Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 10 เทคนิคถ่ายภาพเบื้องต้นสำหรับมือใหม่.

10 เทคนิคถ่ายภาพเบื้องต้นสำหรับมือใหม่.

Published by Piyanuch Tawnil, 2019-12-09 02:17:49

Description: 10 เทคนิคถ่ายภาพเบื้องต้นสำหรับมือใหม่.

Search

Read the Text Version

10 เทคนิคถ่ายภาพ เบือ้ งต้นสาหรับ มือใหม่

10 เทคนิคถา่ ยภาพเบอ้ื งต้นสาหรบั มือใหม่ 1. กฎสามส่วน หรอื Rule of Third ซ่ึงในตา่ งประเทศใช้ Rule of Third หมายถึงทัง้ กฎสามส่วน และ จดุ ตัดเก้าช่อง กฏนช้ี ่วยให้เราถ่ายภาพท่ีน่าสนใจ สะดุดตาได้ โดยกฎสามส่วน และจดุ ตัดเก้าช่องน้ี เปน็ พื้นฐานทย่ี งั ไงกต็ อ้ งสมั ผสั และเข้าใจใหไ้ ด้ ซง่ึ ภาพทีด่ นู า่ สนใจนน้ั ใช้การจัดองคป์ ระกอบภาพโดยใช้กฎสามส่วน และจดุ ตัดเก้าชอ่ งแทบท้งั นนั้ เลย ในการใช้ Rule of Third ให้เราจนิ ตนาการถึงเส้นสี่เสน้ แนวนอนสอง และ แนวต้งั สอง โดยทงั้ หมดน้ีจะสรา้ งเป็นตาราง 9 ชอ่ งด้วยกัน ซึ่งการจัดวางตาแหนง่ ท่เี หมาะสมน้นั ก็ตามนน้ั เลย ทีเ่ ราเรียกจุดตดั เก้าชอ่ งเพราะเราจะวางวตั ถุหรือ ส่ิงทีน่ า่ สนใจไว้ตรงจดุ ตัดนน่ั แหละ ไม่ว่าเราจะถ่ายภาพตน้ ไม้ ขอบฟา้ ถา้ เราวางจุดสนใจไว้ตรงจุดตัดก็จะทา ให้คนดเู พ่งความสนใจไปตรงนน้ั นน่ั เอง ซึ่งการใชก้ ฎสามสว่ นหรอื Rule of Third นี้ เปน็ เรื่องจาเปน็ มาก ๆ สาหรบั การเริ่มต้นถ่ายภาพใหด้ ูสมดลุ และมีความนา่ สนใจครับ 2. หลีกเล่ียงการที่ทาให้กลอ้ งส่ันไหว การทาใหเ้ กิดภาพเบลอ (ควรเข้าใจด้วยวา่ ทาไมภาพน้ีถงึ ชัด ภาพน้ีถงึ เบลอ เกดิ จากอะไร?) กล้องสัน่ หรอื เบลอ เป็นสง่ิ ท่ีคนถา่ ยรูปไมว่ า่ จะเริม่ ตน้ หรือมีประสบการณ์แล้ว ต้องเซง็ แน่ ๆ แตส่ าหรบั มือใหมน่ คี่ ือวธิ ีที่หลีกเลี่ยงเรือ่ งการส่ันไหวของกล้องหรอื เบลอได้ครบั ข้นั แรก เราก็ต้องเรียนรกู้ ารถือกลอ้ งอยา่ งถกู ต้อง (เบสกิ สุด) ใชม้ ือทงั้ สองข้างถอื กล้องไว้ ดา้ นขวาจับ ทก่ี ลอ้ งและ Grip ให้กระขับมอื ส่วนมือซ้ายประคองเลนส์ไว้ อันน้ีพนื้ ฐานหลายคนก็รูแ้ ล้วแหละ แต่กย็ งั มีอีก เร่อื งนงึ

การถ่ายภาพดว้ ยการถอื กับมือเปล่า ๆ ควรตรวจสอบว่าเราใช้ความเร็วชัตเตอรท์ เี่ หมาะสมกบั ทางยาว โฟกัสของเลนสเ์ ราไหม หากความเร็วชัตเตอร์ของเราช้าเกินไป การเคลือ่ นไหวที่เกิดขึ้นไมว่ า่ จะเป็นตวั กลอ้ งเอง หรอื มอื เรา มนั ก็จะทาใหภ้ าพออกมาเบลอ กฎง่าย ๆ ทไี่ มค่ วรลืมคอื ถา้ จะถอื ด้วยมือเปล่าอย่าใช้ความเร็วชัต เตอรท์ ตี่ ่ากว่าทางยาวโฟกสั ครับ 1 / Focal Length (in mm) = Minimum Shutter Speed (in seconds) ดงั นัน้ ถา้ เราใช้เลนส์ระยะ 100mm ความเร็วชัตเตอร์เรากไ็ มค่ วรจะตา่ กว่า 1/100 ครับ ในกรณที ี่ถือ กับมอื อะนะ เวน้ แตว่ า่ กลอ้ งจะมีระบบชดเชยกันส่ันทีด่ ี หรอื ใช้ถ่ายภาพกับขาต้งั กส็ ามารถชดเชยตรงนไี้ ด้ แต่ ในประเด็นนี้ใหเ้ ข้าใจกอ่ นวา่ ความเรว็ ชัตเตอร์ไม่ควรน้อยกวา่ ทางยาวโฟกัสครบั 3. ทาการบา้ นเรอื่ ง Exposure Triangle ความสัมพนั ธ์ของสามคา่ Shutter Speed – ISO – Apertureเพอื่ ใหภ้ าพถ่ายของเราได้คา่ แสงทโี่ อเคท่สี ุด ตรงตามความต้องการที่สดุ เราควรจะเข้าใจเรอ่ื ง ความสมั พันธข์ องคา่ แสง หรอื Exposure Triangle จะมสี ามค่าดว้ ยกนั คอื Aperture หรือ รรู บั แสง, Shutter Speed หรือ ความเร็วชัตเตอร์ และ ISO หรอื คา่ ความไวแสง นอกจากน้ีเรายังจาเปน็ ต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับความสมั พนั ธร์ ะหว่างการควบคุมท้งั สามค่านี้ เม่ือ เราปรับตวั เลอื กเหล่าน้ีสักตวั เราก็ตอ้ งเข้าใจวา่ มันจะกระทบอะไรกบั ภาพถ่ายของเรา หรือกระทบกับค่าอ่ืน ๆ ท่ีเหลอื หรอื เปล่า ดังนั้นเร่ือง Exposure Triangle เลยเป็นเรอื่ งท่สี าคัญมาก ๆ ดังนน้ั ถ้าหากว่าเราอยากจะอ่านเพมิ่ เติม เรือ่ งน้ีผมทาไว้เรยี บรอ้ ยแล้วครับ

4. ใช้ Polarize Filter หรอื ฟลิ เตอร์สาหรับตัดแสงสะทอ้ น ฟลิ เตอรส์ าหรับตัดแสงสะทอ้ นหรอื วา่ PL Filter จะทาใหภ้ าพของเราลดการสะทอ้ นจากโลหะและแกว้ ลง แล้วยงั เพมิ่ สสี นั ให้กับทอ้ งฟ้า ทาให้ภาพของ เราดมู ีสีสันและมมี ิตมิ ากข้นึ สาหรบั คนท่ีไมเ่ คยใช้ผมแนะนาลองหามาใชด้ ูครับ รบั รองว่าภาพท่ีได้ โทนสี รายละเอยี ดภาพที่เคยหายไปเพราะแสงสะท้อน จะกลบั มา และทาให้ภาพของเรามีรายละเอียดท่ีเยอะมากขน้ึ 5. ถา่ ยภาพให้เห็นความชดั ของฉากหลงั สอ่ื ถึงมิตทิ ล่ี กึ ลงไป โดยเฉพาะการถ่ายภาพวิวกับคน เม่อื เราถา่ ยภาพทวิ ทัศน์ (ภาพวิวนนั่ แหละ) เรามักจะให้รายละเอียดกับความคมชัดทง้ั ภาพ การใชเ้ ลนส์มุม กว้างสาหรับเก็บรายละเอยี ดกวา้ งมาก ๆ เขา้ ไปในภาพก็เป็นเรื่องทีเ่ หมาะเหมอื นกันทจ่ี ะให้ภาพเราเหน็ ถึง ความลึกของภาพ หรอื ถา้ เราไม่มกี ็เลอื กใช้รรู ับแสงทแ่ี คบหน่อยเพอ่ื ทีจ่ ะใหร้ ะยะชัดครอบคลมุ ท่วั ทง้ั ภาพ ถ้า หากว่าแสงเข้ากล้องน้อยเกินไป (หากถ่ายชว่ ยแสงน้อย และใช้รรู ับแสงแคบ) กค็ วรมขี าตั้งดว้ ยครบั

6. เลือกใช้พ้ืนหลงั แบบง่าย ๆ วิธีง่าย ๆ ในการถา่ ยภาพทเ่ี หมาะกบั มือใหม่คอื ต้องคดิ ก่อนว่าเราควร จะใส่อะไรเขา้ ไปในภาพ โดยท่ไี ม่ทาให้ภาพเกดิ ความสบั สนของเนอื้ หาในภาพ ถา้ เปน็ ไปได้แรก ๆ ใหเ้ ลอื กใช้พน้ื หลงั แบบธรรมดา ๆ เลย ธรรมดายังไงละ่ กค็ อื สีพืน้ หลังท่ดี เู รียบ ๆ ไมม่ รี ายละเอียดมากวนมาก เพอ่ื ช่วยใหค้ นหรือแบบในภาพเดน่ ชดั ข้นึ โดยเฉพาะดวงตา ทาให้คนดูมองไปท่ตี วั แบบแทนท่ีจะดฉู ากหลังแปลก ๆ ที่โดดเด่นแบง่ ตัวแบบน่ันเอง แลว้ ก็เป็นไอเดียทงี่ ่ายซึ่งเหมาะกับมือใหม่ที่ อาจจะจัดองค์ประกอบทีซ่ ับซ้อนยงั ไม่ถนัดนกั ครบั 7. อย่าเพ่งิ รีบใชแ้ ฟลช ให้ลองต้งั ค่าถ่ายแบบไม่ต้องใช้แฟลชกอ่ นก็ได้ แฟลชแมว้ ่าจะสามารถเปดิ รายละเอียดของส่วนมดื ได้ (ถา้ หากวา่ แสงแฟลชไปถงึ และใช้อย่างเหมาะสม) แตว่ ่าการถา่ ยภาพในการอาคาร ร่วมกบั การใชแ้ ฟลชสาหรบั มอื ใหมท่ ่ียงั ไม่เคยฝึกการใช้แฟลชอย่างจรงิ ๆ จงั ๆ แฟลชอาจจะสร้างปญั หาให้เรา ได้ ทั้งวธิ กี ารถา่ ย การเบาซ์แฟลช เปน็ ต้น แล้วทาไงล่ะ งา่ ย ๆ คอื ยงั ไม่ตอ้ งใช้ครบั

การถ่ายภาพในอาคารด้วยแสงธรรมชาติมนั ก็สวยนะ แลว้ จดั การได้งา่ ย วธิ ีการคอื แรก ๆ ให้เราใชร้ ูรับ แสงกลอ้ งท่กี ว้างที่สุดกอ่ น จากนั้นเลือกใชค้ วามเรว็ ชตั เตอรท์ ่ีสัมพันธก์ ับเลนส์ครบั แลว้ กเ็ พิ่ม ISO ให้ เหมาะสม อาจจะต้องดัน ISO บา้ งเพือ่ ใหก้ ล้องไวต่อแสงมากขึน้ แตก่ เ็ ป็นเรื่องงา่ ยที่สุดสาหรับมอื ใหม่ แค่นี้เรา กถ็ ่ายภาพได้เลยโดยทไ่ี มต่ อ้ งใชแ้ ฟลชครบั (เวน้ แตโ่ จทย์เราตอ้ งการจะใชแ้ ฟลชจริง ๆ จัง ๆ อนั นน้ั อีกเร่ืองนงึ ละ) นอกจากนีถ้ ้าหากว่ากล้องเรามีระบบกันสน่ั จะชว่ ยใหเ้ ราใช้ความเรว็ ชัตเตอรท์ ี่ต่ากวา่ ทางยาวโฟกัสไดบ้ ้าง ซง่ึ นนั่ กแ็ ล้วแต่ครับว่ากลอ้ งแต่ะละตวั ชดเชยระบบกันสัน่ ไดแ้ คไ่ หน 8. เลือกใช้ ISO ให้เหมาะสม การตัง้ ค่า ISO จะเป็นตัวกาหนดความไวแสงของกล้องให้สวา่ งหรอื มืด นอกจากนี้ยงั ส่งผลตอ่ Noise ในภาพดว้ ย ISO ทเี่ ราเลอื กจะขน้ึ อยูก๋ ับสถานการณ์ ในท่มี ืดยงั ไง ๆ เราจาเป็นตอ้ งดนั ISO แหละเพอ่ื ให้กล้องไว ต่อแสงแลว้ ไดภ้ าพสวา่ งตามตอ้ งการและหลกี เลย่ี งการเบลอได้ แต่เรากค็ วรจะดูดว้ ยว่า ISO นนั้ ส่งผลตอ่ ภาพ ด้วยนะ ย่ิง ISO เยอะ Noise ในภาพก็จะเยอะ ถา้ เราเจอที่แสงน้อยแล้วเล่ยี งไม่ได้ต้องเพิ่มมาก ๆ อันนนั้ กเ็ ปน็ เร่อื งที่ควรทาครับ แตถ่ ้าหากว่าเราถา่ ยภาพกลางแจ้ง สภาพแสงเพยี งพอ ก็ใหเ้ ราใช้ ISO ที่ต่าที่สุดกไ็ ด้ ส่วนใหญก่ ็ ISO 100 ครบั เพื่อให้เราไดค้ ุณภาพของไฟลร์ ปู ที่โอเคทีส่ ุด

9. ลองใชเ้ ทคนคิ ถ่ายภาพ Pan & Motion หากเราตอ้ งการจับภาพวัตถุท่ีเคลือ่ นไหว ให้เราลองใช้ เทคนิค Pan & Motion ดู เม่อื เราต้องการทาแบบนใ้ี ห้เราเลอื กความเรว็ ชตั เตอรท์ ต่ี า่ กว่าปกติ เช่น ถา้ เราจะ หยุดภาพคนข่ีจกั รยานดว้ ยความเร็วชัตเตอร์ 1/250 เราลองเลอื กใช้สกั 1/60 ดู จากน้ันให้กดชัตเตอร์ลง ครง่ึ นึงเพ่อื ล็อคโฟกัส จากน้นั เวลาถา่ ยใหเ้ ราแพนกลอ้ งตามวัตถุ หรือคนที่ขจี่ ักรยานนน่ั แหละ แลว้ ก็กดชัต เตอร์ จะทาใหเ้ กิดเอฟเฟกตภ์ าพ Pan & Motion ขน้ึ หากเลือกไดก้ ็ใชร้ ่วมกับขาต้องกล้อง Monopod กไ็ ดเ้ พ่ือหลีกเล่ียงการสั่นไหวของกลอ้ งครับ

10. ลองใช้ Shutter Speed ตา่ ในการถ่ายภาพบ้าง อยา่ กลัวทจ่ี ะเลน่ กบั ความเร็วชัตเตอรเ์ พอื่ ท่จี ะ ถ่ายภาพให้นา่ สนใจ เมื่อเราถ่ายภาพในเวลากลางคนื การใชข้ าตงั้ กลอ้ งและลองถา่ ยภาพโดยใช้ความเรว็ ท่ีต่า หนักสัก 4 วนิ าที เราจะเหน็ โลกทีต่ า่ งออกไป เราจะเห็นว่าวัตถุทเี่ คลือ่ นไหวจะกลายเปน็ เส้นแสงเล็ก ๆ ดูเปน็ ภาพทสี่ วยงามไดเ้ หมือนกัน ลองถ่ายภาพอืน่ ๆ รว่ มกบั การใช้เทคนิคน้ีดู ไม่ว่าจะวาดไฟ หรือวา่ ถา่ ยชงิ ช้าให้ เป็นเสน้ ๆ หลักการพวกนงี้ า่ ย ๆ แค่ใช้ความเร็วชัตเตอรต์ ่าเท่านน้ั เองครบั ถา้ ลองทาดจู ะรู้ว่าการถ่ายภาพดว้ ย Long Exposure น้นั สนกุ มาก ๆ ทม่ี า : https://www.photoschoolthailand.com/10-techniques-photography-for-beginner/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook