428 ละครหลวงและละครพื้นเมอื งซบเซา ต่อมามีการละครท่ีนาํ แบบอย่างมาจากองั กฤษเขา้ แทนที่ ถึงสมัย ปัจจบุ ันนีล้ ะครของเก่าคบู่ ้านคู่เมืองของพม่าจึง หาชมไดย้ าก [ท่ีมา http://www.banramthai.com/html/burma.html] นาฏศลิ ปก์ ัมพชู า นาฏศลิ ปก์ มั พชู ามีหลักฐานปรากฏตง้ั แตส่ มยั ก่อนพระนคร (ค.ศ. ๕๔๐-๘๐๐) แล้ว เชน่ รปู ปน้ั ดินเหนียว สมัยนครบุรี (Angkorborei) เป็นรปู บคุ คลร่ายรํา และจารึกท่กี ลา่ วถึง \"คนราํ \" เปน็ ภาษาเขมร ในจารกึ สมัยพระ นคร(ค.ศ. ๘๒๕-ราวคริสต์ศตวรรษที่ ๑๔) พบคําสนั สกฤต \"ภาณ\"ิ ซ่ึงหมายถงึ การแสดงเล่าเรื่อง และหากดูภาพ สลกั ณัฐวุฒิ ศรตี ดั สูง ครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

จํานวนมากในปราสาทหนิ ทง้ั หลายแหล่ขอม ไมต่ ้องสงสัยเลยว่าในอาณาจักรขอมมีการร่ายรํา การแสดง เป็นเรื่อง ปรกตธิ รรมดาสำหรับการบนั เทงิ ในราชสำนกั และประชาชน ในจารึกท่ีกลา่ วถงึ ขา้ พระทปี่ ระจำศาสนสถานนน้ั มักมี \"คนราํ \" ประจำอย่ดู ้วย นาฏศิลป์กัมพชู าโบราณนา่ จะ ไดร้ บั อิทธิพลอินเดยี เปน็ พื้น ท่มี าภาพ นาฏศิลป์กัมพชู านา่ จะสบื ต่อและพฒั นามาจนรุ่งโรจนไ์ ม่แพ้ศลิ ปวิทยาการดา้ นอืน่ ๆ ในสมัยพระนคร และน่าจะมีอิทธพิ ลไมน่ ้อยต่ออยุธยาหลังจากที่มีการตเี มืองพระนครแตกและกวาดต้อนผู้คนมาสูก่ รุงศรีอยุธยา จํานวนหนึง่ ในผู้คนเหล่านั้นนา่ จะมีนักรําอยดู่ ว้ ยหลักฐานทางภาษาอยา่ งหนงึ่ ก็คือไทยรับคํา \"ราํ \" ในภาษาเขมรมา แทนท่ีคํา \"ฟ้อน\" ท่เี ดิมใช้ในภาษาไทย และไทยกร็ ับเอามาผสมผสานกับส่ิงทมี่ ีอยเู่ ดมิ และพัฒนานาฏศลิ ปส์ บื เนอ่ื ง ต่อจากน้ันและสร้างเอกลกั ษณ์เฉพาะตนขึ้นมา และเม่ือมาถงึ สมัยตน้ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ไทยกส็ ง่ คนื ศลิ ปวทิ ยาการ ด้านน้กี ลับสู่ประเทศราชกมั พูชา และกัมพูชากร็ ับเอามาประยกุ ตป์ รับเปลีย่ นใหเ้ ข้ากับตวั เองและสบื ต่อมาจนถึง ปจั จุบนั (ที่มาข้อมลู www.bloggang.com ) ทม่ี าข้อมูล ณัฐวฒุ ิ ศรีตดั สูง ครศู นู ย์การเรียนชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

สมเดจ็ พระมหากษตั ริยานีกสุ มุ ะนารรี ัตน์ พระราชมารดาของเจ้าสีหนุ พระนางทรงทํานบุ ํารงุ การละคร เขมรใหร้ ่งุ เรือง พระนางจงึ ทรงเปน็ พระมารดาแห่งนาฏศลิ ป์กัมพชู าก็วา่ ได้ ระบำอปั สราเกิดขึน้ ดว้ ยคุณูปการของ พระนาง โดยนางอปั สราตวั เอกองคแ์ รกคอื เจ้าหญงิ บุพผาเทวี พระราชธิดาในเจ้าสีหนุ ทม่ี าข้อมลู นครวัดเป็นอดุ มคติแห่งชาตกิ ัมพชู า นางอัปสราในนครวดั กเ็ ปน็ อุดมคติแหง่ สตรเี ขมร ดังน้ันการชบุ ชีวิต นางอปั สราออกมาเป็นระบำระดับชาตนิ ้ันมีความหมายในเชิงชาตพิ นั ธ์นุ ยิ ม เพื่อใหเ้ ข้าถึงสญั ลักษณ์สูงสดุ แห่งสตรี แขมร์ ระบำอัปสรามชี ่ือเสยี งข้ึนมาดว้ ยการองิ บนความย่งิ ใหญข่ องนครวดั และระบำอัปสราก็จาํ ลองภาพสลักที่ แนน่ ิ่งไร้ความเคล่อื นไหวในนครวดั ให้หลดุ ออกมามชี วี ติ สอดคล้องมาตรฐานสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่างาน ทศั นศลิ ปท์ ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของดนตรี ท่ี เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศลิ ป์ ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล คาํ ถามสานต่อความคดิ - เรื่องราวเก่ยี วกบั ศิลปวฒั นธรรมในกัมพชู า มีประเด็นใดท่ีให้ความสนใจศึกษาเพ่ิมเติม - เราจะมีวธิ ีการเรียนรูศ้ ลิ ปวฒั นธรรม โบราณสถาน ให้ลกึ ซึ้งได้อยา่ งไร - ปัจจยั ใดทท่ี ำให้ศิลปวัฒนธรรม ไดร้ บั การถ่ายทอด องคค์ วามรู้ท่สี บื ตอ่ กนั มา - แนวทาง หรอื วธิ กี ารใดทจ่ี ะทำใหศ้ ิลปวัฒนธรรม ได้รบั การธํารงไวซ้ ึ่งคุณค่าต่อไป - ปจั จัยใดทท่ี ำใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงของสงั คม และศลิ ปวัฒนธรรม - จาํ เป็นหรือไมท่ ี่เราต้อง ศกึ ษาเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมต่างชาติ - ทิศทาง และลักษณะของเมืองจากปัจจบุ นั ไปสูอ่ นาคตจะเปน็ เชน่ ไร และเราต้องการให้เป็นเชน่ ไร ณฐั วฒุ ิ ศรีตดั สงู ครศู นู ย์การเรยี นชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน

เช่ือมโยงในองคค์ วามรู้ ภาษาไทย การอ่าน การเขียนเรยี งความ สงั คมฯ ศึกษาความเป็นมาของ ประวตั ิศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม วฒั นธรรม วิถีชวี ิตความเปน็ อยู่ ภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมปิ ระเทศ สงิ่ แวดล้อมรอบตวั เพ่มิ เติมเตม็ กันและกนั - จดั กจิ กรรมทศั นศกึ ษาแหล่งเรยี นร้นู อกสถานศกึ ษา - เชญิ วทิ ยากร ผูเ้ ช่ียวชาญใหค้ วามรู้ - แนะนําแหล่งศึกษาเรยี นใหน้ กั เรียนศกึ ษาเพ่ิมเตมิ - นําภาพโบราณสถานของกัมพชู ามาให้นักเรยี นได้มโี อกาสเหน็ - จดั กิจกรรมการแสดงละครบทบาทสมมุติ ละครองิ ประวตั ศิ าสตร์ - ศึกษาการเปล่ียนแปลงวถิ ีทางสงั คม ที่มีผลตอ่ วถิ ีชีวติ และศิลปวัฒนธรรม - จดั แสดงนิทรรศการ นาํ เสนอผลงาน - ศึกษา รบั ชม รบั ฟงั การแสดงนาฏศลิ ป์กมั พูชา นาฏศลิ ปป์ ระเทศสาธารณรฐั เกาหลี นาฏศิลป์เกาหลีเรม่ิ มีการเปล่ียนแปลงในราวศตวรรษท่ี 3 นาฏศลิ ปเ์ กาหลใี นสมัยโบราณใช้แสดงในพธิ ที าง ศาสนาเพ่ือบวงสรวงเทพยดาอารักษ์ จดั แสดงปลี ะ 2 ครงั้ คือ ในเดือนพฤษภาคมซง่ึ เปน็ ฤดหู วา่ น และในเดือน ตุลาคมฤดเู ก็บเก่ียวววิ ฒั นาการของนาฏศลิ ป์เกาหลีก็ทํานองเดยี วกับของชาติอืน่ มักจะเริ่มและดดั แปลงใหเ้ ปน็ ระบำปลกุ ใจในสงคราม เพอ่ื ให้กาํ ลงั ใจแกน่ ักรบ หรอื ไม่กเ็ ป็นพธิ ีทางพุทธศาสนา หรือเปน็ การรอ้ งราํ ทาํ เพลงในหมู่ ชนชั้นกรรมาชีพหรอื แสดงเป็นหมู่ นาฏศิลปใ์ นราชสำนักก็มมี าแตโ่ บราณกาลเชน่ เดยี วกัน นาฏศิลป์เกาหลีสมบูรณต์ ามแบบฉบับทางการละครทสี่ ดุ และเป็นพธิ ีรตี อง ไดแ้ ก่ ละครสวมหนา้ กาก นาฏศิลป์ เกาหลีสมัยใหม่ พฒั นามาจากนาฏศลิ ปท์ ใี่ ชใ้ นพิธเี ลี้ยงต้อนรับอาคนั ตุกะชนั้ ผดู้ ีและมั่งค่ัง นาฏศลิ ปเ์ กาหลี มลี ีลาอนั งดงามออ่ นชอ้ ยอยู่ท่ีการเคล่ือนไหวไหลแ่ ละเอวเปน็ สว่ นสำคัญ ตามหลกั ทฤษฎี นาฎศิลป์เกาหลี มี 2 แบบ คือ 1. แบบแสดงออกซึ่งความรื่นเรงิ ความโอบอ้อมอารี และความอ่อนไหวของอารมณ์ 2. แบบพธิ ีการ ดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมและประเพณีทางพทุ ธศาสนา จดุ เด่นของนาฏศลิ ป์เกาหลี มีลกั ษณะคลา้ ยนาฏศลิ ป์สเปน คือผูแ้ สดงเคล่ือนไหวทั้งส่วนบนและส่วนล่างของ ร่างกาย เปน็ การผสมผสานระหว่างนาฏศลิ ปต์ ะวนั ตกและนาฏศิลปต์ ะวันออกเข้าดว้ ยกนั ซงึ่ นาฏศลิ ป์ตะวนั ตก เนน้ หนักในการใชข้ าและร่างกายสว่ นลา่ ง แตน่ าฏศิลป์ตะวันออกจะใช้ส่วนไหล่ แขน และมือ โรงเรียนนาฏศลิ ปเ์ กาหลสี มยั ปจั จุบัน จะแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คอื 1. โรงเรียนนาฏศลิ ปแ์ ผนโบราณ ซง่ึ ไม่ยอมรบั อิทธพิ ลอ่นื ใดนอกจากจะรักษาแบบฉบับเดิมไว้ ณัฐวฒุ ิ ศรตี ดั สูง ครศู นู ย์การเรียนชุมชน กศน.อาเภอชานุมาน

2. โรงเรยี นนาฏศลิ ป์สมัยใหม่ จะรับเอาแบบอย่างของนาฏศลิ ป์ตะวันตกเขา้ มารวมดว้ ย ซ่งึ ไดร้ ับความนิยม มากกวา่ แบบโบราณ เป็นทยี่ อมรบั วา่ ยอดนยิ มของนาฏศิลป์เกาหลีน้นั ได้แก่ นาฏศลิ ปข์ องพระแสดงการตอ่ ตา้ นศาสนา ผู้แสดงจะ สวมเสือ้ คลมุ ของพระ ลีลาการร่ายรํานั้นงามนา่ ดูมาก แสดงออกซึ่งความต้องการของมนุษย์ นาฏศิลป์เกาหลีทคี่ วรรจู้ กั ไดแ้ ก่ 1. ละครสวมหนา้ กาก เนือ้ เร่อื งมักคล้ายคลึงกัน ลลี าการแสดงนนั้ นาํ เอานาฏศลิ ป์แบบต่างๆ มาปะตดิ ปะตอ่ กนั 2. ระบำแมม่ ดกเ็ ป็นนาฏศิลป์อกี แบบหน่ึง และการร้องราํ ทำเพลงประเภทลูกท่งุ นัน้ กม็ ีชวี ติ ชวี าอยา่ งยิ่ง 3. ระบำบวงสรวงในพธิ แี ละระบำประกอบดนตรีทใ่ี ช้ในพธิ เี ลย้ี งต้อนรบั ในราชสำนกั ซ่ึงประกอบด้วยบรรยากาศ อันงดงามตระการตาน่าชมมาก นาฏศลิ ป์อินโดนีเซยี [ทม่ี า http://www.maesariang.com/indonesia/6.php] ศลิ ปะการแสดงของอินโดนีเซีย ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ หากมองเร่ืองของนาฏศิลปแ์ ละศลิ ปะการแสดงแล้ว อินโดนเี ซียเป็น ประเทศหนึ่งที่มีวฒั นธรรมทางการแสดงอันเก่าแกแ่ ละมลี ักษณะโดดเดน่ เป็นเอกลกั ษณข์ องตนโดยมีพน้ื ฐานของ วฒั นธรรมมุสลิมและฮนิ ดูปรากฏอยู่เด่นชดั ในศลิ ปะการแสดงของอินโดนเี ซียศิลปะการแสดงท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ เดน่ ชดั ของอินโดนเี ซียและยังคงเป็นศลิ ปะประจำชาติท่ีเก่าแกท่ ส่ี ุดก็คือ ศิลปะการเชดิ หนังหรอื เชิดหุ่นภาษาชวา เรยี กวา่ “วายัง” (Wayang)หรอื เรยี กเต็มชอื่ วา่ ”วายงั ปูรว์ า”( Wayang Purwa) “วายงั ”แปลว่า “เงา” ส่วน”ปรู ์ วา”แปลว่า”ความเกา่ แก่”รวมกันจึงหมายถึงความเก่าแกแ่ ห่งศิลปะการเชดิ ตัวหนุ่ ท่ที ำจากหนังใหเ้ กิดเปน็ ภาพเงา บนจอผ้า ในปัจจบุ ันคาํ วา่ วายังมคี วามหมายทัว่ ไปว่า”การแสดง” ณัฐวฒุ ิ ศรตี ัดสงู ครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชน กศน.อาเภอชานุมาน

1. ความเป็นมาของวายัง นกั วิชาการมคี วามเหน็ แตกต่างกนั 3 แนวทางคือ กลุ่มแรก ยนื ยนั วา่ วายังเป็นศิลปะการแสดงของท้องถ่นิ ชวามาแต่โบราณ มีกำเนิดบนเกาะชวา เนื่องมาจากประเพณขี องคนท้องถิ่นซึ่งนบั ถือส่งิ ศักด์สทิ ธแิ์ ละบูชาบรรพบรุ ุษนัน่ เอง หลักฐานทีใ่ ช้สนบั สนุนของ กล่มุ นี้มีหลายประการ กลา่ วคือ ภาษาและคำศัพท์เฉพาะทางเทคนคิ การแสดงเป็นภาษาชวาโบราณ ประเพณีการ ชมละครวายงั ทเี่ ก่าแก่ยงั คงเห็นปฏิบตั ิกนั อย่ทู ว่ั ไป กล่าวคือ บริเวณทนี่ ่งั ของผชู้ มฝ่ายชายอยคู่ นละด้านของฝา่ ย หญิง ผ้ชู มฝ่ายชายนิยมนงั่ ด้านเดยี วกับผู้เชดิ หนงั เพราะเป็นด้านท่ีชมการแสดงได้สนุกกว่าด้านทเี่ ห็นเงา ฝา่ ยหญงิ ถูกกำหนดท่ีน่งั ให้อยดู่ า้ นตรงข้ามกบั ผู้ชายเหตผุ ลอีกประการหน่ึงคอื วายงั เป็นการแสดงที่แปลกแตกตา่ งและโดด เดน่ จากการแสดงอนื่ ๆทัง้ หมดในเอเชยี จึงน่าจะเช่ือไดว้ า่ ศิลปะการแสดงวายังเป็นสมบตั ิทางวฒั นธรรมของ อินโดนีเซียอย่างแท้จริง กล่มุ ทีส่ อง เชือ่ วา่ ศลิ ปะการเชิดหนังน้ีไดร้ ับอทิ ธพิ ลมาจากอินเดยี เพราะอินเดียมีการแสดงเชดิ หนงั และ เชดิ หนุ่ มาตงั้ แตส่ มัยโบราณ วัฒนธรรมอนิ เดยี เจริญและเกา่ แกก่ วา่ ชวา ประวัติศาสตรย์ ุคโบราณของชวาไดเ้ หน็ การ แผข่ ยายอารยธรรมอินเดียเป็นระยะเวลาหลายร้อยปี ด้วยเหตุนี้ ชวาจึงนา่ ท่ีจะเป็นฝ่ายรับการแสดงวายงั จาก อินเดียนอกจากนี้ตวั ละครตลกในวายังของชวาท่ชี อ่ื ซีมาร(์ Semar) มีลักษณะทีล่ ะม้ายคล้ายคลึงกบั ตวั ตลกอนิ เดยี ทป่ี รากฏในละครสันสกฤตอันโด่งดังของอนิ เดยี สมัยครสิ ต์ศตวรรษท่ี 3-8 กลุ่มที่สาม สนับสนนุ ความคดิ ทีว่ า่ การเชดิ หนงั และหุ่นชนดิ ต่างๆนา่ ทีม่ าจากประเทศจนี เพราะชนชาติจนี รูจ้ ักศิลปะประเภทนม้ี านานกว่า2000ปแี ลว้ โดยมีหลกั ฐานบันทกึ เรือ่ งราวใน121 ปกี ่อนคริสต์ศักราชว่า จกั รพรรดิองคห์ น่งึ ในราชวงค์ฮ่นั ทรงโปรดให้ทำพธิ ีเข้าทรงเรียกวิญญาณนางสนมคนโปรดของพระองค์ การทำพธิ ี เชน่ นีอ้ าศัยเทคนิคการเชดิ หนังนัน่ เอง แม้ไม่มีข้อยตุ ิที่แนช่ ดั วา่ จริงๆแลว้ วายังของชวามาจากไหน และไดร้ บั อิทธิพลจากจนี หรอื อินเดยี วหรือไมก่ ็ตแตส่ งิ่ ที่ น่าจะสนั นิษฐานได้กค็ ือ ในสงั คมแบบชาวเกาะซึง่ นับถือสงิ่ ศกั ด์สิ ิทธิใ์ นธรรมชาติ และมปี ระเพณีบชู าบรรพบรุ ุษ เชน่ เดยี วกบั สงั คมโบราณในประเทศเอเชยี ทง้ั หลายการแสดงเชดิ หนังและเชิดหุน่ กระบอกเป็นศลิ ปะทเ่ี กิดขนึ้ โดย ธรรมชาตอิ ย่แู ล้วในสง่ิ แวดล้อมของสงั คมดังกลา่ วความสมั พนั ธข์ องวายงั กันพิธกี รรมทางศาสนาย่อมแยกกันไม่ออก เงาตา่ งๆทเ่ี กดิ ข้ึนเปรยี บเสมือนดวงวญิ ญาณของบรรพบุรุษท่ีศลิ ปินผ้เู ชิดบนั ดาลใหเ้ กดิ ข้ึน คนโบราณนิยมประกอบ พิธเี รียกวญิ ญาณบรรพบรุ ุษในงานมงคลตา่ งๆ เช่น งานแตง่ งาน เพือ่ นใหว้ ิญญาณของบรรพบุรษุ ได้มารบั ร้เู ป็นสักขี พยานการแสดงวายังจงึ เปน็ ศิลปะการแสดงท่ีมวี ามขลังและศักด์สิ ิทธด์ิ จุ พิธกี รรมทางศาสนา การทำพิธนี ี้เป็นท่ี ยอมรับในสงั คม การเชิดหนังวายังจงึ ถูกนำมาใช้โดยบคุ คลสำคัญซึ่งทำตนเป็นสอื่ กลางรับจ้างอัญเชญิ วญิ ญาณ รวมทัง้ การแสดงเรื่องราวท่ีเก่ียวกบั ปรชั ญาและศีลธรรมอกี ด้วย มีผ้สู นั นษิ ฐานวา่ คาํ วา่ “วายงั ” มวี วิ ฒั นาการมา จากคาํ เกา่ ของชวา คือ“วาหโ์ ย” ซ่งึ แปลว่า การปรากฏให้เห็นซึ่งการดลใจทางวิญญาณ ตอ่ เมื่ออารยธรรมฮนิ ดูเขา้ มาสเู่ กาะชวาแล้วนัน้ วายังจึงได้พัฒนาเป็นศิลปะการแสดงทแี่ ทจ้ ริงไดร้ บั การปรับปรุงจน เปน็ ศิลปะชน้ั สงู มบี นั ทึกในหลักฐานทางประวตั ิศาสตรว์ า่ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 11 วายงั ปูร์วาเปน็ การแสดงที่ แพร่หลายมากโดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในราชวังต่างๆ บนเกาะชวา นอกจากนี้ วานวรรณกรรมราชสำนักสมัย คริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 ไดบ้ ันทึกเกย่ี วกับละครวายังวา่ เป็นศิลปะการแสดงที่จบั ใจและสร้างความสะเทือน ณฐั วฒุ ิ ศรีตัดสูง ครศู นู ย์การเรียนชมุ ชน กศน.อาเภอชานมุ าน

อารมณ์ได้อย่างดีเย่ียม กษัตริย์หลายพระองค์ทรงอปุ ถัมภ์คณะละครวายัง บางพระองค์โปรดใหส้ ร้างตวั หุ่นข้ึนใหม่ ทง้ั ชุดเพ่ือเก็บรักษาเปน็ สมบัติของตระกลู วงศ์ศลิ ปนิ ผูเ้ ชิดหุน่ และพากยบ์ ทบรรยายและบทเจรจาได้รบั การดแู ล อุปถัมภ์อย่างดีในฐานะศลิ ปนิ เอกประจำราชสำนกั กษตั ริย์บางพระองคท์ รงสนพระทยั ในศลิ ปะและเทคนิคการ แสดงของผูเ้ ชดิ หนงั ถงึ ขนาดฝึกและออกแสดงด้วยพระองค์เอง แมว้ า่ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ชาว มสุ ลิมเข้ามาปกครองเกาะชวาแลว้ กต็ าม แต่ความนิยมละครวายังมไิ ด้เสอ่ื มลง เพยี งแตย่ ้ายศนู ยก์ ลางความเจริญไป พร้อมกบั การเปลย่ี นทตี่ ั้งของเมืองหลวงของผู้ปกครองมสุ ลมิ และจนกระท่ังทุกวันน้ีละครวายงั ไดร้ บการยกยอ่ งวา่ เปน็ ศลิ ปะสำคัญประจำชาติของอนิ โดนเี ซยี ท่ีเก่าแก่ทีส่ ุด [ที่มา :: http://www.maesariang.com/indonesia/6.php] 2.ชิดของวายัง การแสดงเชดิ หนุ่ เงาหรอื วายงั ปูร์วาฉบบั ดั้งเดมิ ใชห้ ุ่นเชิดทที่ ำด้วยหนงั สัตว์ จึงเรียกอกี ชื่อวา่ “วายงั กู ลติ ” (Wayang Gulit) ซงึ่ หมายถึง การเชิดหนงั เพราะกูลติ แปลว่าหนังสัตว์ วายงั กลู ติ นี้เปน็ ศิลปะการแสดงที่ งดงามและวิจติ รกว่าการแสดงชนดิ อื่นทง้ั หมด การแสดงนีร้ วมศิลปะหลายด้านไว้ด้วยกัน อาทิ ด้านการประพนั ธ์ บทละครการดนตรี นาฎกรรม ศิลปกรรม ทัง้ ยงั สะท้อนความลึกซึ้งในเชิงประวตั ิศาสตร์ การศกึ ษา ปรชั ญาศาสนา ความลึกลบั และสัญลักษณ์ในการตีความหมาย [ทม่ี า :: http://www.maesariang.com/indonesia/6.php] ณฐั วฒุ ิ ศรตี ัดสงู ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน

องคป์ ระกอบสำคญั ของการแสดงวายงั กลู ติ มีดงั นี้ ตวั หนังหรือตวั หนุ่ ทใี่ ช้เชดิ สว่ นใหญ่แล้วตวั หนังวายงั กูลติ ทำจากหนังควาย ตัวหนงั ท่ีมีคุณภาพดีทส่ี ดุ ต้องทำจากหนังลูกควาย เพราะสะอาดปราศจากไขมนั จะทำใหส้ ีที่ทาติดทนดี วิธกี ารทำตัวหนังนน้ั จะต้องนําหนงั ลกู ควายมาเจียน แลว้ ฉลุเป็นรูปรา่ งและลวดลาย ใบหนา้ ของตวั หนังหนด้านข้าง ลาํ ตวั หันลักษณะเฉียง สว่ นเท้า หันด้านข้างทิศทางเดยี วกันกับใบหนา้ ของตัวหนัง ตัวหนงั มีความสูงประมาณ [ท่ีมา :: http://www.maesariang.com/indonesia/6.php] ณฐั วฒุ ิ ศรตี ัดสงู ครศู นู ยก์ ารเรียนชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน

ณฐั วฒุ ิ ศรตี ดั สงู ครศู นู ยก์ ารเรยี นชุมชน กศน.อาเภอชานมุ าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook