Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเมิน ๕ ดี พรีเมี่ยม โคกพระ

ประเมิน ๕ ดี พรีเมี่ยม โคกพระ

Published by realray2553, 2020-07-01 14:07:31

Description: ประเมิน ๕ ดี พรีเมี่ยม โคกพระ

Search

Read the Text Version

ห น้ า | ๑ ข้อมูลพนื้ ฐาน กศน.ตำบลโคกพระ ๑.๑ ชือ่ : กศน.ตำบลโคกพระ ๑.๒ สังกดั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรวชิ ัย สำนกั งานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั มหาสารคาม สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปรัชญา “การจัดการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานนอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตลอดชีวิต” วสิ ยั ทศั น์ “กศน.ตำบลโคกพระ จัดการศกึ ษาใหก้ ับผเู้ รียน มีความรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง” เอกลกั ษณ์ “สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง” อตั ลักษณ์ “พอเพยี ง” คำขวัญ ส่งเสรมิ การศกึ ษาตลอดชวี ิต พ่ึงพาเศรษฐกิจพอเพยี ง หลกี เลยี่ งยาเสพติด นำชีวติ ด้วยคุณธรรม ล้ำเลิศประชาธปิ ไตย พนั ธกจิ ๑. จัดและสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี คี ุณภาพ เพอ่ื ยกระดบั การศึกษา พัฒนาทกั ษะการเรยี นร้ขู องประชาชนทกุ กลุม่ เปา้ หมายใหเ้ หมาะสมทกุ ชว่ งวัย และพรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลง บริบททางสังคม และสร้างสังคมแหง่ การเรียนรูต้ ลอดชีวิต

ห น้ า | ๒ ๒. ส่งเสริมสนับสนนุ และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีสว่ นร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย และการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต รวมทัง้ การดำเนินกจิ กรรมของศนู ย์การเรียนและแหล่งการเรยี นรอู้ ืน่ ใน รูปแบบต่างๆ ๓. สง่ เสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพใน การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหก้ ับประชาชนอยา่ งท่วั ถงึ ๔. พัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือและนวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผล ในทุกรูปแบบให้สอดคลอ้ งกับบริบทในปัจจบุ ัน ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสิทธิภาพ เพ่ือมุ่งจดั การศกึ ษาและการเรียนร้ทู ี่มี คณุ ภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เปา้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทัง้ ประชาชนท่ัวไปได้รบั โอกาสทางการศึกษา ในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน การศกึ ษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอธั ยาศัยทมี่ ี คุณภาพ อย่างเทา่ เทยี มและทว่ั ถงึ เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการของแต่ละกลุ่มเปา้ หมาย ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นพลเมอื งอัน นำไปสู่การยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตและเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ให้ชมุ ชน เพอ่ื พัฒนาไปสู่ความมน่ั คงและยัง่ ยืน ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และส่งิ แวดลอ้ ม ๓. ประชาชนไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรแู้ ละมเี จตคติทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห์ และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั รวมทัง้ แกป้ ญั หาและพฒั นาคุณภาพชีวติ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ ๔. ประชาชนไดร้ ับการสรา้ งและสง่ เสริมใหม้ นี สิ ัยรกั การอา่ นเพอื่ การแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง- ๕. ชุมชนและภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนนิ งานการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้งั การขับเคลือ่ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชุมชน ๖. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ในการยกระดบั คณุ ภาพในการจดั การเรยี นรแู้ ละเพ่มิ โอกาสการเรยี นรูใ้ ห้กับประชาชน ๗. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นาสือ่ และการจัดกระบวนการเรียนรเู้ พือ่ แก้ปญั หาและพฒั นาคณุ ภาพ ชีวติ ทตี่ อบสนองกบั การเปลยี่ นแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ และ สิ่งแวดล้อม รวมทัง้ ตามความต้องการของประชาชน และชุมชนในรปู แบบทีห่ ลากหลาย ๘.บุคลากรของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาไดร้ ับการพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ สมรรถนะในการปฏบิ ตั ิงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมีประสิทธิภาพ ๙. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ตวั ชวี้ ดั ๑. จำนวนผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานทไ่ี ด้รบั การสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยตามสิทธทิ ่ี กำหนดไว้ ๒. จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นร/ู้ ได้รบั บริการกิจกรรมการศกึ ษา ต่อเนอื่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ที่สอดคลอ้ งกับสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ

ห น้ า | ๓ ๓. รอ้ ยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ ตาม จดุ มงุ่ หมายของหลักสูตร/กิจกรรมท่กี ำหนด ๔. จำนวนผ้รู บั บรกิ ารในพ้ืนทีเ่ ป้าหมายไดร้ บั การส่งเสริมด้านการร้หู นังสือและการพัฒนาทักษะชีวติ ๕. ร้อยละของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมท่ีสามารถอ่านออกเขียนได้และคิดเลขเป็นตามจุดมงุ่ หมายของกิจกรรม ๖. จำนวนนักเรียนนักศึกษาท่ีไดร้ บั บรกิ ารตวิ เข้มเตม็ ความรู้ ๗. ร้อยละของนักเรียน/นกั ศึกษาทมี่ ีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาทไ่ี ดร้ บั บรกิ ารติวเขม้ เต็มความรู้เพม่ิ สูงขึ้น ๘. จำนวนแหลง่ เรียนร้ใู นระดบั ตำบลท่ีมีความพร้อมในการใหบ้ ริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ๙. จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายทีเ่ ข้ารบั การฝกึ อาชีพ เหน็ ช่องทางในการประกอบอาชพี ๑๐. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายทล่ี งทะเบียนเรยี นทีม่ รี ายไดเ้ พิ่มขึน้ จากการพัฒนาอาชีพตาม โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ๑๑. จำนวนรายการโทรทัศน์/ CD/แอพพลเิ คช่ัน ในการให้ความร้ดู ้านการเกษตร ๑๒. จำนวนประชาชนทีไ่ ดร้ ับการอบรมให้มีความรู้ ในอาชีพการเกษตรท่เี หมาะสมกับสภาพบริบท และ ความตอ้ งการของพนื้ ที่/ชุมชน ๑๓. จำนวนทำเนียบศูนย์เรียนรเู้ กษตรพอเพยี งของตำบล และจำนวนกลุ่มเกษตรชุมชนดเี ด่น ๑๔. จำนวนประชาชนไดร้ บั การอบรมตามหลกั สูตรภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สารดา้ นอาชพี (ระยะสน้ั ) สำหรับประชาชนในศนู ยอ์ าเซียนศึกษา กศน. ๑๕. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายทผี่ ่านการอบรมตามหลกั สูตรภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้าน อาชพี (ระยะสัน้ ) มีความรู้ในการสอื่ สารภาษาอังกฤษ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชีวติ ได้ ๑๖. จำนวนครู กศน. ตน้ แบบการสอนเพื่อการสอื่ สารภาษาอังกฤษสามารถเป็นวทิ ยากรแกนนำได้ ๑๗. รอ้ ยละของครู กศน. ทัว่ ประเทศ สามารถจดั กระบวนการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสารไดอ้ ยา่ ง สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของผู้เรียน ๑๘. มกี ารพัฒนาอปุ กรณ์การผลติ และการเผยแพร่ข่าวโทรทศั นเ์ พื่อการศกึ ษาสำหรบั ศนู ยข์ า่ วโทรทัศน์ เพอ่ื การศึกษา ๑ ระบบ ๑๙. จำนวนบุคลากรที่เกย่ี วข้องกับการผลิตรายการโทรทัศน์ได้รบั การอบรมใหม้ ีความรู้และทักษะในการ ปฏบิ ัติงานเพื่อรองรบั การปฏิบัตงิ านในสถานีวิทยุโทรทัศน์ระบบดิจทิ ัล ๒๐. ร้อยละของตำบล/แขวง มีปริมาณขยะลดลง ๒๑. รอ้ ยละของผเู้ ข้ารบั การอบรมหลักสตู รการดูแลผู้สูงอายกุ ระทรวงศกึ ษาธิการผ่านเกณฑ์การอบรม ตามหลกั สตู รทก่ี ำหนด ๒๒. ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใตไ้ ด้รับการ พฒั นาศกั ยภาพ ทักษะอาชีพ สามารถมีงานทำหรอื นำไปประกอบอาชพี ได้ ๒๓. จำนวนผูผ้ ่านการอบรมตามหลกั สูตรทก่ี ำหนดของโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชมุ ชนระดับตำบล ๒๔. รอ้ ยละการอ่านของคนไทยเพ่ิมข้ึน

ห น้ า | ๔ ๒๕. จำนวนองค์กรภาคส่วนตา่ ง ๆ ทงั้ ในและตา่ งประเทศ ท่ีรว่ มเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒๖. จำนวนนกั เรยี น นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไปท่ีเขา้ ถงึ บริการการเรยี นรทู้ างด้านวทิ ยาศาสตรใ์ น รปู แบบต่าง ๆ ๒๗. จำนวน/ประเภทของสอ่ื ทีม่ กี ารจัดทำ/พัฒนาและนำไปใช้เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผูเ้ รียน/ ผู้รับบริการการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๒๘. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่วั ไปทเ่ี ข้าถึงบรกิ ารความรนู้ อกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยผา่ นชอ่ งทางสื่อเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร ๒๙. จำนวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศกึ ษาได้รับการพัฒนาเพือ่ เพ่มิ สมรรถนะในการปฏบิ ัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๓๐. รอ้ ยละของสถานศึกษาในสงั กัดทม่ี ีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจดั ทำรายงานการประเมินตนเอง ๓๑. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศกึ ษา กศน. ที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทำฐานขอ้ มูล ชมุ ชนและการบริหารจัดการ เพือ่ สนบั สนุนการดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยของ องคก์ าร ๓๒. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ท่ีสามารถดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาท ภารกิจท่ีรับผดิ ชอบไดส้ ำเร็จตามเปา้ หมายทกี่ ำหนดไวอ้ ยา่ งโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรัพยากรอยา่ งคมุ้ คา่ /ตาม แผนทก่ี ำหนดไว้ ๓๓. ร้อยละของคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสของการดำเนินงานของหนว่ ยงาน ๓๔. ร้อยละท่ีเพมิ่ ข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรยี น ( N-NET ) ๓๕. จำนวนระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศกึ ษาของประเทศทไ่ี ด้รับการพฒั นาใหท้ ันสมัยและเป็นปัจจุบนั ๓๖. ร้อยละของกำลงั แรงงานที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรอื เทียบเท่า ไดร้ ับการศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า บทบาทหน้าทีภ่ ารกจิ กศน.ตำบล 1. จัดกระบวนการเรยี นรู้ที่ตอบสนองกบั การเปล่ียนแปลงและความตอ้ งการของประชาชนชุมชนและสงั คม ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ใหป้ ระชาชนคดิ เป็น วเิ คราะหไ์ ด้ ตดั สนิ ใจภายใต้ฐานขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง เชน่ ความรเู้ รือ่ งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ /การเลอื กตัง้ แนวทางและทศิ ทางการพฒั นา ประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ของรฐั บาล โดยประสานความรว่ มมอื กบั กระทรวงต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ร่วมจัดทาเนอ้ื หาและส่อื ประกอบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ รวมทง้ั ให้มกี ารจดั ทาแผนการเรยี นรรู้ ายชมุ ชน เพ่อื พฒั นาสูช่ มุ ชน/เมอื งแหง่ การเรียนรู้ 2. ส่งเสรมิ ให้มีการจัดการเรยี นการสอนแบบ “สะเต็มศกึ ษา” (STEM education) โดย การบรู ณาการความรู้ด้าน คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวติ สู่การประกอบอาชพี ประยกุ ตใ์ ช้ในการทางาน และเป็นแนวทางของการสรา้ งแรงงานทม่ี ศี กั ยภาพไดใ้ นอนาคต ๓. จดั การศกึ ษาเพอ่ื เพ่ิมอัตราการการรู้หนังสอื ให้คนไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้

ห น้ า | ๕ ๑.๓ ประวตั ิความเป็นมา กศน.ตำบลโคกพระ ตง้ั อยู่ท่ี 170 หมทู่ ่ี 10 ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ัย จงั หวดั มหาสารคาม ๔๔๑๕๐ ละตจิ ดู 16.33579 ลองตจิ ดู 103.323814 web Site http://202.143.138.179/tumbol/440401 Fanpage http:///www.facebook.com/itd.nfe โดยมี นายนคร ช่างยันต์ ครู กศน.ตำบล และ นางสาวปณิตา สรอ้ ยคำ ครปู ระจำศนู ย์การเรียนชุมชน จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ี กศน.ตำบลโคกพระ มีพน้ื ที่ 3 งาน เดิม กศน.ตำบลโคกพระ ตั้งอยู่ที่องค์การบริหารส่วนตำบลโคกพระ หมู่ท่ี ๑๕ บ้านคอกม้า อำเภอ กันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เป็นอาคารเอนกประสงค์ ต้ังอยู่ภายในองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ ๑๕ โดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรวิชัยได้ทำหนังสือขออนุญาตใช้เป็น ศรช. บ้านคอกม้า ต้ังแต่ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๔๕ เพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักศึกษา กศน.ในพ้ืนท่ีตำบลโคกพระ พร้อมท้ังเป็นสถานท่ีในการให้บริการส่ือสิ่งพิมพ์ต่างๆ แก่ประชาชนตำบลโคกพระ โดยตัง้ อยูใ่ นบรเิ วณองคก์ ารบริหารส่วนตำบลโคกพระ ปจั จบุ ันได้รบั งบประมาณในการก่อสร้าง กศน.ตำบลโคกพระ ตงั้ อยู่เลขที่ ๑๗๐ หมู่ ๑๐ บ้านเหล่า ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ัย จงั หวดั มหาสารคาม มีระยะทางหา่ งจาก ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรวชิ ยั ๓ กโิ ลเมตร ๑.๔ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ตำบลโคกพระ ต้ังอยูบ่ นท่เี นนิ ทราย ทเี่ รยี กวา่ โคกพระ ทศิ ใตแ้ ละทิศตะวันตกเป็นพื้นท่ีตั้งอยบู่ นเนินสูง ทม่ี คี วามลาดชัน ส่วนทิศเหนอื และทิศตะวันออกเป็นที่ราบมหี นองนำ้ และมคี ลองนำ้ ธรรมชาติไหลผ่าน - ทิศเหนอื ติดกับ ตำบลหนองอเี ฒา่ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ - ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั ตำบลขามเฒ่าพฒั นา อำเภอกันทรวิชัย จงั หวัดมหาสารคาม - ทศิ ใต้ ติดกับ ตำบลคนั ธารราษฎร์ อำเภอกนั ทรวิชยั จงั หวัดมหาสารคาม - ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กับ ตำบลศรีสขุ อำเภอกนั ทรวชิ ยั จงั หวัดมหาสารคาม ๑.๕ ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ตำบลโคกพระ มลี กั ษณะอากาศแบบมรสุมเมอื งร้อน (Topical Mosoon Climate) ในช่วงฤดูร้อนจะมี อากาศรอ้ นอบอา้ ว ในช่วงมรสุมฤดรู ้อนจะได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พดั มาจากมหาสมุทรอินเดีย ทำให้เกดิ ฝนตก ซ่งึ ปริมาณนำ้ ฝนค่อนข้างต่ำ เฉลีย่ ๑๑๔.๖๒ ม.ม./ปี ฝนตกชุกชว่ งเดือนกรกฎาคม ถงึ เดอื นกันยายนของ ทุกปี จำนวนหมบู่ า้ น มีทงั้ หมด ๑๕ หมบู่ า้ น - หม่ทู ี่ ๑ บ้านโคกพระ - หมทู่ ี่ ๒ บา้ นโคกพระ - หมทู่ ่ี ๓ บา้ นขนมจนี - หมทู่ ี่ ๔ บ้านหนองแวง

ห น้ า | ๖ - หมู่ที่ ๕ บ้านลุมพกุ - หมูท่ ่ี ๖ บา้ นโนนคอ้ - หมทู่ ่ี ๗ บ้านหนองไร่ - หมู่ท่ี ๘ บา้ นคอกม้า - หมทู่ ี่ ๙ บา้ นเหลา่ - หม่ทู ่ี ๑๐ บา้ นเหล่า - หมู่ที่ ๑๑ บา้ นสมศรี - หมูท่ ่ี ๑๒ บา้ นหนองโก - หมู่ที่ ๑๓ บา้ นเหลา่ - หมู่ที่ ๑๔ บ้านโนนค้อพฒั นา - หมทู่ ่ี ๑๕ บา้ นคอกมา้ ๒. สภาพทางสงั คม ๔ แห่ง ๒ แห่ง ๒.๑ การศกึ ษา ๑ แหง่ - ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ๒ แหง่ - โรงเรียนประถมศกึ ษา ๑ แห่ง - โรงเรียนมัธยมศกึ ษา ๑ แห่ง - โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา ๑๐ แหง่ - กศน.ตำบล ๕ แหง่ - ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน - บ้านหนงั สอื ชมุ ชน ๑๑ แหง่ - ทอ่ี า่ นหนังสือประจำหมู่บ้าน ๑ แห่ง ๒.๒ สถาบนั และองคก์ ารศาสนา ๑ แห่ง - วดั /สำนกั สงฆ์ ๓ แหง่ ๓ แหง่ ๒.๓ การสาธารณสขุ - โรงพยาบาล ๑ แห่ง - โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล - คลนิ ิก - รา้ นขายยาปัจจบุ นั ๒.๔ ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ - สถานีตำรวจ ๓. การเมอื งการปกครอง ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ยั จงั หวดั มหาสารคาม มเี ขตพนื้ ท่ีการปกครองครอบคลุมท้งั หมด ๑๕ หมู่บ้าน

ห น้ า | ๗ ตารางที่ ๒ รายชื่อผู้นำชุมชน/กำนัน/ผ้ใู หญ่บา้ น/สารวตั รกำนัน/แพทย์ประจำตำบล เขตพ้นื ท่ี ตำบลโคกพระ ลำดับท่ี ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง่ ๑ นายประพันธ์ ตั้งปรชั ญากูล ผ้ใู หญ่บา้ น หมู่ท่ี ๑ ๒ นายปรญิ ญา ทวะชาลี ผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ี่ ๒ ๓ นางสมดี เหล่าเคน ผใู้ หญ่บ้าน หมู่ที่ ๓ ๔ นายสายลม โกษาเฉลยี ง ผ้ใู หญ่บา้ น หมทู่ ่ี ๔ ๕ นางพวงพยอม เยีย่ มยอด กำนันตำบลโคกพระ/ผู้ใหญบ่ ้าน หมทู่ ่ี ๕ ๖ นายธนภัทร อนั ทะปัญญา ผู้ใหญบ่ ้าน หมทู่ ่ี ๖ ๗ นายนิพนธ์ อนั ทะปญั ญา ผู้ใหญบ่ ้าน หมทู่ ี่ ๗ ๘ นายนิรันดร์ เอยี่ มศรี ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ที่ ๘ ๙ นายองอาจ สงิ ห์สธุ รรม ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี ๙ ๑๐ นายนพพร ภผู านี ผูใ้ หญ่บา้ น หมทู่ ่ี ๑๐ ๑๑ นายสำเนยี ง เหล่าพร ผใู้ หญบ่ า้ น หมทู่ ี่ ๑๑ ๑๒ นายมุกขช์ ัย ภกู าบิน ผใู้ หญ่บ้าน หมทู่ ี่ ๑๒ ๑๓ นางศิรกิ ิจ เหล่าสมบัติ ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ที่ ๑๓ ๑๔ นายพีระพงษ์ ศรบี ุรมั ย์ ผใู้ หญบ่ า้ น หมู่ที่ ๑๔ ๑๕ นายประยทุ ธ บตุ รศรี ผู้ใหญ่บา้ น หมทู่ ี่ ๑๕ ๑๖ นายอุดม พลเดช ๑๗ นายสมชาย เศษทอง สารวัตรกำนัน ๑๘ นางแพรรตั น์ ทวะชารี สารวัตรกำนัน แพทย์ประจำตำบล ๔. การคมนาคมขนสง่ ๔.๑ ถนนในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง จำนวน ๑ สาย - สภาพถนน ลาดยาง จำนวน ๑ สาย ระยะทาง ๒.๒๗๐ กม. ๔.๒ ถนนในความรบั ผิดชอบของ อบจ. จำนวน ๓ สาย - สภาพถนน ลาดยาง จำนวน ๒ สาย ระยะทาง ๖.๔๐๐ กม. - สภาพถนน ลูกรัง จำนวน ๑ สาย ระยะทาง ๑.๑๓๐ กม. ๔.๓ ถนนในความรบั ผิดชอบของทางหลวงชนบท จำนวน ๑ สาย - สภาพถนน ลาดยาง จำนวน ๑ สาย ระยะทาง ๑ กม. ๔.๔ ถนนในความรับผิดชอบของตำบลโคกพระ จำนวน ๕๗ สาย - สภาพถนน คอนกรีต จำนวน ๔๒ สาย ระยะทาง ๔๓.๑๐๓ กม.

ห น้ า | ๘ - สภาพถนน ลาดยาง จำนวน ๔ สาย ระยะทาง ๕.๙๙๖ กม. - สภาพถนน ลูกรัง จำนวน ๙ สาย ระยะทาง ๑๗.๔๘๔ กม. - สภาพถนน ดนิ จำนวน ๒ สาย ระยะทาง ๖.๙๕๙ กม. ๕. การโทรคมนาคม ๑ แหง่ ๔๕ เครื่อง - ที่ทำการไปรษณีย์ - โทรศัพท์สาธารณะ ๖. การไฟฟ้า - ไฟฟา้ เข้าถึงทุกหมบู่ ้าน (๑๕ หม่บู า้ น) - จำนวนประชากรที่ใชไ้ ฟฟ้าครบทกุ ครัวเรือน (๒,๕๐๕) หรอื คดิ เปน็ ๑๐๐ % ๗. แหล่งน้ำ ๗.๑ แหลง่ น้ำธรรมชาติ - หนองนำ้ ๙ แห่ง - อ่างเกบ็ นำ้ ๑ แหง่ - คลองชลประทาน/คลองส่งนำ้ ๑ แหง่ - หว้ ย ๑ แหง่ ๗.๒ แหล่งนำ้ ที่สร้างข้ึน - บ่อบาดาล บ่อตอก บอ่ เจา ๒๑ แห่ง - สระนำ้ (ขนาด ๑๐๐ ตร.ว.ขึ้นไป) ๑๓ แห่ง ๘. ข้อมูลอื่นๆ จำนวน ๑๕ กลมุ่ จำนวน ๑ กลุม่ ๑) มวลชนจัดตง้ั จำนวน ๑ กลุ่ม จำนวน ๑ กล่มุ - ประชาคมหมู่บ้าน จำนวน ๑๕ กลุ่ม - ประชาคมตำบล จำนวน ๑๕ กลุ่ม - ลูกเสือชาวบ้าน จำนวน ๑๕ กลมุ่ - กลมุ่ อปพร. จำนวน ๑๕ กลุม่ - กลุ่มออมทรพั ย์ จำนวน ๑๕ กลุ่ม - กลมุ่ กองทุนเงนิ ล้าน จำนวน ๑ กลมุ่ - กลมุ่ ฌาปนกจิ จำนวน ๑ กลมุ่ - กลมุ่ กองทุนหมู่บ้าน - กลมุ่ สตรแี มบ่ ้าน - กลมุ่ ทอเส่อื กก - กลมุ่ สานกระตบิ ขา้ วจากไมไ้ ผ่

ห น้ า | ๙ - กลุม่ เพาะเห็ด จำนวน ๒ กลุ่ม - กลุ่มปยุ๋ ชีวภาพ จำนวน ๑ กลมุ่ - กลมุ่ เงนิ สจั จะ จำนวน ๑๕ กลมุ่ - กลุ่มปลกู ผกั ปลอดสารพิษ จำนวน ๑ กลมุ่ - กลมุ่ การทำขนมจนี จำนวน ๑ กลุ่ม ๙. ขอ้ มลู ทีต่ งั้ กศน.ตำบลโคกพระ และศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนบา้ นโนนคอ้ - กศน.ตำบลโคกพระ ต้งั อยเู่ ลขท่ี ๑๗๐ หมทู่ ่ี ๑๐ บ้านเหล่า ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวิชยั จงั หวัดมหาสารคาม รหัสไปรษณีย์ ๔๔๑๕๐ - ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบา้ นโนนคอ้ ตั้งอยหู่ มูท่ ่ี ๑๔ บา้ นโนนคอ้ ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ยั จังหวดั มหาสารคาม รหัสไปรษณีย์ ๔๔๑๕๐ แผนทแี่ สดง : ทีต่ ั้ง ตำบลโคกพระ ๑๐. สภาพทางสงั คม - ประชากร ประชากรทงั้ สิ้น ๘,๗๒๑ คน แยกเปน็ ชาย ๔,๒๑๒ คน หญงิ ๔,๕๐๙ คน จำนวน ๒,๕๐๕ ครัวเรือน มีความหนาแน่นเฉล่ยี ๙๓.๖๘ คน/ตารางกิโลเมตร ตารางท่ี ๑ ประชากรเขตพนื้ ทีต่ ำบลโคกพระ อำเภอกันทรวิชยั จังหวดั มหาสารคาม หมู่บา้ น ครวั เรอื น ชาย หญงิ รวม หมู่ที่ ๑ หม่ทู ่ี ๒ ๓๔๖ ๒๓๑ ๒๘๔ ๕๑๕ หมทู่ ี่ ๓ หมทู่ ่ี ๔ ๓๘๙ ๕๖๒ ๖๗๕ ๑,๒๓๗ หมูท่ ี่ ๕ หมทู่ ่ี ๖ ๒๒๔ ๓๖๓ ๓๘๔ ๗๔๗ หมู่ที่ ๗ หมทู่ ี่ ๘ ๓๓๗ ๕๖๐ ๕๕๗ ๑,๑๑๗ หมู่ที่ ๙ ๑๒๗ ๒๗๒ ๒๕๒ ๕๒๔ ๑๐๓ ๒๑๗ ๑๙๓ ๔๑๐ ๘๐ ๑๗๙ ๑๘๔ ๓๖๓ ๗๖ ๑๕๕ ๑๗๐ ๓๒๕ ๑๔๒ ๒๕๕ ๒๖๕ ๕๒๐

ห น้ า | ๑๐ หมทู่ ่ี ๑๐ ๑๕๗ ๒๘๒ ๓๔๑ ๖๒๓ หมบู่ า้ น รวม หมทู่ ี่ ๑๑ ครวั เรอื น ชาย หญงิ ๕๒๕ หมู่ที่ ๑๒ ๓๐๔ หมูท่ ี่ ๑๓ ๑๓๐ ๒๕๒ ๒๗๓ ๔๔๖ หมู่ที่ ๑๔ ๕๐๓ หมทู่ ่ี ๑๕ ๖๑ ๑๕๖ ๑๔๘ ๕๖๒ รวม ๘,๗๒๑ ๙๗ ๒๐๕ ๒๔๑ ๑๐๔ ๒๕๑ ๒๕๒ ๑๓๒ ๒๗๒ ๒๙๐ ๒,๕๐๕ ๔,๒๑๒ ๔,๕๐๙ ๑๑. สภาพทางเศรษฐกิจ ๑๑.๑ อาชพี ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี ทางดา้ นการเกษตรซึ่งอาศัยนำ้ ฝนตามธรรมชาติ มบี างหมู่บ้านท่ีมี ระบบชลประทาน นอกจากนย้ี ังประกอบอาชีพคา้ ขาย รบั ราชการ และรบั จ้าง แบ่งเปน็ ดังน้ี - เกษตรกรรม (ทำนา) ๗๙ % - ค้าขาย ๕% - รบั ราชการ ๑๖ % ๑๑.๒ การพาณิชย์ - ธนาคาร จำนวน ๒ แห่ง - สถานีบรกิ ารน้ำมัน จำนวน ๑ แหง่ - บรษิ ทั จำนวน ๔ แห่ง - ห้างห้นุ สว่ นจำกดั จำนวน ๑ แห่ง - ตลาดสด จำนวน ๑ แหง่ - โรงฆา่ สัตว์ จำนวน ๑ แหง่ - ร้านค้าตา่ ง ๆ จำนวน ๖๕ แห่ง - โรงพิมพ์ จำนวน ๓ แหง่ ๑๑.๓ สถานบรกิ าร - ร้านอาหาร จำนวน ๑๖ แหง่ - ร้านเสรมิ สวย จำนวน ๑๘ แหง่ ๑๑.๔ หนว่ ยทเ่ี ขา้ รว่ มสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และภาคีเครอื ขา่ ย ท่ี ชอ่ื ภาคเี ครอื ขา่ ย ที่ตงั้ /ทอ่ี ยู่ ๑ เทศบาลตำบลโคกพระ ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ัย ๒ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโคกพระ ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ัย ๓ โรงเรยี นกนั ทรวชิ ยั ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวชิ ยั

ห น้ า | ๑๑ ๔ สถานตี ำรวจภธู รอำเภอกันทรวิชยั ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวิชยั ๕ สำนกั งานเกษตรอำเภอกนั ทรวชิ ัย ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวิชยั ๖ สำนกั งานพัฒนาชมุ ชน ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวิชัย ๗ สาธารณสุขอำเภอกนั ทรวชิ ัย ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวชิ ยั ๘ โรงพยาบาลอำเภอกันทรวชิ ยั ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวชิ ัย ๙ ทวี่ า่ การอำเภอกนั ทรวิชยั ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวิชยั ท่ี ช่ือภาคีเครอื ขา่ ย ๑๐ ปศสุ ตั วอ์ ำเภอกันทรวิชัย ท่ตี ง้ั /ทอี่ ยู่ ๑๑ โรงเรียนบา้ นเหล่า ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวิชัย ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวชิ ัย ทำเนยี บบคุ ลากร กศน.ตำบลโคกพระ/ศรช.บา้ นโนนคอ้ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ท่ี ชอื่ -สกลุ ตำแหน่ง ๑ นายสรุ ชัย จันทรแ์ ดง ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ๒ นางสาวศศกรณ์ บนั ทปุ า ๓ นายสิทธศิ กั ด์ิ นามแสงผา ครู ๔ น.ส.วไิ ลวรรณ อรรคเศรษฐงั ครูอาสาสมัครฯ ๕ นายนคร ช่างยันต์ ครอู าสาสมคั รฯ ๖ นางสาวปณติ า สรอ้ ยคำ ครู กศน. ตำบล ครู ศรช.หมู่บ้าน หมายเหตุ ๑. ข้าราชการ จำนวน ๒ คน ๒. พนกั งานราชการ จำนวน ๒ คน ๓. ครู กศน. ตำบล จำนวน ๑ คน ๔. ครศู ูนยก์ ารเรยี นชุมชน จำนวน ๑ คน รวมทั้งสิน้ ๖ คน

ห น้ า | ๑๒ ทำเนยี บบุคลากร กศน.ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ยั จังหวัดมหาสารคาม นายคมสัน สารแสน ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกนั ทรวชิ ยั นางสาวศศกรณ์ บันทุปา ครู นางสาววไิ ลวรรณ อรรคเศรษฐงั นายสิทธิศักดิ์ นามแสงผา ครูอาสาสมัคร ฯ ครอู าสาสมัคร นายนคร ชา่ งยนั ต์ ครู กศน.ตำบลโคกพระ

ห น้ า | ๑๓ นางสาวปณิตา สร้อยคำ ครู ศรช.บ้านโนนคอ้ บุคลากรใน กศน.ตำบล ตำแหนง่ วฒุ ิการศกึ ษา วิชาเอก ท่ี ชอ่ื -สกุล ปริญญาโท บริหารการศกึ ษา 1 นายสุรชยั จันทรแ์ ดง ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอกันทรวชิ ยั ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา 2 นางสาวศศกรณ์ บันทปุ า 3 นายสทิ ธิศกั ด์ิ นามแสงผา ครู ครุศาสตรบณั ฑิต (คบ.) สงั คมศกึ ษา 4 น.ส.วิไลวรรณ อรรคเศรษฐัง 5 นายนคร ชา่ งยนั ต์ ครอู าสาสมคั รฯ ครศุ าสตรบณั ฑิต ( คบ. ) สังคมศึกษา 6 นางสาวปณิตา สร้อยคำ ครอู าสาสมัครฯ วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต การฝกึ และการ ( วท.บ. ) จัดการกฬี า ครู กศน. ตำบล วทิ ยาศาสตร์บณั ฑิต เคมี ครู ศรช.หมู่บ้าน (วท.บ) ทำเนยี บคณะกรรมการ กศน. ตำบลโคกพระ บทบาท รูปถ่าย ชื่อ – สกุล นางพวงพะยอม เย่ยี มยอด ประธาน นายนพพร ภูผานี รองประธาน

นายแสวงชัย ภแู บ่งไม้ ห น้ า | ๑๔ กรรมการ รปู ถา่ ย ชอ่ื – สกุล บทบาท นางสาวจันดี ภจู วง กรรมการ กรรมการ นายธนภทั ร อณั ฑะปัญญา กรรมการ นาสายลม โกษาเฉวียง กรรมการ นางสกาวรนั ต์ บัวบาน กรรมการ นางไพจิตร คำภริ มย์

นางพิมลออ เสนาจกั ร ห น้ า | ๑๕ กรรมการ นายนคร ชา่ งยนั ต์ กรรมการ รปู ถา่ ย ช่อื – สกุล บทบาท นางสาวปณติ า สรอ้ ยคำ กรรมการและเลขานุการ อาสาสมคั รส่งเสริมการอ่าน ช่ือ – สกุล บทบาท รปู ถา่ ย นางสาวเขมฐากร ภูถมดี ครูชมุ ชน ครชู มุ ชน นางไพรชติ รอดทา้ ว ครูชมุ ชน ครชู ุมชน นางสาคร ภูลน้ แกว้ ครชู ุมชน ครูชุมชน นางวันเพญ็ กาพา ครชู ุมชน ครชู ุมชน นายสมหมาย บัวคำ ครชู ุมชน ครชู ุมชน นายประยทุ ธ ภบู ัวบาง นายเย่ยี ม เหล่าขัตยิ ะ นายบญุ สงค์ แสนพันธ์ นางสำลี โพธเ์ิ หลอื ง นางบญุ ศรี ภผู านี

ห น้ า | ๑๖ นายแสวงชยั ภแู บง่ ไม้ ครูชมุ ชน นางสมบูรณ์ ไชยทบั ครชู ุมชน นายมลฑล มาโลนี ครชู ุมชน นางประมวล สุวรรณ ครูชุมชน องค์กรนักศึกษา ตาแหน่ง ประธาน ท่ี ชื่อ – สกุล รองประธาน 1 นายบุญสงค์ แสนพนั ธ์ กรรมการ 2 นายไสว เหลา่ ขตั ิยะ กรรมการ 3 นายแสวงชัย ภูแบง่ ไม้ กรรมการ 4 นายสมหมาย บวั คา กรรมการ 5 นางสาลี โพธ์เหลอื ง กรรมการ ๖ นางสวรรณา อุทยั ดา กรรมการ ๗ นางสาวกุลธิดา ภสู มมา กรรมการและเลขานกุ าร 8 นายเสถียร สหไชย 9 นายประยรู เพม่ิ มิตร

ห น้ า | ๑๗ จดุ เน้นการดำเนินงาน กศน. ตามยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ ๖ ยทุ ธศาสตร์ ๑. พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน และการวดั ผลประเมินผล จุดเน้นการดำเนินงาน ๑.๑ จดั กระบวนการเรยี นรู้ทีต่ อบสนองกบั การเปลี่ยนแปลงและความต้องการของประชาชน ชมุ ชนและสงั คม ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย ใหป้ ระชาชนคดิ เปน็ วิเคราะหไ์ ด้ ตัดสนิ ใจภายใต้ฐานข้อมลู ทถี่ กู ตอ้ ง เชน่ ความรเู้ รอ่ื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข/การเลือกต้ัง แนวทางและ ทิศทางการพฒั นาประเทศดา้ นตา่ ง ๆ ของรฐั บาล โดยประสานความรว่ มมือกับกระทรวงตา่ ง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง รว่ มจดั ทาเนื้อหาและสอ่ื ประกอบการจดั กระบวนการเรียนรู้ รวมท้ังใหม้ ีการจดั ทาแผนการเรียนรู้รายชมุ ชน เพ่อื พฒั นาสู่ ชุมชน/เมืองแหง่ การเรียนรู้ ๑.๒ ส่งเสรมิ ให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศกึ ษา” (STEM education) โดย การบูรณาการความร้ดู า้ น คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่อื พัฒนาทกั ษะชีวติ ส่กู ารประกอบอาชีพ ประยกุ ต์ใช้ในการทางาน และเปน็ แนวทางของการสรา้ งแรงงานทีม่ ีศักยภาพได้ในอนาคต ๑.๓ จดั การศกึ ษาเพื่อเพ่มิ อตั ราการการรหู้ นงั สือใหค้ นไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้ โดยใช้ หลกั สูตรการรูห้ นังสอื ของคนไทยของสำนักงาน กศน. และสอ่ื ที่เหมาะสมกบั สภาพและพน้ื ทีข่ องกลุ่มเป้าหมาย ๒. การผลติ พัฒนา ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จดุ เน้นการดำเนินงาน ๒.๑ จัดทำแผนพฒั นาอัตรากำลงั ล่วงหน้าระยะ ๑๐ ปี เพือ่ ใช้เป็นขอ้ มูลสำหรับการขอกรอบ อตั รากำลงั เพม่ิ เติมให้เพียงพอต่อขอบขา่ ยการดำเนนิ งานของ กศน. ๒.๒ เร่งพฒั นาศักยภาพครู กศน. ทุกประเภท เพ่ือให้สามารถเปน็ ท้งั ผ้สู อนและผู้ออกแบบ การเรยี นรูร้ ายบคุ คล และจดั กิจกรรมการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และจัดทาแผนพัฒนาครู กศน. ทกุ ประเภทและทกุ ระดบั ช่วงระยะ ๑๐ ปี เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครู กศน. ใหไ้ ด้เกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ๒.๓ สำรวจขอ้ มลู และทบทวนหลกั เกณฑ์การจ้างลกู จ้างแบบจ้างเหมาบรกิ าร และพนกั งาน ราชการใหต้ รงตามความต้องการของพ้นื ท่ี ๓. ผลติ และพฒั นากำลงั คน รวมท้ังงานวจิ ัยท่ีสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของการพัฒนาประเทศ จุดเน้นการดำเนินงาน ๓.๑ ยกระดับการศกึ ษาใหก้ ับกลมุ่ พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั ให้จบการศกึ ษาภาคบงั คับ อยา่ งมีคุณภาพ โดยเนน้ การเรียนรูปแบบโปรแกรมเรยี นรรู้ ายบุคคล

ห น้ า | ๑๘ ๓.๒ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้สอดคลอ้ งและรองรบั กบั ความ ต้องการของการพฒั นาตามบริบทของแตล่ ะพน้ื ทใ่ี นเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ โดยม่งุ เน้นผลติ กำลังคนให้ สอดคล้องกับความต้องการของพน้ื ที่ พร้อมท้ังสร้างทกั ษะทางวชิ าชีพ โดยเนน้ ด้านการบรหิ ารและการ ประกอบการ เพื่อใหป้ ระชาชนในพ้ืนท่ไี ดร้ ับการพฒั นาศักยภาพในแนวทางทด่ี ีขึ้น ๔. ขยายโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวิต จุดเน้นการดำเนนิ งาน ๔.๑ เร่งบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ โดยประสานขอ้ มูลโรงเรียนขนาดเลก็ จากสำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (สพฐ.) และประสานหนว่ ยงานในพืน้ ทเี่ พ่ือสำรวจความต้องการในการจัดการ โรงเรยี นขนาดเล็กเพือ่ ทาเปน็ กศน. ตำบล หรอื แหลง่ การเรียนรูข้ องชุมชน ๔.๒ จัดและส่งเสรมิ ความรว่ มมือหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ให้กบั กลมุ่ เป้าหมายเด็กออกกลางคัน/เด็กตกหล่น และกลมุ่ คนพิการ ๔.๓ เร่งสำรวจข้อมลู การรูห้ นงั สอื ของคนไทย โดยใหค้ วามสำคัญกบั กลุ่มเปา้ หมาย นักศึกษา กศน. ๔.๔ พัฒนา กศน.ตำบล/แขวง ใหเ้ ปน็ ฐานการขับเคล่ือนการจดั การศกึ ษา โดยเนน้ การ ประสานเชือ่ มโยงระหวา่ งชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ยในการจดั การศึกษารปู แบบ กศน.ตำบล ๔ ศูนย์ ไดแ้ ก่ (๑) ศูนยเ์ รยี นรูห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำตำบล (๒) ศูนยส์ ่งเสรมิ พัฒนาประชาธิปไตยตำบล (๓) ศนู ย์ดิจิทัลชมุ ชน (๔) ศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตชมุ ชน เพอ่ื สนองตอบต่อความตอ้ งการของประชาชน อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั สร้างและกระจายโอกาสในการเรียนร้ตู ลอดชีวติ ในชุมชน ๔.๕ จดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทกุ ชว่ งวยั “กศน. ช่วยประชาชน” เชน่ จัดการเรียนวิชาชพี ระยะสนั้ (โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน) ใหก้ ับประชาชนที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ ตลาดแรงงาน บริบทของพน้ื ที่ จดั การศกึ ษาเพื่อเสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวิตใหก้ ับกลุ่มผู้สงู อายุ และการพฒั นาทักษะ ชีวิต ในการเตรียมความพร้อมรบั มอื กบั การเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และการ เขา้ สู่สังคมเศรษฐกจิ ทขี่ ับเคลอ่ื นด้วยนวัตกรรม (Thailand ๔.๐) ๔.๖ มุ่งเน้นการส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ชมุ ชนรักการอา่ น “นง่ั ที่ไหน อา่ นทน่ี ่นั ” ในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนงั สอื ชมุ ชน ต้หู นังสอื เคลอ่ื นที่ในตลาด และหนงั สอื พมิ พ์ฝา ผนงั เป็นต้น ๕. สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื การศึกษา จุดเน้นการดำเนนิ งาน ๕.๑ พฒั นา กศน. ตำบล ให้มีความพร้อมเกยี่ วกับโครงสร้างพ้นื ฐานด้าน ICT และเทคโนโลยี เพ่อื การศึกษาอนื่ ที่เหมาะสมกบั พื้นที่ เพ่อื ให้ กศน. ตำบลทกุ แห่งเขา้ ถึงการใชบ้ ริการทางอินเทอร์เน็ต และ มคี วามพรอ้ มในการใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาและการเรียนรูท้ ่ีเปน็ ไปตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชน และ สร้างโอกาสในการเรียนรูไ้ ด้อย่างท่ัวถงึ ๕.๒ พัฒนาระบบช่องทางแหล่งเรยี นรู้ออนไลน์ (Portal Web) และส่งเสริมให้ประชาชน นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมาประยุกต์ใช้ในการเรยี นรู้/กิจกรรมตา่ งๆ เพือ่ เพ่ิมโอกาสการเรียนรู้ และ การพัฒนาอาชพี เช่น การแสวงหาความรู้เพ่ือการดารงชวี ิต การพัฒนาตอ่ ยอดอาชีพเพอ่ื สรา้ งรายได้

ห น้ า | ๑๙ โดยผา่ นกลไกของศูนย์ดิจิทัลชุมชน เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถนาความรู้ความสามารถ เจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ และทักษะท่ีพฒั นาขึน้ ไปใช้ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี ทีส่ ร้างรายไดไ้ ดจ้ ริง และการพฒั นาส่เู ศรษฐกิจเชิง สรา้ งสรรค์ต่อไป ๖. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการส่งเสริมใหท้ กุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา จุดเนน้ การดำเนนิ งาน ๖.๑ สำรวจ วเิ คราะห์ และปรบั ปรุงคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐานโดยดำเนนิ การใหผ้ ู้เรียนไดร้ ับการสนับสนุนคา่ จดั ซอื้ ตาราเรียน ค่าจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และค่าเลา่ เรยี นอยา่ งท่ัวถงึ และเหมาะสมกับสภาพการจัดการศกึ ษา เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการรับการศึกษาทม่ี ี คณุ ภาพโดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ ่าย ๖.๒ สร้างความรู้ ความตระหนัก และปลกู จิตสำนกึ ตามหลกั ธรรมาภิบาล ตลอดจนความรู้ เรอ่ื ง กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับ และอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการปฏิบัตงิ านให้กับบคุ ลากรทุกระดบั ทุกประเภทโดย สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรม การจัดทานวตั กรรมเก่ยี วกับองคค์ วามรูด้ ้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การปอู งกนั การทุจรติ และ ราชการใสสะอาด ของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา เพ่ือให้ กศน. เป็นองคก์ รแหง่ ศกั ดศ์ิ รีและสุจริตธรรมท่ีประชาชน มคี วามเชื่อมนั่ ศรัทธาและมคี วามไว้วางใจในการปฏบิ ตั งิ าน ภารกิจต่อเน่อื ง ๑. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ๑) สนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบตงั้ แต่ปฐมวยั จนจบการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน โดยดำเนินการให้ผ้เู รียนได้รบั การสนบั สนนุ ค่าจัดซือ้ ตาราเรียน คา่ จัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น และ คา่ เล่าเรียนอยา่ งทัว่ ถงึ และเพียงพอเพ่ือเพม่ิ โอกาสในการรบั การศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพโดยไมเ่ สียค่าใช้จ่าย ๒) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐานใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมายผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทงั้ ระบบการใหบ้ ริการ ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวัดและประเมนิ ผล การเรียน ผา่ นการเรยี นแบบเรยี นรู้ด้วยตนเอง การพบกลมุ่ การเรยี นแบบชั้นเรยี น และการจัดการศกึ ษาทางไกล ๓) จดั ใหม้ ีการประเมนิ เพอ่ื เทยี บระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรู้และ ประสบการณท์ ่ีมีความโปรง่ ใส ยตุ ธิ รรม ตรวจสอบได้ มมี าตรฐานตามทกี่ ำหนด และสามารถตอบสนองความ ต้องการของกลุ่มเปา้ หมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๔) ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนตอ้ งเรยี นรู้และปฏบิ ตั ิกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต เพอ่ื ดำเนิน กจิ กรรมเสริมสร้างความสามัคคี บำเพ็ญสาธารณะประโยชน์อยา่ งตอ่ เนื่อง และสง่ เสริมการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข เช่น กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจติ อาสา การจดั ต้งั ชมรม/ชมุ นมุ และเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นนากิจกรรมการบาเพญ็ ประโยชนอ์ นื่ ๆ นอก หลักสตู ร มาใช้เพม่ิ ชว่ั โมงกิจกรรมให้ผู้เรียนจบตามหลกั สูตรได้ ๕) จัดต้งั ศนู ย์แนะแนวและประสานการศึกษาพเิ ศษอำเภอ/เขต ให้ครบทุกอำเภอ ทว่ั ประเทศ ๑.๒ การศกึ ษาต่อเนื่อง ๑) จัดการศกึ ษาอาชีพเพ่อื การมงี านทาอยา่ งยง่ั ยนื โดยให้ความสำคัญกับการจัด การศึกษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทาประเภทช่างพื้นฐาน/ช่างชนบท และอาชพี ท่ีสอดคลอ้ งกับศักยภาพของผู้เรยี น และศักยภาพของแตล่ ะพืน้ ที่

ห น้ า | ๒๐ ๒) จัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ ให้กบั ทุกกลุ่มเปา้ หมาย โดยจดั กิจกรรม การศกึ ษาในรปู แบบต่างๆ อาทิ ค่ายพฒั นาทักษะชีวติ การจดั ตั้งชมรม/ชุมนมุ การสง่ เสริมความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ ท่ีมุ่งเนน้ ใหท้ กุ กลมุ่ เปา้ หมายมคี วามรู้ความสามารถในการบริหารจดั การชีวติ ของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อยา่ งมี ความสุข มีคุณธรรม จริยธรรม รวมทง้ั สามารถใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ครอบครวั และชุมชน ๓) จัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชมุ ชน โดยใช้หลกั สูตรและการจัดกระบวนการ เรียนร้แู บบบูรณาการในรปู แบบของการฝกึ อบรม การเรียนทางไกล การประชุม สมั มนา การจดั เวทีแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ การจดั กจิ กรรมจติ อาสา การสรา้ งชมุ ชนนักปฏิบตั ิ และรปู แบบอน่ื ๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และ บรบิ ทของชุมชนแต่ แตล่ ะพ้ืนที่ โดยเน้นการดำเนินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การสรา้ งจติ สำนกึ ความเปน็ ประชาธปิ ไตย ความเป็นพลเมอื งดี การบำเพ็ญประโยชน์ การอนรุ ักษ์พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม ๔) ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรู้เพือ่ สร้างจติ สำนกึ และวินัยในชุมชน เช่น การส่งเสรมิ คณุ ธรรมและจริยธรรมในชุมชน การเพิม่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยของชมุ ชน ศนู ย์เรียนรหู้ ลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระจำตำบล ๑.๓ การศึกษาตามอธั ยาศยั ๑) ส่งเสริมใหม้ กี ารขยายและพฒั นาแหล่งการเรยี นรใู้ นระดบั ตำบล เพือ่ การ ถ่ายทอดองค์ความรู้ และจดั กิจกรรมเพื่อเผยแพรอ่ งค์ความร้ใู นชมุ ชนได้อยา่ งทว่ั ถงึ ๒) จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรเู้ พือ่ ปลกู ฝังนิสยั รกั การอ่าน และพัฒนา ความสามารถในการอา่ นและศกั ยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้ไดร้ ะดับอ่านคลอ่ ง อา่ นเขา้ ใจความเขียนคล่อง และอา่ นเชงิ คิดวเิ คราะหพ์ ้นื ฐาน และใหป้ ระชาชนสามารถรบั รู้ขอ้ มูลข่าวสารท่ีถกู ตอ้ งและทนั เหตกุ ารณ์ เพื่อสามารถนาความรู้ทไี่ ดร้ ับไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั จิ รงิ ๓) ส่งเสริมใหม้ กี ารสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อตอ่ การอ่านใหเ้ กดิ ขน้ึ ใน สังคมไทย โดยสนับสนุนการพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดข้นึ อย่างกว้างขวางและทวั่ ถงึ เชน่ พัฒนาห้องสมดุ ประชาชนทุกแห่งใหเ้ ป็นแหล่งเรยี นร้ตู ลอดชีวิตของชมุ ชน ส่งเสรมิ และสนับสนุนอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น การ สร้างเครอื ข่ายสง่ เสริมการอา่ น จัดหน่วยบรกิ ารเคล่ือนท่ีพรอ้ มอปุ กรณ์เพื่อส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนร้ทู ี่ หลากหลายออกใหบ้ รกิ ารประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างทัว่ ถงึ สมำ่ เสมอ รวมทัง้ เสรมิ สร้างความพร้อมในด้านส่อื อปุ กรณเ์ พ่ือสนับสนุนการอา่ นและการจัดกจิ กรรมเพือ่ สง่ เสรมิ การอ่านอยา่ งหลากหลาย ๔) จัดสร้าง และพัฒนาศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษา ให้เป็นแหล่งการเรยี นรู้เชิง วชิ าการ และแหลง่ ทอ่ งเที่ยวประจำท้องถิน่ โดยพัฒนาและจดั ทานิทรรศการ มหกรรมวทิ ยาศาสตรส์ ญั จร และจัด กิจกรรมทเ่ี น้นการเสริมสร้างทกั ษะ กระบวนการเรยี นรู้ และเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ เพือ่ ใหป้ ระชาชนนาความรู้ และทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้พัฒนาทักษะการคดิ วเิ คราะหบ์ นฐานข้อมลู ทถี่ กู ต้อง และสามารถปรับตวั รองรบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงในอนาคตไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รวมทง้ั เช่ือมโยงกระบวนการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เพอ่ื พฒั นาชมุ ชนให้ผู้รับบริการสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนินชวี ติ การพฒั นาอาชพี การรักษาส่งิ แวดล้อม และการปูองกนั ภัยพิบัติจากธรรมชาตใิ นพื้นท่ี ๒. ดา้ นหลักสตู ร สอ่ื รปู แบบการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล งานบรกิ ารทางวชิ าการ และการ ประกันคุณภาพการศกึ ษา ๒.๑ สง่ เสรมิ การพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการเรยี นการสอน และกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพอื่ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ที่หลากหลาย ทันสมัย รวมทง้ั หลักสูตรท้องถนิ่ ที่

ห น้ า | ๒๑ สอดคล้องกับสภาพบรบิ ทของพ้ืนที่ และความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน เช่น การจัดโปรแกรมการ เรยี นรู้รายบุคคล และแผนการเรยี นรรู้ ายชมุ ชน ๒.๒ พฒั นารปู แบบการจัดการศึกษาทางไกลใหม้ ีความทันสมยั ด้วยระบบห้องเรียนและการ ควบคุมการสอบออนไลน์ ๒.๓ พฒั นาระบบการประเมนิ เพื่อเทยี บระดับการศกึ ษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละ ประสบการณใ์ ห้มีคณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ๒.๔ สง่ เสริมการพฒั นาสือ่ แบบเรยี น สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์และสอ่ื อื่นๆ ท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรขู้ อง ผู้เรยี นกล่มุ เป้าหมายท่ัวไปและกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ ๒.๕ พัฒนาระบบการวดั ผลและประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทกุ หลกั สตู ร โดยเฉพาะ หลกั สตู รในระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาข้อทดสอบกลาง และระบบการสอบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๒.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ และเผยแพร่รปู แบบการจัด สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เพ่อื ให้ มกี ารนำไปสกู่ ารปฏบิ ัติอยา่ งกวา้ งขวางและมีการพฒั นาให้เหมาะสมกับบริบทอย่างต่อเนื่อง ๒.๗ พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาให้ได้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรบั การ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของระบบการ ประกันคุณภาพ และสามารถดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยใช้การประเมิน ภายในดว้ ยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่เี ลี้ยงเขา้ ไปสนบั สนนุ อยา่ งใกลช้ ดิ สำหรับสถานศกึ ษาที่ยงั ไม่ได้ เขา้ รบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ใหพ้ ฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐาน ทก่ี ำหนด ๓. ดา้ นเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา ๓.๑ ผลติ และพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพ่ือการศกึ ษาให้เช่อื มโยงและตอบสนองตอ่ การ จัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสถานศกึ ษาเพ่ือกระจายโอกาสทางการศกึ ษา สำหรับกล่มุ เป้าหมายตา่ งๆ ใหม้ ีทางเลอื กในการเรียนรู้ท่หี ลากหลายและมคี ุณภาพ สามารถพฒั นาตนเองให้ร้เู ทา่ ทันสือ่ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร เชน่ รายการพฒั นาอาชีพเพอื่ การมีงานทา รายการติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานวี ทิ ยุศกึ ษา สถานวี ิทยโุ ทรทศั นเ์ พอื่ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทาง อนิ เทอรเ์ นต็ ๓.๒ พฒั นาชอ่ งทางการเผยแพรก่ ารจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ผา่ นระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารแบบออนไลน์ เพื่อส่งเสริมให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พฒั นาสถานีวิทยุศกึ ษา และสถานโี ทรทัศนเ์ พ่ือการศึกษาเพ่ือเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลิต และการ ออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใชเ้ ป็นช่องทางการเรียนรู้ทีม่ ีคุณภาพได้อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวิต โดยขยาย เครอื ขา่ ยการรับฟังให้สามารถรับฟงั ไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา ครอบคลุมพ้นื ที่ทั่วประเทศ และเพมิ่ ชอ่ งทางให้สามารถรับชม รายการโทรทศั น์ไดท้ ง้ั ระบบ Ku - Band และ C - Band และทางอินเทอรเ์ นต็ พรอ้ มที่จะรองรับการพฒั นาเป็น สถานวี ิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔ พัฒนาระบบการให้บริการส่อื เทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาใหไ้ ดห้ ลายช่องทางทั้งทางอนิ เทอรเ์ น็ต และ รูปแบบอ่ืน ๆ เชน่ Application บนโทรศัพทเ์ คล่ือนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP๓ เป็นตน้ เพอื่ ให้ กล่มุ เป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพ่ือเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรไู้ ด้ตามความตอ้ งการ

ห น้ า | ๒๒ ๓.๕ สำรวจ วิจัย และติดตามประเมนิ ผลด้านส่อื เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง และนาผลมาใชใ้ น การพัฒนางานให้มคี วามถูกต้อง ทนั สมัยและสามารถสง่ เสรมิ การศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตของประชาชนได้ อย่างแท้จริง ๔. ดา้ นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอันเกย่ี วเนื่องจากราชวงศ์ ๔.๑ สง่ เสริมและสนับสนนุ การดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอัน เกีย่ วเนือ่ งจากราชวงศ์ ๔.๒ จดั ทำฐานข้อมลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ท่ีสามารถนาไปใช้ในการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลและการพฒั นางานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔.๓ สง่ เสรมิ การสร้างเครอื ข่ายการดำเนนิ งานเพ่ือสนบั สนนุ โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ เพ่อื ใหเ้ กิดความเขม้ แข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๔.๔ พฒั นาศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพรอ้ มในการจดั การศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหน้าท่ีทกี่ ำหนดไว้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๕. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นทีเ่ ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และพน้ื ที่บริเวณชายแดน ๕.๑ พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ๑) จดั และพฒั นาหลักสูตร และกจิ กรรมสง่ เสริมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ที่ตอบสนองปญั หา และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายรวมทง้ั อัตลักษณ์และความเป็นพหุวฒั นธรรมของพ้นื ท่ี ๒) พัฒนาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานอย่างเข้มขน้ และตอ่ เน่อื ง เพื่อใหผ้ ้เู รยี นสามารถนาความร้ทู ไี่ ด้รับไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ ๓) ใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาจัดให้มีมาตรการดแู ลรกั ษาความปลอดภัยแกบ่ คุ ลากรและ นักศึกษา กศน. ตลอดจนผ้มู าใช้บริการอยา่ งทวั่ ถงึ ๕.๒ พัฒนาการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ ๑) ประสานความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานที่เกยี่ วขอ้ งในการจัดทาแผนการศกึ ษาตามยุทธศาสตร์ และบริบทของแต่ละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ ๒) จดั ทำหลกั สตู รการศกึ ษาตามบริบทของพ้ืนที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความตอ้ งการของตลาด ให้เกิดการพัฒนาอาชพี ไดต้ รงตามความตอ้ งการของพนื้ ที่ ๕.๓ จดั การศกึ ษาเพอื่ ความมัน่ คงชายแดนของศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) ๑) พัฒนาศูนยฝ์ ึกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน ใหเ้ ป็นศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ต้นแบบด้านเกษตรกรรม เปน็ ศูนยส์ าธิตการประกอบอาชพี ศนู ย์การเรียนรตู้ น้ แบบการจดั กิจกรรมตามแนว พระราชดำริปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สำหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนดว้ ยวิธกี ารเรียนรู้ท่หี ลากหลาย ๒) มุง่ จดั และพัฒนาการศกึ ษาอาชีพ โดยใช้วธิ ีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชงิ รกุ เพ่ือการ เข้าถึงกล่มุ เป้าหมายอาทิ การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรว่ มมือกบั เครือข่าย การจัดอบรมแกนนาดา้ น อาชีพ ที่เน้นเรอ่ื งเกษตรธรรมชาติทีส่ อดคล้องกับบริบทของชมุ ชนชายแดน ใหแ้ ก่ประชาชนตามแนวชายแดน ๓) จัดระบบเครือขา่ ยศูนย์การเรยี นรอู้ าชีพ ศูนย์เรียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเชื่อมโยงกบั ศนู ย์เรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจำตำบลของ กศน.ตำบล/ แขวงในพืน้ ที่

ห น้ า | ๒๓ ๖. ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ๖.๑ การพฒั นาบุคลากร ๑) พัฒนาบุคลากรทกุ ระดบั ทุกประเภทใหม้ สี มรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ทงั้ กอ่ นและ ระหวา่ งการดำรงตำแหนง่ เพอ่ื ให้มีเจตคตทิ ี่ดีในการปฏิบัตงิ าน สามารถปฏิบตั ิงานและบรหิ ารจัดการการดำเนินงาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รวมทง้ั ส่งเสริมให้บุคลากรในสังกดั พฒั นาตนเองเพื่อเลือ่ น ตำแหนง่ หรือเลื่อนวิทยฐานะโดยเน้นการประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจักษ์ ๒) พัฒนาหวั หน้า กศน. ตำบล/แขวง ใหม้ ีสมรรถนะสูงขึ้นในการบริหารจดั การ กศน. ตำบล/ แขวง และการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทภารกจิ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยเนน้ การเป็นนักจัดการความรู้และ ผูอ้ ำนวยความสะดวกในการเรียนรู้เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรทู้ ม่ี ีประสทิ ธภิ าพอย่างแทจ้ รงิ ๓) พัฒนาครู กศน. และผ้ทู ่ีเกีย่ วข้องใหส้ ามารถจัดรูปแบบการเรียนรูไ้ ด้อย่างมีคณุ ภาพโดย ส่งเสริมให้มีความรคู้ วามสามารถในการจดั ทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล และ การวิจัยเบื้องตน้ ๔) สง่ เสริมและพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการ กศน. ตำบล/แขวง เพือ่ การมีส่วนร่วมในการ บริหารการดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. ตำบล/แขวง อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๕) พฒั นาศักยภาพบคุ ลากร ทีร่ ับผิดชอบการบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรู้ ให้มคี วามรู้ ความสามารถและมคี วามเป็นมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน ๖) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทำหนา้ ที่เป็นผู้จดั ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๗) เสริมสร้างสมั พนั ธภาพระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคเี ครอื ขา่ ยทัง้ ในและตา่ งประเทศในทุก ระดับเพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพในการทางานร่วมกัน โดยจัดให้มีกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสรมิ สร้าง ความสมั พันธร์ ะหว่างบุคลากร และภาคเี ครอื ขา่ ยในรปู แบบทห่ี ลากหลายอย่างตอ่ เนอ่ื ง ๖.๒ การพฒั นาโครงสรา้ งและอตั รากำลงั ๑) จดั ทำแผนการพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานและดำเนินการปรับปรุงสถานทแี่ ละวสั ดอุ ุปกรณ์ ใหม้ ีความพร้อมในการจดั การศกึ ษา ๒) แสวงหาภาคเี ครือข่ายในทอ้ งถิ่นเพื่อการมีส่วนร่วมในการดำเนินกจิ กรรม การศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทั้งระดมทรพั ยากรเพอื่ นามาใชใ้ นการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพ้นื ฐาน ให้มีความพรอ้ มสำหรบั ดำเนนิ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องประชาชน ๓) บริหารอัตรากำลงั ทม่ี อี ยู่ทั้งในส่วนทีเ่ ป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลกู จ้างให้เกดิ ประสิทธิภาพสงู สุดในการปฏิบัตงิ าน ๖.๓ การพฒั นาระบบบริหารจัดการ ๑) เร่งผลกั ดันให้มีการประกาศใชก้ ฎหมายว่าด้วยการศกึ ษาตลอดชวี ิต ๒) เพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกำกับ ควบคมุ และ เร่งรดั การเบกิ จ่ายงบประมาณใหเ้ ปน็ ตามเปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้ ๓) พฒั นาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทนั สมยั และเชอ่ื มโยงกนั ทั่วประเทศ อยา่ งเป็นระบบเพอื่ ใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดสามารถนาไปใช้เปน็ เครื่องมือสำคญั ในการบริหาร การ วางแผนการปฏบิ ัติงาน การติดตามประเมนิ ผล และการนาผลมาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเน่ือง ตามวงจร คณุ ภาพเดมมิง่ (PDCA) รวมทั้งจดั บริการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อย่างมปี ระสิทธิภาพ

ห น้ า | ๒๔ ๔) พฒั นาระบบฐานข้อมลู รวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถกู ตอ้ ง ทันสมยั และ เชื่อมโยงกนั ท่ัวประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานได้ทนั ความต้องการเพอื่ ประโยชน์ในการจัดการศกึ ษาให้กบั ผู้เรียนและการบริหารจัดการอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๕) สง่ เสรมิ ให้มีการจดั การความรู้ในหนว่ ยงานและสถานศกึ ษาทกุ ระดบั รวมทง้ั การศกึ ษา วจิ ัยเพอื่ สามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธภิ าพการดำเนินงานทสี่ อดคล้องกับความตอ้ งการของประชาชนและ ชุมชนพร้อมท้งั พฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา ๖) สร้างความร่วมมือของทุกภาคสว่ นท้งั ในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและ ส่งเสรมิ การจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ๖.๔ การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล ๑) สรา้ งกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการดำเนนิ งานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหเ้ ชื่อมโยงกบั หน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครอื ข่ายทง้ั ระบบ ๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเกยี่ วข้องทุกระดับ พฒั นาระบบกลไกการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการนานโยบายส่กู ารปฏบิ ัติ ให้สามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรอื่ งไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธภิ าพ ๓) สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่อื อ่ืน ๆ ทเ่ี หมาะสม เพือ่ การ กำกับนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๔) พฒั นากลไกการติดตามประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการ ประจำปี ของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา เพอ่ื การรายงานผลตามตัวช้วี ัดตามคารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการประจำปี ของสำนกั งาน กศน. ใหด้ ำเนินไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาท่ี กำหนด ๕) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทง้ั หน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตงั้ แต่สว่ นกลาง ภมู ิภาค กลุ่มจงั หวดั จังหวดั อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเปน็ เอกภาพในการใชข้ อ้ มลู และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

ห น้ า | ๒๕ ขอ้ มลู ดา้ นการบรหิ าร กศน.ตำบล และศรช.หมบู่ า้ น มโี ครงสร้างการบรหิ ารงานออกเป็น ๓ กลุ่มงาน คือ กลมุ่ งาน อำนวยการ กลุ่มจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ ดังแผนภูมิ โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน กศน.ตำบล และศรช.หมูบ่ ้าน ผูอ้ ำนวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา กลุ่มอำนวยการ กลมุ่ จดั การศกึ ษานอก กลุ่มภาคเี ครอื ขา่ ย และกิจการพิเศษ - งานธรุ การและสารบรรณ ระบบ - งานการเงินและบญั ชี - งานสง่ เสริมและสนับสนุนภาคี - งานงบประมาณและระดม -แลงาะนกสาง่รเศสกึ รษมิ ากตาารมรู้หนังสือ เครอื ข่าย ทรพั ยากร - งานกิจการพเิ ศษ - งานพสั ดุ - งานอกัธายราศศกึ ษยั าพน้ื ฐานนอกระบบ - งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก - งานบุคลากร พระราชดำริ - งานอาคารสถานท่แี ละ - งานการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง - งานปอ้ งกนั แก้ปัญหายาเสพติด ยานพาหนะ - งานการศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี และโรคเอดส์ - งานแผนงานและโครงการ - งานการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสังคม - งานสนับสนนุ ส่งเสรมิ นโยบาย - งานข้อมูล สารสนเทศและ และชุมชน จังหวัด การรายงาน - งานการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นา - ศูนยร์ าชการใสสะอาด ทักษะชีวิต - งานควบคมุ ภายใน - งานการศึกษาตามอัธยาศัย - งานนิเทศภายในติดตามและ - งานจัดและพฒั นาศนู ย์การเรียน ประเมนิ ผล - งานการศกึ ษาเคล่ือนที่ - งานประกันคณุ ภาพภายใน - งานพฒั นาหลักสตู รสื่อนวัตกรรม - งานศูนยบ์ ริการให้คำปรึกษา แนะนำ - งานกิจกรรมนักศึกษา

ห น้ า | ๒๖ ดา้ นจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานนอกระบบ กศน.ตำบลโคกพระ สอดคลอ้ งกับประเดน็ ยทุ ธศาสตรใ์ นแผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของกระทรวงศึกษาธิการ ขอ้ ที่ ๑ การสร้างโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ข้อที่ ๒ การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ขอ้ ท่ี ๓ การพัฒนาขดี ความสามารถของประเทศโดยใชค้ วามร้เู ปน็ ฐาน ขอ้ ท่ี ๔ การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและกฎหมายด้านการศึกษา ข้อที่ ๕ การพัฒนา กศน.ตำบล ให้เปน็ ศนู ยก์ ลางการสรา้ งโอกาสและกระจายโอกาสทางการศกึ ษา ให้กบั ประชาชนในชมุ ชน ขอ้ ที่ ๖ การสง่ เสริมและสนับสนนุ ใหท้ ุกภาคส่วนเข้ามามีสว่ นร่วมเป็นภาคีเครอื ข่ายในการจัด สง่ เสริม และสนบั สนนุ การจดั การศึกษาตลอดชวี ิตและการจดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมีงาน ทำอยา่ งยง่ั ยนื ใหค้ รอบคลมุ พนื้ ทท่ี ุกระดบั หลักการและเหตุผล การดำเนินงานการจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กศน. ตำบลโคกพระ สงั กดั ศนู ยก์ ารศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกนั ทรวิชัย จากรัฐบาลมนี โยบาลเรยี นฟรี ๑๕ ปอี ย่างมีคุณภาพ โดยสนบั สนุนงบประมาณเป็นค่าจ่ายให้นักศกึ ษาในหลกั สตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐานและส่วนหนงึ่ ได้จดั สรรเงิน เป็นกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ซ่งึ มีวตั ถุประสงค์เพ่ือพฒั นาผเู้ รียน ให้มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นดีขน้ึ และเพอื่ ให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถเพ่ือนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง กศน.ตำบลโคกพระ จึงไดจ้ ัด กิจกรรมกระบวนการเรียนการสอนการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ๓ ระดบั ๒ หลักสูตร และจัดกิจกรรมพฒั นา ผู้เรยี น โดยเน้นผ้เู รียนเป็นสำคญั สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นอย่างคลอบคลุมทวั่ ถึงเพ่ือเพมิ่ โอกาสในการรบั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพโดย ไม่เสียค่าใชจ้ ่ายให้กับประชาชนทว่ั ไป วตั ถุประสงค์

ห น้ า | ๒๗ ๑. เพ่อื จดั และสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหม้ ีคุณภาพ ๒. เพ่ือใหค้ นไทยได้รับโอกาสทางการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพอยา่ งทว่ั ถงึ ครอบคลุมและเป็นธรรม ๓. เพอ่ื ให้นักศึกษามคี วามรู้ ความสามารถ มีทักษะในการดำเนินชวี ิตได้ถูกตอ้ ง ๔. เพอื่ ให้นักศึกษา ร้หู นังสอื อ่านออกเขยี นได้ ๕. เพ่ือเตมิ เต็มความรูใ้ หก้ ับนักศึกษาในสว่ นทขี่ าดโอกาสทางการศึกษา ๖. เพ่อื เปดิ โอกาสทางการศึกษาใหเ้ ทา่ เทียมกัน ๗. เพอ่ื พฒั นานักศึกษาให้สามารถยกระดบั ความเป็นอยูท่ ีด่ ีข้นึ ๘. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษา มีการพฒั นาตนเอง และมกี ารเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๙. เพือ่ ใหน้ กั ศึกษาสามารถเขา้ รบั บริการการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ได้อยา่ งกวา้ งขวางมากยิง่ ขน้ึ ๑๐. เพ่ือให้นักศกึ ษามีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมและเสรมิ สรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ ๑๑. เพื่อพัฒนา กศน.ตำบล เป็นศูนย์กลางการสรา้ งโอกาสและกระจายโอกาสทางการศึกษา ใหก้ บั ประชาชนในชุมชน ๑๒. เพอ่ื สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้ทกุ ภาคสว่ นเข้ามามสี ่วนรว่ มเป็นภาคีเครอื ข่ายในการจัดส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตและการจัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมงี านทำอยา่ งย่ังยนื ให้ครอบคลมุ พืน้ ท่ที ุกระดบั เปา้ หมายเชิงประมาณและคุณภาพ ๑. เชิงปรมิ าณ ครึ่งปีแรก - ผรู้ ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จำนวน 145 คน 145 คน - ผรู้ บั บรกิ ารกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น จำนวน 1๖๐ คน ครึ่งปีหลงั 1๖๐ คน - ผูร้ บั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน จำนวน - ผรู้ บั บริการกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน จำนวน ๒ . เชงิ คณุ ภาพ - รอ้ ยละ ๘๐ ของผรู้ บั บรกิ ารได้รับโอกาสทางการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ อย่างทวั่ ถึง ครอบคลมุ และเปน็ ธรรม เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวติ และมีผลสัมฤทธ์ติ ามจุดมุง่ หมายของหลักสูตร ผลการดำเนนิ งาน ผลผลติ ของการดำเนนิ งาน/โครงการเชิงปรมิ าณและคุณภาพ (เปรยี บเทยี บกับเป้าหมายของงานท่กี ำหนดไว)้ ขอ้ มลู การลงทะเบยี นเรยี น ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ กศน.ตำบลโคกพระ มีนกั ศึกษาทรี่ ับผิดชอบ ดงั น้ี ท่ี ระดับการศึกษา นายนคร ชา่ งยนั ต์ ๒ / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3

ห น้ า | ๒๘ ๑ ระดบั ประถมศกึ ษา ชาย หญงิ ท้งั หมด ชาย หญงิ ทั้งหมด ๒ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น - --- -- ๓ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - --- -- 34 26 60 44 26 70 รวมท้ังสนิ้ 34 26 60 44 26 70 นางสาวปณติ า สร้อยคำ ท่ี ระดบั การศึกษา ๒ / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3 ๑ ระดับประถมศกึ ษา ชาย หญงิ ทัง้ หมด ชาย หญงิ ทั้งหมด ๒ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๓ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ------ รวมท้งั สิ้น 37 15 52 43 16 59 23 10 33 24 7 31 60 25 85 67 23 90 ผลสัมฤทธิก์ ารเขา้ สอบกลางภาค ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๓ กศน.ตำบลโคกพระ มีนักศึกษาทร่ี ับผดิ ชอบ ดังน้ี นายนคร ช่างยันต์ ท่ี ระดับการศึกษา 2 / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3 ๑ ระดับประถมศกึ ษา ทัง้ หมด มา ขาดสอบ คดิ เป็น% ท้ังหมด มา ขาดสอบ คิดเป็น% ๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สอบ สอบ ๓ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - - - - - -- - -- - 60 - - - -- -- 75 44 11 -- รวมท้ังสิ้น 60 44 11 75 -- - - นางสาวปณติ า สร้อยคำ ท่ี ระดับการศึกษา 2 / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3 ท้งั หมด มา ขาดสอบ คดิ เปน็ % ทั้งหมด มา ขาดสอบ คิดเปน็ %

ห น้ า | ๒๙ ๑ ระดับประถมศึกษา สอบ สอบ - - ๒ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ -- - - -- - - 52 34 18 65.38% - - - ๓ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 33 23 10 69.69% - - - - รวมท้ังสน้ิ 85 57 28 67.67% - - - ภาพกจิ กรรม :กิจกรรมท่ดี ำเนินงานด้านการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ดำเนินการสอบกลางภาค ภาคเรียน 2/2562 วนั ท่ี 22 - 23 มกราคม 2563 ณ กศน.ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวชิ ยั จังหวดั มหาสารคาม นกั ศึกษาตรวจดูรายช่ือก่อนเข้าสอบ รับการตรวจเยยี่ มจาก นายธนาคร ภูดินดาล เจ้าหนา้ ทีน่ เิ ทศจากสำนักงาน กศน.จังหวัด

ห น้ า | ๓๐ นักศึกษาเข้าสอบกลางภาค ทัง้ ระดับ ม.ตน้ และ ม.ปลาย ภาพกิจกรรม : สอบวัดผล N-NET วนั ที่ ๙ กมุ ภาพันธ์ 256๓ ณ โรงเรยี นกนั ทรวชิ ยั บุคลากร กศน. เตรียมความพร้อมก่อนสอบ N-Net

ห น้ า | ๓๑ นกั ศึกษาตรวจสอบรายชือ่ กอ่ นเข้าสอบ N-Net นกั ศึกษาเขา้ สอบ N-Net ผลสัมฤทธิ์การเข้าสอบปลายภาค ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ กศน.ตำบลโคกพระ มีนกั ศึกษาทร่ี บั ผิดชอบ ดังนี้ นายนคร ชา่ งยันต์ ท่ี ระดบั การศึกษา 2 / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3 ท้ังหมด มาสอบ ขาดสอบ คิดเป็น% ทง้ั หมด มาสอบ ขาดสอบ คิดเป็น% - ๑ ระดับประถมศึกษา -- - - -- - - - ๒ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ - - - - -- - - ๓ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 59 44 16 74,57% - - - รวมทัง้ สิ้น 59 44 16 74,57% - - - นางสาวปณติ า สร้อยคำ ท่ี ระดับการศึกษา 2 / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3 ท้งั หมด มาสอบ ขาดสอบ คดิ เป็น% ทง้ั มาสอบ ขาด คิดเป็น% หมด สอบ ๑ ระดับประถมศึกษา -- - - --- - ๒ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 52 33 19 63.46% - - - - ๓ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 33 28 5 84.84% - - - - รวมท้งั สน้ิ 85 61 24 71.76% - - - - นกั ศึกษาจบหลักสตู ร ภาคเรยี นที่ 2/๒๕๖๒

ห น้ า | ๓๒ กศน.ตำบลโคกพระ มนี กั ศึกษาท่รี ับผิดชอบ ดงั น้ี นายนคร ชา่ งยนั ต์ ท่ี ระดบั การศึกษา 2 / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3 ๑ ระดบั ประถมศึกษา คาดว่า จบ ไมจ่ บ คดิ คาดวา่ จบ ไมจ่ บ คิด จะจบ จบ เปน็ % จะจบ เปน็ % -- - ---- - -- ๒ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น - ---- -- - -- ๓ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 12 12 - 100% - - รวมท้ังสิน้ 12 12 - ๑๐๐% - - นางสาวปณิตา สรอ้ ยคำ ท่ี ระดบั การศึกษา 2 / ๒๕๖๒ 1 / ๒๕๖3 ๑ ระดบั ประถมศึกษา คาดวา่ จบ ไมจ่ บจบ คดิ เปน็ % คาดว่า จบ ไม่จบ คดิ เปน็ % จะจบ จะจบ -- - - - -- - ๒ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 10 8 2 80.00% - - - - ๓ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 6 5 1 83.33% - - - - รวมท้ังส้นิ 16 13 3 81.25 % - - - -

ห น้ า | ๓๓ การจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน/กระบวนการเรียนการสอน การวางแผนการจัดการเรยี นการสอน ครูและผูเ้ รียนรว่ มกนั วางแผนการเรียนรู้ โดยการวิเคราะห์ หลักสูตรแต่ละหมวดวชิ าทล่ี งทะเบยี นเรียน เพ่ือศกึ ษาวตั ถปุ ระสงค์ สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลการเรยี นรู้ ครู กศน.จัดทำแผนการสอน กำหนดกจิ กรรม การเรียนรู้ทส่ี อดคล้องกับเนอ้ื หาสาระทไี่ ด้วิเคราะห์ เน้อื หางา่ ยใหน้ กั ศกึ ษาทำกจิ กรรมการเรียนรู้ตอ่ เนือ่ งโดย ศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง เนอ้ื หาทีม่ คี วามยากปานกลาง ครอู ธบิ าย กำกับ แนะนำ ทำความเขา้ ใจ การทำ แบบฝึกหัด เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นเกิดทกั ษะการเรียนรู้ เน้อื หายาก ครูจดั หาวิทยากร ผู้ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะ ด้านมาสอนเสรมิ เนือ้ หาสาระแต่ละหมวดวชิ าท่ีเหมือนกนั สามารถจัดเน้ือหาบูรณาการไดค้ รอู ธบิ ายกำกบั แนะนำ การทำแบบฝกึ หัดและใหท้ ำโครงงาน เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเกิดทักษะการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ให้นักศกึ ษามีความรู้ ความเข้าใจเกิดทักษะ เจตคติและค่านิยมตามท่กี ำหนด ไว้ในจุดม่งุ หมายของหลกั สตู รและหมวดวชิ าต่างๆโดยจัดกระบวนการเรยี นรู้ตลอดภาคเรยี น คือ การพบกลุ่ม การจดั กิจกรรมการเรยี นรูต้ ่อเนอื่ ง การทำกิจกรรมทไ่ี ด้รบั มอบหมาย การทำโครงงาน การสอนเสรมิ การจัด กิจกรรมเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิต การจัดการเรยี นการสอน คือการพบกนั ระหวา่ งครกู บั นกั ศกึ ษาทล่ี งทะเบยี นเรียนในแต่ละภาคเรียน โดยพบกันสปั ดาห์ละ ๒ ครง้ั ๆ ละไมน่ อ้ ยกวา่ ๙ ช่ัวโมง ระดับมธั ยมศกึ ษา จดั การเรียนการสอนวันพุธ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย และจัดการเรียนการสอนวนั พฤหัสบดี ตลอดทุกสัปดาห์รวม ๒๐ สัปดาห์ ในการจัดการเรยี นการสอนสปั ดาห์ท่ี ๑ เปน็ การปฐมนเิ ทศ เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจในหลกั สูตรและกระบวน การเรยี นรู้ สปั ดาหท์ ี่ ๒ - ๑๙ เป็นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามแผนการสอนช่วงระหวา่ งน้ีมกี ารสอบกลางภาค เรียน วนั ท่ี ๒๙ – ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ สัปดาห์สุดท่ี ๒๐ ปัจฉมิ นเิ ทศนักศกึ ษา เพ่อื สรุปเน้อื หาสาระทเ่ี รียนมา ตลอดภาคเรียนและเตรยี มความพร้อมในการสอบปลายภาคเรียนวันท่ี ๑4 – ๑5 มนี าคม ๒๕๖๓ นอกจากกิจกรรมหลกั แลว้ ยงั มีการจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น งบประมาณประจำปี ๒๕๖๓ ดังตอ่ ไปนี้ แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพือ่ ความมนั่ คง โครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษา

ห น้ า | ๓๔ ขั้นพื้นฐานต้งั แตอ่ นบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน เงินอดุ หนนุ คา่ จัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น รหสั ๒๐๐๐๒๓๓๐๑๖๕๐๐๕๐๑ ที่ กิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย ทำได้ คิดเป็นเปอรเ์ ซนต์ (คน) (คน) 1 โครงการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษา 2 โครงการพัฒนาวิชาการวชิ าพฒั นาอาชีพใหม้ ีความเขม้ แข็ง ระดบั ม.ต้น 20 20 100 % 3 โครงการพัฒนาวชิ าการวิชาศลิ ปศึกษา ระดับ ม.ต้น 4 โครงการพฒั นาวชิ าการวิชาพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง 45 45 100 % ระดบั ม.ปลาย 48 48 100 % 5 โครงการพัฒนาวิชาการวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ม.ปลาย 6 โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 75 75 100 % 7 โครงการรณรงคป์ ้องกันยาเสพติด 8 โครงการพฒั นาวิชาการวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับ ม.ตน้ 80 80 100 % 9 โครงการพฒั นาวชิ าการวิชาพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับ ม.ตน้ 35 35 100 % 40 40 100 % ท่ี กจิ กรรม/โครงการ 48 48 100 % 46 46 100 % 10 โครงการพัฒนาวชิ าการวชิ าพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม ระดับ ม.ปลาย เป้าหมาย ทำได้ 11 โครงการขบั ขป่ี ลอดภัยใส่ใจกฎจราจร (คน) (คน) คิดเป็นเปอรเ์ ซนต์ 12 โครงการติวเข้มเติมเต็มความรู้ (กอ่ นสอบ N – NET) 78 78 40 40 100 % รวม 26 26 100 % 581 581 100 % 100% สรปุ ผลการดำเนนิ งานการจดั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอกันทรวิชัย ร่วมกบั กศน.ตำบล และ ศรช. หมบู่ ้าน ซึ่งกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ประกาศให้ใช้หลักสูตร การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เม่ือวนั ที่ ๑๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๑ เปน็ หลกั สูตรทม่ี งุ่ จดั การศึกษาเพ่ือตอบสนองอดุ มการณก์ ารจัดการศึกษาตลอดชวี ิต และการสร้างสังคมไทยให้เปน็ สังคมแหง่ การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญา “ คิดเปน็ ” ใหภ้ าคเี ครอื ขา่ ยมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาให้ตรงตามความ ต้องการของผู้เรยี น สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการของบคุ คลทีอ่ ยนู่ อกระบบโรงเรียน กศน.ตำบล และ ศรช. หมู่บา้ น เปน็ หน่วยจัดการศกึ ษาระดับตำบล และระดับหมบู่ ้านจึงไดจ้ ดั กิจกรรมโครงการ เพือ่ พฒั นา ศักยภาพของผูเ้ รียน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเอาความรทู้ ่ไี ดร้ บั นำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันหรือ แก้ปญั หาได้ท้งั ดา้ นทกั ษะวิชาการ และดา้ นทักษะชวี ิต พฒั นาไปพร้อมๆกนั ให้เกดิ ประสทิ ธิต์ อ่ ผู้เรียนอย่างสูงสดุ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกันทรวิชัย จงึ จดั สรรงบประมาณประจำปี ๒๕๖3 ในกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ภาคเรียนท่ี 2 / ๒๕๖2

ห น้ า | ๓๕ ผลการดำเนินงานโครงการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา วันท่ี 15 พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ ลานเอนกประสงค์ กศน.อำเภอกันทรวิชยั ...................................................................... ความเปน็ มา นโยบายตามภารกิจดา้ นการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ กำหนดให้มีการสนบั สนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแตร่ ะดับอนุบาลจนจบ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เพ่อื เพ่มิ โอกาสทางการศกึ ษาใหก้ บั ประชาชนวัยแรงงานท่ไี ม่จบการศกึ ษาภาคบังคบั และไม่ อยู่ในระบบโรงเรียน มงุ่ เน้นการจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน และกิจกรรมพฒั นาความรคู้ วาม สามารถดา้ น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร รวมถึงการจดั หาหนงั สือที่มีคณุ ภาพนั้น เพ่อื สนองนโยบาย และจุดเนน้ การดำเนนิ งานดงั กล่าวขา้ งตน้ ให้บรรลวุ ัตถุประสงคก์ ารเรยี นรขู้ อง หลักสตู รการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซง่ึ มจี ดุ มุง่ หมายเพ่อื ให้ ผูเ้ รียนมีความรู้ เกดิ ทกั ษะและทศั นคติทด่ี ีในด้านการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี ปน็ วชิ าการ โครงการปฐมนิเทศ และปรับพ้นื ฐานนักศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 /๒๕๖๒ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษามีผลสัมฤทธ์ทิ างการศึกษา ในแตล่ ะวชิ าสูงขนึ้ สร้างความเข้าใจและเปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนสำหรบั นกั ศึกษาท้ังใหม่และเกา่ ในภาคเรยี นนี้ ให้ เข้าใจโครงสรา้ งหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การทำกิจกรรม กพช. การจบหลกั สูตรและการขอวุฒิการศึกษา หลังเรียนจบ และเพอ่ื ปรับความรพู้ ้ืนฐาน สำหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น และ ตอนปลาย วนั ท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปรบั ความรขู้ องนักศึกษาท่ีมาจากโรงเรียนตา่ ง ๆ ท่มี รี ะดบั ความรูท้ ี่ ต่างกนั ให้มีพืน้ ฐานความรทู้ ่ีเท่ากนั ในรายวิชาคณิตศาสตร์ (พค๒๑๐๐๑) และภาษาองั กฤษเพ่อื ชวี ติ และสงั คม (พต๓๑๐๐๑) ให้สามารถเรียนตอ่ ในชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และ ตอนปลาย ได้โดยไมม่ อี ุปสรรค เป็นการใช้ ชว่ งเวลากอ่ นเริ่มเรยี น ศกึ ษาหาความร้ใู ห้เกดิ ประโยชน์ เพ่ือการปรบั ตวั ของนกั เรยี นให้เข้ากับการเรยี นการสอน ของครู เพ่ือน และสถานที่สภาพแวดล้อม ของ กศน. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอกันทรวชิ ัย จงึ ได้จัดทำ “ โครงการปฐมนิเทศนกั ศึกษา ” ขึ้น

ห น้ า | ๓๖ วัตถุประสงค์ ๑. เพอื่ เสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับกระบวนการเรยี นรู้และโครงสร้างหลกั สูตรการศกึ ษานอก ระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานใหน้ กั ศกึ ษาใหม่ ๒. เพ่อื ให้นกั ศึกษาไดท้ ราบกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนระยะเวลาเรียน การ จัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน มคี ุณธรรม จริยธรรม ๓. เพื่อให้นักศกึ ษาไดม้ ีทกั ษะในการทำแบบทดสอบ โดยการปฏบิ ัติจรงิ จากวทิ ยากร และนักศึกษามี ผลสัมฤทธทิ์ างการศกึ ษาของแต่ละวิชาสงู ขึ้น กลุ่มเปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ นักศกึ ษาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน นกั ศกึ ษาใหม่ ภาคเรยี นที่ ๒ / ๒๕๖๒ ทัง้ ๒ ระดบั แยกเปน็ ระดบั ม.ตน้ ๔ คน และ ม.ปลาย ๒๐ คน จากการสำรวจการแจ้งความประสงค์ เขา้ รว่ มปฐมนเิ ทศ นกั ศึกษา ครงั้ นี้ ของตำบลโคกพระ จำนวนทง้ั สิน้ ๒๔ คน แยกเปน็ ระดบั ม.ตน้ ๔ คน และ ระดบั ม.ปลาย ๒๐ คน เชิงคณุ ภาพ นักศกึ ษา กศน. รอ้ ยละ ๘๐ ท่ีเขา้ รว่ มโครงการปฐมนิเทLนกั ศกึ ษา ว่ามีผลสมั ฤทธิ์ทาง การศึกษา ในแตล่ ะวชิ าสงู ขึน้ และมีความรู้ ความเข้าใจโครงสรา้ งหลกั สตู รกจิ กรรมการเรยี นการสอน การวดั ผล ประเมินผล และการจบหลกั สตู ร ระยะเวลาและสถานท่ีดำเนนิ การ วันท่ี 15 พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ ลานเอนกประสงค์ กศน.อำเภอกันทรวิชยั ผลการดำเนินงานโครงการปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา ประเมิน/นิเทศ/ติดตามผล/สรปุ ผล ๑. ประเมินผล /นเิ ทศ /ติดตาม โดยใช้การสังเกตการมีสว่ นรว่ มของนักศึกษา การตอบคำถาม จากน้นั ได้แจกแบบประเมินความ พงึ พอใจของโครงการปฐมนิเทศนักศกึ ษา ซ่ึงนักศึกษาไดก้ รอกแบบประเมินความพึงพอใจของโครงการหลังจากท่ี ได้จัดกิจกรรมเสร็จสิ้น ปรากฏว่า นกั ศกึ ษา มีความรมู้ ากขึ้นจากเดิมท่ีมี เข้าใจในเน้ือหาสามรถนำความรูท้ ไี่ ดร้ ับ นำไปใช้ประโยชนต์ ่อตนเองดา้ นการเรียนและในชวี ิตประจำวัน และมีความตอ้ งการทจ่ี ะเขา้ รบั การเรียนรู้ในครง้ั ตอ่ ๆ ไป ๒. สรุปผลการประเมนิ การดำเนนิ งานโครงการ จากการประเมินโครงการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ไดส้ รุปผล การประเมนิ ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการ ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน ในรายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และ วิชาพัฒนาตนเองชุมชน สงั คม ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน ๒๒ คน โดยมขี ้อสอบ วิชาละ ๒๐ ขอ้ ๒๐ คะแนน ได้นำแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน นำมาวิเคราะห์ค่าสถิตพิ ื้นฐาน การปรบั พนื้ ฐานนักศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น วชิ าคณติ ศาสตร์ จำนวน ๕ คน คดิ เป็นร้อยละ ๙๑ คะแนนเฉล่ียหลงั เรียน ๑๘.๓๖ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานหลงั เรียน ๐.๖๗ หลังจากเขา้ รับการอบรมวชิ า คณิตศาสตร์ ซึ่งผลการทดสอบเมื่อเปรยี บเทยี บผลกอ่ น-หลังเรียน มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงข้ึน และการปรับ

ห น้ า | ๓๗ พน้ื ฐานนักศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย วชิ าภาษาอังกฤษเพอื่ ชวี ติ และสงั คม จำนวน ๑๑ คน คดิ เป็น รอ้ ยละ ๙๑.๗๓ คะแนนเฉลยี่ หลังเรยี น ๑๘.๒๘ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ๐.๖๕ หลงั จากการเข้ารบั การอบรม วชิ าภาษาอังกฤษเพื่อชีวติ และสงั คม ซ่ึงผลการทดสอบเมอ่ื เปรียบเทยี บผลก่อน-หลังเรียน มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการ เรียนสูงขึ้น อยู่ในระดบั ดีมาก ( ๔.๖๘ ) และคิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๖.๑๑ ภาพกจิ กรรม :กิจกรรมทีด่ ำเนินงานดา้ นการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน โครงการปฐมนิเทศนักศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2562 วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 ณ กศน.อำเภอกันทรวชิ ยั จังหวัดมหาสารคาม บคุ ลากร กศน.อำเภอกันทรวชิ ัย รับลงทะเบียน สำหรบั นักศกึ ษาเข้ารว่ มโครงการปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา

ห น้ า | ๓๘ นายศุภชัย วนั นติ ย์ นายสทิ ธศิ กั ดิ์ นามแสงผา เปน็ ประธานรับการรายงานและกลา่ วเปดิ โครงการ กล่าวรายงานโครงการ ผลการดำเนินงาน นกั ศกึ ษารับฟงั การบรรยายจากวิทยากรให้ความรู้ โครงการ พฒั นาวิชาการ วชิ า พัฒนาอาชพี ให้มคี วามเขม้ แขง็ ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น วนั ที่ 19 พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ............................................................................... ความเป็นมา โครงสรา้ งหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซงึ่ มีจดุ มงุ่ หมาย เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ เกิดทกั ษะและทศั นคติทดี่ ีในด้านการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเี่ ป็นวชิ าการ โครงการพัฒนา วิชาการ วิชาพฒั นาอาชพี ให้มีความเข้มแขง็ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ เป็นสาระหน่ึงในรายวชิ าพน้ื ฐาน เพ่อื พัฒนาผเู้ รียนให้มีความรู้ ความเข้าใจให้นกั ศกึ ษาได้มีความรู้ในวิชาทกั ษะการเรยี นรู้ ตลอดจนความเปน็ อยู่ ของนักศกึ ษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกันทรวิชยั จงึ ไดท้ ำโครงการพฒั นา วิชาการ วชิ าพฒั นาอาชีพใหม้ ีความเขม้ แขง็ ระดบั ม.ต้น ข้นึ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อใหน้ กั ศึกษามีความรู้ เข้าใจวิชาพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ๒. ใหน้ กั ศึกษาไดม้ ีทักษะในวิชาพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ทีส่ ามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ ๓. เพ่อื ใหน้ กั ศึกษามีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์สูงขึน้ เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ นักศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ท่ีลงทะเบยี นเรยี นวชิ าพฒั นาอาชีพ ใหม้ ีความเข้มแข็ง ม.ตน้ จากการสำรวจการแจง้ ความประสงค์ มีนักศึกษาทจ่ี ะเขา้ ร่วมโครงการฯครัง้ น้ี กศน.ตำบลโคกพระ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 45 รวมจำนวน คน

ห น้ า | ๓๙ เชงิ คณุ ภาพ นักศึกษา กศน.ร้อยละ ๘๐ ทีเ่ ข้าร่วมโครงการพฒั นาวิชาการ วิชาพัฒนาอาชีพให้มีความ เขม้ แขง็ ระดบั ม.ต้น ไดม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการดำเนินชีวิต และปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ ระยะเวลาและสถานท่ี วันที่ 19 พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ผลการดำเนนิ งาน กิจกรรมดำเนินการตามลำดบั ดงั นี้ จากการประเมินโครงการพัฒนาวชิ าการ วชิ าพฒั นาอาชีพใหม้ ีความเขม้ แขง็ ระดบั ม.ตน้ ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๓ นกั ศึกษาท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมเปน็ นกั ศกึ ษาการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รวมจำนวน 45 คน ในการประเมนิ โครงการ จากการสุม่ แลว้ นำข้อมูลมาวเิ คราะห์หาคา่ สถิตพิ ื้นฐาน ค่าร้อยละ ( % ) ซง่ึ การประเมนิ ในคร้งั นี้ สุม่ ประเมินนกั ศึกษาจำนวน ๒๐ คน สรุปผลการประเมินโครงการพฒั นา วชิ าการ วชิ าพัฒนาอาชีพใหม้ ีความเข้มแขง็ ดงั นี้ ตอนที่ ๑ ผลการประเมนิ ข้อมูลทั่วไป ผลการศึกษาพบว่า นักศกึ ษาที่เข้ารบั การอบรมส่วนมากจะเปน็ เพศชาย ๗๐ % อายุระหวา่ ง ๑๖ - ๓๐ ปี ๖๕ % และระดับการศกึ ษา เปน็ นักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๑๐๐ % ตอนที่ ๒ ผลการประเมนิ ความคดิ เห็นข้อเสนอแนะในการจัดกจิ กรรม ผลการศกึ ษาพบว่า ความคดิ เหน็ ของนักศกึ ษา ท่ีเข้ารับการอบรมโครงการ สามารถสรปุ ผลการประเมิน ความพึงพอใจของโครงการพัฒนาวชิ าการ วิชาพัฒนาอาชีพใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ระดับ ม.ตน้ ดา้ นสื่อ / อปุ กรณ์ ในการจัดกจิ กรรมโครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๔.๓๑ ) ๑. ส่ือและอปุ กรณ์ ระดบั ดี ( ๔.๔ ) ๑.๑ อปุ กรณ์ / วสั ดุ มคี วามเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดับ ดี ( ๔.๔ ) ๑.๒ สอ่ื / เอกสารตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ ข้ารบั การอบรม มีความพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๓.๙๕ ) ๑.๓ วิทยากรมคี วามร้คู วามเชี่ยวชาญ มีความพึงพอใจในระดับ ดีมาก ( ๔.๘๕ ) ๒. ดา้ นเนื้อหา / กิจกรรม ในการดำเนินโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดบั ดีมาก ( ๔.๕๘ ) ๒.๑ ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องวชิ าพัฒนาอาชีพใหม้ ีความเขม้ แขง็ หลงั จากท่ี เข้าร่วม มีความพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๔.๑ ) ๒.๒ ผู้เข้ารบั การอบรมไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง มีความพงึ พอใจใน ระดับ ดีมาก ( ๔.๖๕ ) ๒.๓ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รับไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวันของตนเอง มีความพึงพอใจใน ระดับ ดีมาก ( ๕ ) ๓. ดา้ นการบริการจดั การ ของโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดบั ดี ( ๓.๙๓ ) ๓.๑ ในการจัดโครงการฯ กจิ กรรมมีความหลากหลาย มีความพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๓.๗๕ ) ๓.๒ ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมโครงการฯ มีความเหมาะสม มคี วามพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๓.๕ ) ๓.๓ สถานท่ใี นการจัดโครงการพฒั นาวชิ าการ วชิ าพัฒนาอาชพี ใหม้ คี วามเข้มแขง็ ระดบั ม.ต้น มคี วามพึงพอใจใน ระดับ ดมี าก ( ๔.๕๕ ) ขอ้ เสนอแนะ

ห น้ า | ๔๐ 1. อยากให้มกี ารจดั กจิ กรรมอย่างทางนอ้ี ีก 2. มีกจิ กรรมให้ได้ศึกษาหลายอยา่ ง 3. วิทยากรอธบิ ายชัดเจน ตรงประเด็น การอภิปรายผล โครงการพัฒนาวชิ าการ วชิ าพัฒนาอาชีพให้มคี วามเขม้ แขง็ ระดับ ม.ตน้ พบวา่ ผู้เรียนมีความตง้ั ใจสนใจดี มาก วทิ ยากรทกุ คนเอาใจใสเ่ ตรียมความพรอ้ มเป็นอยา่ งดี วิทยากรบรรยายถา่ ยทอดความรเู้ ข้าใจดี หลังจาก การอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจเร่อื ง สามารถวิเคราะห์ เหน็ ความสำคญั และปฏิบัตกิ ารแสวงหาความร้จู ากการ อา่ น ฟงั และสรุปได้ถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ สามารถจำแนก จัดลำดบั ความสำคัญ และเลอื กใชแ้ หล่งเรียนรไู้ ด้ อย่างเหมาะสม สามารถวิเคราะหป์ ญั หา ความจำเปน็ เหน็ ความสัมพนั ธ์ของกระบวนการวิจัยกบั การนำไปใชใ้ น ชีวิตประจำวัน และดำเนินการวิจยั ทดลองตามขัน้ ตอน ผู้เรียนมคี วามร้เู พิ่มขึ้นจากก่อนเข้ารบั การอบรมดมี าก และมคี วามพงึ พอใจในการอบรมโครงการพัฒนาวชิ าการ วิชาพฒั นาอาชพี ให้มีความเข้มแขง็ ระดับ ม.ต้น มี ความพึงพอใจของโครงการฯ ระดับ ดี ( ๔.๓๑ ) โดยคิดเป็นร้อยละ ๘๒.๒๒ โดยดูจากการประเมินความพึง พอใจของโครงการพัฒนาวชิ าการ วิชาพัฒนาอาชีพใหม้ คี วามเขม้ แข็ง ระดับ ม.ต้น ดังนี้ 1. ด้านสื่อ / อปุ กรณ์ ในการจดั กจิ กรรมโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๔.๔ ) 2. ดา้ นเนื้อหา / กิจกรรม ในการดำเนนิ โครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดบั ดีมาก ( ๔.๕๘ ) 3. ดา้ นการบรกิ ารจัดการ ของโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดบั ดี ( ๓.๙๓ ) ภาพกจิ กรรม :กิจกรรมทด่ี ำเนนิ งานดา้ นการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน โครงการพฒั นาวชิ าการ วิชาพัฒนาอาชพี ใหม้ ีความเขม้ แขง็ ระดับ ม.ต้น วนั ที่ 19 พฤศจิกายน 2562 ณ กศน.ตำบลโคกพระ อำเภอกนั ทรวชิ ัย จังหวดั มหาสารคาม นกั ศกึ ษาเข้ารว่ มรบั ฟังการบรรยายใหค้ วามรู้ ในรายวิชาพัฒนาอาชีพใหม้ ีความเข้มแข็ง ระดบั ม.ต้น จาก นายนคร ช่างยันต์ ครู กศน.ตำบลโคกพระ

ห น้ า | ๔๑ ผลการดำเนนิ งานโครงการพฒั นาวชิ าการ วชิ าศลิ ปศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน้ วนั ท่ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ............................................................................... ความเป็นมา โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซ่ึงมี จดุ มงุ่ หมายเพอื่ ให้ผู้เรียนมคี วามรู้ เกิดทักษะและทัศนคติท่ดี ใี นด้านการจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่เี ปน็ วิชาการ วิชาศิลปศกึ ษา เปน็ สาระหนง่ึ ในรายวชิ าพ้นื ฐาน เพื่อพฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจให้นักศึกษาไดม้ ีทกั ษะ ทางด้านวชิ าศิลปศกึ ษา ตลอดจนความเป็นอยขู่ องนักศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อำเภอกันทรวิชยั จงึ ไดท้ ำโครงการพัฒนาวชิ าการ วชิ าศิลปศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน้ ข้ึน วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ให้นักศกึ ษามีความรู้เข้าใจวิชาวชิ าศลิ ปศึกษา ได้อย่างถูกตอ้ ง ๒. ใหน้ ักศึกษาได้มีทักษะในการดำรงชวี ติ ท่ีสามารถนำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ ๓. เพอ่ื ให้นักศึกษามผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาวชิ าศิลปศึกษา สงู ขนึ้ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ นักศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ที่ลงทะเบยี นเรยี นวิชาศลิ ปศึกษา ระดบั ม.ต้น จากการสำรวจการแจง้ ความประสงค์ มนี ักศกึ ษาที่จะเขา้ ร่วมโครงการฯครั้งนี้ กศน.ตำบลโคกพระ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รวมจำนวน 48 คน

ห น้ า | ๔๒ เชงิ คณุ ภาพ นักศกึ ษา กศน.รอ้ ยละ ๘๐ ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการพฒั นาวชิ าการ วิชาศิลปศกึ ษา ระดับ ม.ตน้ ไดม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการดำเนินชีวติ และปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ ระยะเวลาและสถานที่ วันท่ี ๒1 พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ผลการดำเนินงาน กิจกรรมดำเนินการตามลำดับดงั นี้ จากการประเมินโครงการพัฒนาวิชาการ วชิ าวิชาศลิ ปศึกษา ระดับ ม.ต้น ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๓ นกั ศึกษาท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ นักศึกษาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ รวมจำนวน 48 คน ในการประเมนิ โครงการ จากการสมุ่ แล้วนำข้อมลู มาวเิ คราะห์หาค่าสถิติพ้นื ฐาน ค่ารอ้ ยละ ( % ) ซ่งึ การประเมินในครั้งน้ี ส่มุ ประเมินนกั ศกึ ษาจำนวน ๑๗ คน สรปุ ผลการประเมินโครงการพัฒนาวิชาการ วิชาศิลปศึกษา ดงั นี้ ตอนที่ ๑ ผลการประเมนิ ข้อมูลทัว่ ไป ผลการศึกษาพบวา่ นักศึกษาทเ่ี ขา้ รับการอบรมส่วนมากจะเป็น เพศชาย ๗๐ % อายุระหว่าง ๑๖ - ๓๐ ปี ๖๕ % และระดับการศกึ ษา เป็นนักศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ๑๐๐ % ตอนที่ ๒ ผลการประเมนิ ความคดิ เห็นข้อเสนอแนะในการจดั กจิ กรรม ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเหน็ ของนกั ศกึ ษา ทเ่ี ขา้ รับการอบรมโครงการ สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของโครงการพัฒนาวิชาการ วิชาศิลปศึกษา ระดับ ม.ต้น ด้านส่อื / อุปกรณ์ ในการจดั กจิ กรรม โครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๔.๓๑ ) ๑. สอ่ื และอุปกรณ์ ระดบั ดี ( ๔.๔ ) ๑.๑ อุปกรณ์ / วสั ดุ มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดบั ดี ( ๔.๔ ) ๑.๒ ส่อื / เอกสารตรงกับความต้องการของผเู้ ขา้ รบั การอบรม มคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( ๓.๙๕ ) ๑.๓ วทิ ยากรมีความรู้ความเชี่ยวชาญ มีความพึงพอใจในระดับ ดีมาก ( ๔.๘๕ ) ๒. ดา้ นเนอ้ื หา / กิจกรรม ในการดำเนินโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดับ ดมี าก ( ๔.๕๘ ) ๒.๑ ผู้เข้ารับการอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งเก่ยี วกับวิชาศิลปศึกษา หลังจากที่เข้ารว่ มกจิ กรรม มคี วามพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๔.๑ ) ๒.๒ ผเู้ ข้ารบั การอบรมไดร้ บั ประโยชน์จากการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง มีความพึงพอใจใน ระดับ ดีมาก ( ๔.๖๕ ) ๒.๓ ผ้เู ข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ท่ไี ดร้ บั ไปปรบั ใช้ในได้ มคี วามพงึ พอใจใน ระดบั ดีมาก ( ๕ ) ๓. ด้านการบริการจัดการ ของโครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๓.๙๓ ) ๓.๑ ในการจัดโครงการฯ กิจกรรมมีความหลากหลาย มีความพึงพอใจในระดับ ดี ( ๓.๗๕ ) ๓.๒ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมโครงการฯ มคี วามเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดบั ดี ( ๓.๕ ) ๓.๓ สถานที่ในการจัดโครงการฯ มคี วามเหมาะสม มีความพงึ พอใจใน ระดับ ดมี าก ( ๔.๕๕ ) ขอ้ เสนอแนะ 4. อยากให้มีการจดั กิจกรรมอยา่ งทางน้อี ีก 5. มีกจิ กรรมให้ได้ศกึ ษาหลายอยา่ ง 6. วิทยากรอธบิ ายชัดเจน ตรงประเดน็

ห น้ า | ๔๓ การอภปิ รายผล โครงการพฒั นาวชิ าการ วิชาศิลปศึกษา ระดับ ม.ตน้ พบวา่ ผเู้ รยี นมคี วามตั้งใจสนใจดีมาก วิทยากรทกุ คนเอาใจใสเ่ ตรียมความพรอ้ มเปน็ อยา่ งดี วทิ ยากรบรรยายถ่ายทอดความรเู้ ขา้ ใจดี หลังจากการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรอ่ื ง ทัศนศลิ ป์ นาฎศิลป์ ดนตรี ผูเ้ รียนมีความรู้เพ่ิมขึน้ จากก่อนเขา้ รับการอบรมดีมาก และ.มคี วาม พึงพอใจในการอบรมโครงการพฒั นาวชิ าการ วิชาศลิ ปศกึ ษา ระดับ มีความพึงพอใจของโครงการฯ ระดบั ดี ( ๔.๓๑ ) โดยคิดเปน็ ร้อยละ ๘๒.๒๒ โดยดูจากการประเมินความพึงพอใจของโครงการพัฒนา วชิ าการ วชิ าวิชาศิลปศกึ ษา ดงั นี้ 1. ด้านสอื่ / อุปกรณ์ ในการจดั กจิ กรรมโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๔.๔ ) 2. ด้านเนื้อหา / กจิ กรรม ในการดำเนนิ โครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดบั ดมี าก ( ๔.๕๘ ) 3. ดา้ นการบรกิ ารจดั การ ของโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๓.๙๓ ) ภาพกิจกรรม :กิจกรรมทด่ี ำเนินงานด้านการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน โครงการพฒั นาวิชาการ วิชาศิลปศึกษา ระดบั ม.ต้น วันท่ี 21 พฤศจิกายน 2562 ณ กศน.ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวชิ ัย จังหวัดมหาสารคาม นกั ศกึ ษาเข้าร่วมรับฟงั การบรรยายให้ความรู้ ในรายวิชาพฒั นาอาชพี ใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ระดับ ม.ตน้ จาก นายนคร ช่างยันต์ ครู กศน.ตำบลโคกพระ

ห น้ า | ๔๔ ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาวิชาการ วิชาพฒั นาอาชพี ใหม้ ีความม่ันคง ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย วนั ท่ี 26 พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ............................................................................... ความเป็นมา โครงสรา้ งหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซง่ึ มี จุดม่งุ หมายเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติที่ดีในงานอาชีพ วเิ คราะห์ลกั ษณะงาน ขอบข่ายงาน อาชีพในชุมชนสังคม ประเทศ และโลกท่ีเหมาะสมกับศกั ยภาพของตน และสอดคลอ้ งกบั ชมุ ชนเพื่อการพฒั นา อาชีพ เกิดทักษะและทศั นคติทดี่ ใี นด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เปน็ วชิ าการวชิ าพฒั นาอาชพี ให้มคี วามมน่ั คง เป็นสาระหนงึ่ ในรายวชิ าพ้นื ฐาน เพ่ือพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้ ตลอดจนความเปน็ อยขู่ องนกั ศกึ ษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอกนั ทรวิชยั จงึ ได้ทำโครงการพฒั นาวิชาการ วิชาพฒั นาอาชพี ให้มีความมั่นคง ระดบั ม.ปลาย ขนึ้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใหน้ ักศึกษามคี วามร้เู ข้าใจวิชาพัฒนาอาชีพให้มคี วามมั่นคง ระดบั ม.ปลาย มากข้ึน ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ 2. ให้นักศึกษาไดม้ ีทักษะในการดำรงชีวิต ท่ีสามารถนำไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ 3. เพื่อให้นกั ศึกษามผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาพฒั นาอาชพี ให้มีความมั่นคง ระดับ ม.ปลาย สงู ขึ้น กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย

ห น้ า | ๔๕ เชิงปรมิ าณ นักศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ที่ลงทะเบยี นเรียนวิชาพฒั นาอาชพี ใหม้ คี วามมนั่ คง ระดับ ม.ปลาย จากการสำรวจการแจ้งความประสงค์ มนี กั ศกึ ษาที่จะเข้ารว่ มโครงการฯครงั้ น้ี กศน.ตำบล โคกพระ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ รวมจำนวน 75 คน เชิงคณุ ภาพ นกั ศกึ ษา กศน.รอ้ ยละ ๘๐ ทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการพฒั นาวชิ าการ วชิ า วชิ าพฒั นาอาชีพให้มี ความมนั่ คง ระดบั ม.ปลาย ไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะการดำเนินชวี ิต และปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ ระยะเวลาและสถานท่ี วันที่ 26 พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ผลการดำเนินงาน กิจกรรมดำเนนิ การตามลำดับดงั นี้ จากการประเมินโครงการพัฒนาวชิ าการ วิชาพัฒนาอาชีพใหม้ ีความม่ันคง ระดบั ม.ปลาย ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๓ นกั ศกึ ษาที่เข้ารว่ มกจิ กรรมเป็นนักศกึ ษาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวมจำนวน 75 คน ในการประเมินโครงการ จากการสุ่ม แลว้ นำขอ้ มูลมาวเิ คราะห์หาค่าสถิติพ้นื ฐาน ค่ารอ้ ยละ ( % ) ซ่ึงการประเมนิ ในครงั้ น้ี สมุ่ ประเมนิ นักศกึ ษาจำนวน 40 คน สรุปผลการประเมินโครงการพฒั นาวิชา พฒั นาอาชีพใหม้ คี วามมั่นคง ระดับ ม.ปลาย ดังนี้ ตอนที่ ๑ ผลการประเมินข้อมูลท่วั ไป ผลการศึกษาพบวา่ นักศกึ ษาทเ่ี ขา้ รบั การอบรมส่วนมากจะเป็น เพศชาย ๗๐ % อายุระหวา่ ง ๑๖ - ๓๐ ปี ๖๕ % และระดบั การศกึ ษา เปน็ นักศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๑๐๐ % ตอนที่ ๒ ผลการประเมินความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะในการจดั กิจกรรม ผลการศกึ ษาพบวา่ ความคดิ เหน็ ของนักศกึ ษา ที่เข้ารบั การอบรมโครงการ สามารถสรปุ ผลการประเมิน ความพงึ พอใจของโครงการพัฒนาวชิ าการ วชิ า วิชาพฒั นาอาชีพให้มีความม่ันคง ระดบั ม.ปลาย ด้านสอ่ื / อุปกรณ์ ในการจดั กิจกรรมโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดบั ดี ( ๔.๓๑ ) ๑. สื่อและอุปกรณ์ ระดับ ดี ( ๔.๔ ) ๑.๑ อปุ กรณ์ / วสั ดุ มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดับ ดี ( ๔.๔ ) ๑.๒ สื่อ / เอกสารตรงกับความต้องการของผู้เขา้ รับการอบรม มคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( ๓.๙๕ ) ๑.๓ วทิ ยากรมีความรคู้ วามเช่ยี วชาญ มีความพงึ พอใจในระดับ ดมี าก ( ๔.๘๕ ) ๒. ดา้ นเนอ้ื หา / กจิ กรรม ในการดำเนนิ โครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดับ ดมี าก ( ๔.๕๘ ) ๒.๑ ผเู้ ข้ารับการอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจในเร่อื งเกีย่ วกบั วิชาพฒั นาอาชีพให้มคี วามม่ันคง ระดบั ม.ปลาย หลงั จากท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรม มีความพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๔.๑ ) ๒.๒ ผูเ้ ข้ารบั การอบรมไดร้ ับประโยชนจ์ ากการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง มีความพงึ พอใจใน ระดบั ดีมาก ( ๔.๖๕ ) ๒.๓ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรทู้ ่ไี ด้รบั ไปปรับใช้ในได้ มีความพึงพอใจใน ระดบั ดีมาก ( ๕ ) ๓. ดา้ นการบริการจัดการ ของโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( ๓.๙๓ ) ๓.๑ ในการจัดโครงการฯ กจิ กรรมมคี วามหลากหลาย มีความพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๓.๗๕ ) ๓.๒ ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมโครงการฯ มีความเหมาะสม มีความพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๓.๕ ) ๓.๓ สถานทีใ่ นการจัดโครงการฯ มคี วามเหมาะสม มีความพึงพอใจใน ระดับ ดีมาก ( ๔.๕๕ ) ข้อเสนอแนะ

ห น้ า | ๔๖ 1. อยากใหม้ ีการจัดกจิ กรรมอย่างทางน้ีอกี 2. มกี ิจกรรมใหไ้ ด้ศึกษาหลายอย่าง 3. วิทยากรอธิบายชดั เจน ตรงประเดน็ การอภปิ รายผล โครงการพฒั นาวิชาการวิชาพฒั นาอาชพี ให้มคี วามมน่ั คง ระดับ ม.ปลาย พบว่าผเู้ รียนมคี วามตัง้ ใจสนใจ ดีมาก วทิ ยากรทกุ คนเอาใจใส่เตรยี มความพร้อมเป็นอย่างดี วิทยากรบรรยายถา่ ยทอดความร้เู ข้าใจดี หลงั จาก การอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจมีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ีดใี นงานอาชพี วเิ คราะห์ลักษณะงาน ขอบขา่ ย งานอาชีพในชุมชนสงั คม ประเทศ และโลกท่เี หมาะสมกบั ศกั ยภาพของตน และสอดคล้องกับชุมชนเพอ่ื การพฒั นา อาชพี ผเู้ รยี นมคี วามรูเ้ พมิ่ ข้นึ จากกอ่ นเข้ารับการอบรมดีมาก และมีความพึงพอใจในการอบรมโครงการพัฒนา วชิ าการ วชิ าพฒั นาอาชพี ให้มีความมัน่ คง ระดับ ม.ปลาย ระดบั มีความพึงพอใจของโครงการฯ ระดบั ดี (๔.๓๑ ) โดยคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๒.๒๒ โดยดูจากการประเมนิ ความพงึ พอใจของโครงการพฒั นาวิชาการ วชิ าพฒั นาอาชพี ใหม้ คี วามมนั่ คง ระดับ ม.ปลาย ดังน้ี 1. ด้านสื่อ / อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับ ดี ( ๔.๔ ) 2. ด้านเนือ้ หา / กิจกรรม ในการดำเนนิ โครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดบั ดีมาก ( ๔.๕๘ ) 3. ด้านการบรกิ ารจัดการ ของโครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๓.๙๓ ) ภาพกิจกรรม :กิจกรรมทดี่ ำเนินงานด้านการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โครงการพฒั นาวชิ าการ วิชาพัฒนาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง ระดบั ม.ปลาย วันท่ี 26 พฤศจิกายน 2562 ณ กศน.ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวชิ ัย จงั หวัดมหาสารคาม นักศกึ ษาเขา้ ร่วมรบั ฟงั การบรรยายใหค้ วามรู้ ในรายวิชาพฒั นาอาชีพใหม้ คี วามมน่ั คง ระดับ ม.ปลาย จาก นายนคร ช่างยันต์ ครู กศน.ตำบลโคกพระ

ห น้ า | ๔๗ ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาวิชาการ วชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย วันที่ 28 พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ............................................................................... ความเปน็ มา โครงสรา้ งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ซ่ึงมีจดุ มุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ เกิดทกั ษะและทัศนคตทิ ่ีดีในด้านการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ เ่ี ปน็ วชิ าการ โครงการพัฒนา วชิ าการ วชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เป็นสาระหนึ่งในรายวิชาพน้ื ฐาน เพ่ือพัฒนาผ้เู รยี น ให้มีความรู้ ความเข้าใจให้นกั ศกึ ษาไดม้ คี วามรใู้ นวิชาทกั ษะการเรียนรู้ ตลอดจนความเป็นอยขู่ องนักศกึ ษา ศนู ย์ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอกันทรวชิ ัย จึงได้ทำโครงการพฒั นาวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ขนึ้ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพือ่ ให้นกั ศึกษามคี วามรู้ เขา้ ใจวิชาวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ได้อย่างถกู ตอ้ ง ๒. ให้นกั ศึกษาได้มีความรู้ ทักษะในการดำรงชวี ิต ท่ีสามารถนำไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ ๓. เพ่อื ให้นกั ศึกษามีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สงู ขึน้ เปา้ หมาย

ห น้ า | ๔๘ เชิงปริมาณ นกั ศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ท่ีลงทะเบียนเรียนวิชาเศรษฐกิจ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จากการสำรวจการแจ้งความประสงค์ มีนักศึกษาที่จะเข้าร่วมโครงการฯ ครงั้ นี้ กศน.ตำบลโคกพระ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมจำนวน 80 คน เชิงคณุ ภาพ นกั ศกึ ษา กศน.ร้อยละ ๘๐ ที่เขา้ รว่ มโครงการพัฒนาวิชาการวชิ า วชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไดม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะการดำเนินชีวิต และปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ระยะเวลาและสถานท่ี วนั ท่ี 28 พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ผลการดำเนนิ งาน กจิ กรรมดำเนนิ การตามลำดบั ดงั นี้ จากการประเมินโครงการพัฒนาวชิ าการ วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๓ นกั ศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนกั ศึกษาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมจำนวน 80 คน ในการประเมินโครงการ จากการสุม่ แลว้ นำข้อมูลมาวเิ คราะห์หาค่าสถิตพิ น้ื ฐาน ค่ารอ้ ยละ ( % ) ซง่ึ การประเมินในครั้งน้ี สุ่มประเมนิ นกั ศึกษาจำนวน ๕๐ คน สรุปผลการประเมิน โครงการพฒั นาวิชาการ วิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ดังนี้ ตอนที่ ๑ ผลการประเมินขอ้ มลู ท่ัวไป ผลการศึกษาพบวา่ นักศึกษาที่เข้ารบั การอบรมส่วนมากจะเป็น เพศชาย ๗๐ % อายรุ ะหวา่ ง ๑๖ - ๓๐ ปี ๖๕ % และระดบั การศึกษา เปน็ นกั ศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๑๐๐ % ตอนที่ ๒ ผลการประเมินความคิดเห็นข้อเสนอแนะในการจดั กิจกรรม ผลการศึกษาพบวา่ ความคดิ เห็นของนักศกึ ษา ท่เี ขา้ รับการอบรมโครงการ สามารถสรุปผลการประเมิน ความพึงพอใจของโครงการพฒั นาวิชาการ วิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ด้านสื่อ / อปุ กรณ์ ในการจัดกิจกรรมโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๔.๓๑ ) ๑. สื่อและอุปกรณ์ ระดับ ดี ( ๔.๔ ) ๑.๑ อุปกรณ์ / วัสดุ มีความเหมาะสม มีความพึงพอใจในระดับ ดี ( ๔.๔ ) ๑.๒ สื่อ / เอกสารตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ ขา้ รับการอบรม มีความพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๓.๙๕ ) ๑.๓ วิทยากรมคี วามร้คู วามเชีย่ วชาญ มีความพึงพอใจในระดับ ดมี าก ( ๔.๘๕ ) ๒. ด้านเน้ือหา / กจิ กรรม ในการดำเนนิ โครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดับ ดมี าก ( ๔.๕๘ ) ๒.๑ ผูเ้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลงั จากทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรม มคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( ๔.๑ ) ๒.๒ ผู้เข้ารบั การอบรมไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง มีความพึงพอใจใน ระดับ ดีมาก ( ๔.๖๕ ) ๒.๓ ผูเ้ ข้ารับการอบรมสามารถนำความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวันของตนเอง มีความพงึ พอใจใน ระดบั ดมี าก ( ๕ ) ๓. ดา้ นการบริการจัดการ ของโครงการฯ ภาพรวมมคี วามพึงพอใจในระดับ ดี ( ๓.๙๓ ) ๓.๑ ในการจัดโครงการฯ กจิ กรรมมีความหลากหลาย มีความพึงพอใจในระดบั ดี ( ๓.๗๕ ) ๓.๒ ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมโครงการฯ มีความเหมาะสม มีความพงึ พอใจในระดบั ดี ( ๓.๕ ) ๓.๓ สถานท่ใี นการจัดโครงการพัฒนาวชิ าการ วิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มีความพึงพอใจ ระดับ ดมี าก ( ๔.๕๕ ) ข้อเสนอแนะ

ห น้ า | ๔๙ 1. อยากให้มีการจดั กจิ กรรมอยา่ งทางนอ้ี ีก 2. มีกิจกรรมให้ได้ศึกษาหลายอย่าง 3. วทิ ยากรอธิบายชดั เจน ตรงประเด็น การอภิปรายผล โครงการพัฒนาวิชาการวชิ า วชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย พบวา่ ผู้เรยี นมคี วาม ตั้งใจสนใจดีมาก วิทยากรทกุ คนเอาใจใสเ่ ตรยี มความพรอ้ มเป็นอย่างดี วทิ ยากรบรรยายถ่ายทอดความร้เู ข้าใจดี หลงั จากการอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจเร่อื ง การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองเปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีผเู้ รยี นริเรม่ิ การเรยี นรู้ ด้วยตนเอง ตามความสนใจ ความตอ้ งการ และความถนัด มเี ป้าหมาย ร้จู ักแสวงหาแหล่งทรพั ยากรของการ เรยี นรู้ เลอื กวิธกี ารเรยี นรู้ จนถึงการประเมินความกา้ วหน้าของการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถวเิ คราะห์ปัญหา ความจำเปน็ เหน็ ความสมั พนั ธ์ของกระบวนการวจิ ยั กับการนำไปใช้ในชีวิต และดำเนนิ การวิจัยทดลองตามขน้ั ตอน ผู้เรยี นมีความรูเ้ พิ่มขึ้นจากกอ่ นเข้ารับการอบรมดีมาก และมคี วามพงึ พอใจในการอบรมโครงการพฒั นาวิชาการ วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย มีความพึงพอใจของโครงการฯ ระดับ ดี ( ๔.๓๑ ) โดยคิด เปน็ รอ้ ยละ ๘๒.๒๒ โดยดูจากการประเมินความพงึ พอใจของโครงการพฒั นาวชิ าการ วิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ดงั นี้ 1. ด้านสื่อ / อปุ กรณ์ ในการจดั กิจกรรมโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดบั ดี ( ๔.๔ ) 2. ดา้ นเนอ้ื หา / กิจกรรม ในการดำเนินโครงการฯ ภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับ ดมี าก ( ๔.๕๘ ) 3. ดา้ นการบริการจัดการ ของโครงการฯ ภาพรวมมีความพงึ พอใจในระดับ ดี ( ๓.๙๓ ) ภาพกิจกรรม :กิจกรรมทด่ี ำเนนิ งานด้านการศึกษาขนั้ พื้นฐาน โครงการพัฒนาวชิ าการ วิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับ ม.ปลาย วนั ท่ี 28 พฤศจิกายน 2562 ณ กศน.ตำบลคนั ธารราษฎร์ อำเภอกันทรวิชยั จังหวดั มหาสารคาม

ห น้ า | ๕๐ นักศกึ ษาเข้าร่วมรบั ฟงั การบรรยายใหค้ วามรู้ ในรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ ม.ปลาย จาก นายนคร ช่างยันต์ ครู กศน.ตำบลโคกพระ ผลการดำเนนิ งานโครงการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม วันท่ี 29 มกราคม ๒๕๖๓ ณ กศน.ตำบลโคกพระ ............................................................................... ความเป็นมา โครงสรา้ งหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ซึง่ มจี ดุ มุ่งหมาย เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีความรู้ เกิดทกั ษะและทัศนคติท่ีดีในด้านการจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่เป็นวิชาการ โครงการ เสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม เปน็ สาระหน่ึงในรายวชิ าพนื้ ฐาน เพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจให้ นกั ศึกษาได้มคี วามรูใ้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ตลอดจนความเป็นอย่ขู องนักศึกษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอกนั ทรวชิ ยั จึงไดท้ ำคุณธรรม จรยิ ธรรม ข้นึ วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้นกั ศึกษามคี วามรู้ เข้าใจในเรอ่ื งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ๒. ใหน้ กั ศึกษาสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ เปา้ หมาย เชิงปรมิ าณ กลุ่มเปา้ หมาย จากการสำรวจการแจง้ ความประสงค์ มนี ักศกึ ษาที่จะเข้ารว่ มโครงการฯ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook