Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice เชียงรากน้อย1

Best Practice เชียงรากน้อย1

Published by smiththidasripracaks, 2022-04-22 06:23:19

Description: Best Practice เชียงรากน้อย1

Search

Read the Text Version

(Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งรากนอ ย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร 1. ชือ่ ผลงาน แนวทางการใชว ตั ถุดิบในทองถิ่นมาใชในการพฒั นาภมู ิปญญาดา นการทำไขเคม็ สมนุ ไพร 2. หนวยงาน กศน.ตำบลเชียงรากนอย ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร โทรศัพท 035-371509 3. คณะทำงาน นายสมิทธิ์ดา ศรปี ระจกั ษ 4. ความสอดคลอง แนวปฏิบตั ิทด่ี ี (Best PratiCe) เรอ่ื ง การทำไขเคม็ สมนุ ไพร จัดทำขึ้นโดยมีการวเิ คราะหความ สอดคลอ งกบั วสิ ัยทัศน และภารกจิ ตอเน่ือง และจุดเนน นโยบาย และ ของสำนักงาน กศน. ดังน้ี การพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ICT (Information and Communication Technologies) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบดวย 7 เรื่องยอย ไดแก (1) Data Center ศูนยขอมูลกลาง (2) Big Data ขอมูลขนาดใหญ (คลังขอมูล การนำ ขอมูลมารวมกัน) (3) Platform (e-library e-learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5) e-office e- mail และ document (6) ระบบบริหารจัดการหองเรียน School และ Classroom Management และ (7) โครงสราง พื้นฐาน Infrastructure (Internet) การจัดการองคความรูและยกระดับทักษะที่จำเปน เนนพัฒนาความรูและสมรรถนะ ดาน Digital Literacy สำหรับผเู รยี นที่มีความแตกตางกันตามระดับและประเภทของการจัดการศึกษา เชน STEM Coding เปน ตน การศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทำ พัฒนา 3 ทักษะหลัก ไดแก โลกทัศนอาชีพ การเสริมทักษะใหม (Up Skill) และการเพิ่มทักษะใหมที่จำเปน (Re-Skills) ใหแกกลุมเปาหมาย ประกอบดวย (1) ผูอยูในระบบการศึกษา (การศึกษาข้ัน พื้นฐาน และอาชีวศึกษา) (2) ผูอยูนอกระบบการศึกษา (3) วัยแรงงาน และ (4) ผูสูงอายุ เพื่อใหมีทักษะและสมรรถนะ สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากเทคโนโลยดี ิจิทลั และอาชีพท่ีเกิดขึ้นใหม (Digital Disruption) โดยเนนเพิ่มบทบาท ของ กศน.ในการ Re-Skills ดานอาชีวศึกษากับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การตา งประเทศ เนน ภารกิจท่ีตอง ใชค วามรว มมือระดับนานาชาติในการจัดหาครูชาวตางชาติใหแกสถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อจัดการศึกษาในสถานศึกษา 2 ดานหลัก ๆ ไดแก (1) ดานภาษาตางประเทศ และ (2) ดานวิชาการ โดยเฉพาะ อาชีวศกึ ษา กฎหมายและระเบยี บ เนน แผนงาน 2 เรือ่ ง ทบ่ี รรจุอยใู นแผนการปฏริ ูปประเทศดานการศึกษา ประกอบดวย เร่ืองที่ 1 : การปฏริ ูประบบการศึกษาและการเรียนรโู ดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับ ใหมแ ละกฎหมายลำดับรอง มีประเดน็ ปฏริ ูป 5 ประเดน็ ไดแก – การมพี ระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. …. และมี การทบทวน จัดทำ แกไข และปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ – การสรางความรวมมือระหวางรัฐ องคกรปกครองสวน ทองถิ่นและเอกชน เพื่อการจัดการศึกษา – การขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพื่อการ เรียนรูตลอดชีวิตเพื่อรองรับการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต – การทบทวนและปรับปรุงแผนการศึกษาแหงชาติ – การจดั ตง้ั สำนกั งานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแหงชาติ

เรื่องที่ 6 การปรับโครงสรางของหนวยงานในระบบการศึกษา ประกอบดวยประเด็นปฏิรูป 3 ประเด็น ไดแก สถานศึกษามีความเปนอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การปรับปรุงโครงสรางของ กระทรวงศึกษาธิการ ระบบบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวิชาการของแตละหนวยงานใน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อไมใหเกิดความซ้ำซอนในการจัดฝกอบรมใหแตละกลุมเปาหมาย และใชประโยชนจาก สถาบันพัฒนาที่มีอยูแลว เชน สถาบนั พัฒนาครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อเปนหนวยงานกลางในการจัด ฝกอบรมพัฒนาทักษะสมรรถนะใหแกบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ (ผูบริหารหนวยงานทุกระดับ ผูบริหาร สถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ครู อาจารย และบุคลากรอื่น ๆ) รวมทั้งพัฒนายกระดับใหเปนสถาบันฝกอบรมระดับ นานาชาติ การประชาสัมพันธ โดยจัดตั้งศูนยประชาสัมพันธของกระทรวงศึกษาธิการ เปนหนวยงานสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินการผลิตสื่อและจัดทำเนื้อหา (Content) เพื่อเผยแพรผลงาน กิจกรรมและการเขา รวมงานตาง ๆ ของทุกหนวยงานในภาพรวมของ กระทรวงศึกษาธิการการพัฒนาเด็กปฐมวัย ดำเนินการขับเคลื่อน นโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาและการเรียนรูสำหรับเด็กปฐมวัย การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการ สงเสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ การรับเรื่องราวรองทุกขที่เกี่ยวของกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการนำ เทคโนโลยีมาใชในการบริหารจัดการ เชน การยกระดับตอบรับอัตโนมัติเพื่อแกไขปญหาเบื้องตน (Call Center ดาน กฎหมาย) การวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการการรับเรื่องราวรองทุกขในภาพรวมของ กระทรวงศึกษาธิการ การปฏิรูปองคการและโครงสรางกระทรวงศึกษาธิการ การพัฒนาครู ในสาขาวิชาตาง ๆ เพื่อใหมี มาตรฐานวิชาชีพที่สูงขึ้น การศึกษายกกำลังสอง โดย – พัฒนาครูทุกระดับใหมีทักษะ ความรูที่จำเปน เพื่อทำหนาท่ี วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผานศูนยพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเปนเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) – จัดการเรียนรูตลอดชีวิตผานเว็บไซต http://www.deep.go.th โดย ปลดล็อกและเปดกวางใหภาคเอกชนสามารถเขามาพัฒนาเนื้อหา เพื่อใหผูเรียน ครู และผูบริหารทางการศึกษามี ทางเลอื กในการเรยี นรูท ่ีหลากหลาย และตลอดเวลาผา นแพลตฟอรมดานการศึกษาเพื่อความเปนเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) – ใหผูเรยี น ครู ผูบรหิ ารทางการศึกษามีแผนพฒั นารายบุคคลผานแผนพัฒนารายบุคคล สูความเปนเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) – จัดทำ “คูมือมาตรฐานโรงเรียน” เพื่อ กำหนดใหท กุ โรงเรยี นตองมีพืน้ ฐานทีจ่ ำเปน 6. วัตถุประสงค 1. เพ่อื จัดกิจกรรมการเรียนรกู ารทำไขเ คม็ สมนุ ไพร 2. เพื่อใชท รัพยากรที่มอี ยูในทอ งถ่ินมาใชใ หเกดิ ประโยชนและมีคุณคา เพ่มิ มากข้นึ 3. เพ่อื ใหป ระชาชนไดใชเวลาวา งใหเ กิดประโยชน 7. วธิ ีดำเนนิ การ การดำเนนิ การจัดกจิ กรรมรว มกับประชาชนตำบลเชยี งรากนอ ย 1.1 ประชุมวางแผนรว มกับประชาชน โดยมีขน้ั ตอนดังนี้ เสนอวัตถดุ ิบท่ีมีอยูในทอ งถนิ่ และความ ตอ งการของประชาชน โดยการเพ่ิมมูลคาของวัตถุดบิ ชนิดน้นั 1.2 อบรมใหความรูเร่อื งการทำไขเค็มสมุนไพร 1.3 ฝก ปฏิบัติการทำไขเ คม็ สมนุ ไพร 1.4 การพัฒนาการทำไขเคม็ สมนุ ไพร เปน ปลาชนดิ อ่นื เชน ปลาสวาย เปนตน

ปจ จัย หลักการและแนวคดิ ผลผลิต - หลักสตู ร แผนภมู ิ - หลักสูตร - แผนการจัดเรยี นรู - การทำไขเค็มสมนุ ไพร - ผบู ริหารบคุ ลากร ชมุ ชน กระบวนการ วิทยากร - หลักสูตร - งบประมาณ - การจดั การเรียนรู - จัดกจิ กรรมสง เสรมิ - การเรียนรูจ ากสือ่ ออนไลน - การฝกปฏิบตั กิ าร ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ - ไดหลกั สตู รที่ตรงตามความตองการของชุมชน - มีวตั ถดุ ิบท่ีมีอยูในทอ งถ่ิน - ครไู ดจดั กจิ กรรมตรงกับความตองการของประชาชน - ไดรับความรวมมือจากชมุ ชน 8. ตัวชี้วัดความสำเรจ็ (เกณฑการประเมินผลสำเร็จ) 1. ประชาชนมีความรูค วามสามารถ มที ักษะในการทำไขเ ค็มสมนุ ไพร 2. วทิ ยากรเปนผมู คี วามรคู วามสามารถ มีความต้ังใจในการฝก ปฏิบตั ิ 3. ประชาชนมีความตอ งการที่จะเรียนรกู ารทำไขเค็มสมุนไพร 9. เครือ่ งมอื การประเมนิ ผล การสอบถามความสนใจ 10. ผลการดำเนนิ งาน ผลจากการดำเนนิ งาน “แนวทางการใชว ัตถดุ ิบในทองถ่นิ มาใชใ นการพัฒนาภูมปิ ญ ญาดา นการทำไขเ ค็มสมุนไพร” ดังนี้ 1. ประชาชนมคี วามสนใจทจี่ ะเรียนรกู ารทำไขเคม็ สมุนไพร เพิม่ มากย่งิ ข้นึ 2. ประชาชนทำไขเค็มสมนุ ไพร ได และสามารถนำปลา อน่ื ๆ มาทำได เชน ปลาสวาย เปน ตน

11. บทสรปุ 1. ประชาชนมคี วามรคู วามสามารถ มที ักษะในการทำไขเค็มสมนุ ไพร 2. วิทยากรเปน ผมู ีความรคู วามสามารถ มีความต้งั ใจในการฝกปฏบิ ัติ 3. ประชาชนมีความตอ งการท่ีจะเรียนรใู นการทำหอ หมกเพ่มิ มากขึน้ 12. กลยุทธ หรือปจจัยที่ทำใหป ระสบความสำเร็จ การใชว ัตถดุ บิ ท่ีมีอยใู นทอ งถ่ินน้ัน นับวาเปน การใชใ หเกดิ ประโยชนม าก เพราะประชาชนไดเหน็ ถึงประโยชนข อง วัตถุดบิ ทีม่ ีอยนู น้ั วา สามารถนำมาใชประโยชนไ ด โดยการนำมาทำอาหาร มีมูลคาทางจิตใจ และมองเห็นชอ งทางในการ นำไปประกอบเปนอาชีพเสรมิ เพ่ือเพม่ิ รายไดใหกบั ครอบครัว 13. ขอ เสนอแนะ ในการจัดการศึกษาตอเนื่อง ในบางประเภทน้ัน สงิ่ หนงึ่ ที่ควรคำนงึ ถึง คอื วัตถดุ บิ ท่ีมีอยใู นทองถนิ่ และความ สนใจของประชาชนเปน พื้นฐาน 14. การอางอิง การจดั การศึกษาตอ เนอื่ ง ในรปู แบบตาง ๆ ของ กศน.อำเภอบางไทร https://m.facebook.com/%E0%B8%81%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B8%95%E0 %B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0% B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%82%E0%B8%97- %E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD%E0%B8%9A %E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A3- 1847644355475569/?ref=bookmarks 15. ภาคผนวก

คำนำ การจัดทำรายงานเรื่อง “แนวทางการใชทรัพยากรในทองถิ่นมาใชในการพัฒนาภูมิปญญาดานการทำไข เค็มสมุนไพร” เปน การจดั การเรียนรใู นเร่ืองของการใชทรัพยากรในทองถิน่ มาใชใหเกดิ ประโยชน เพม่ิ มลู คา ท่ีสรุปรายงาน เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนาใหกับประชาชนไดเรียนรูถึงการใชวัตถุดิบที่มีในทองถิ่น คือ ปลาชอน/ใบมะกรูด/ขา/ตะไคร เปนตน โดยมาทำใหเกิดมูลคาเพิ่มมากขึ้น ทั้งทางดานรางกาย ทั้งทางดานจิตใจ ความคิดสรางสรรคที่จะดัดแปลงวัตถุดิบ บางประเภท และการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน คือ การทำไขเค็มสมุนไพร ขึ้นในพื้นที่ของตำบลเชียงรากนอย ทำให ประชาชนนำผลผลิตที่เกิดขึ้นนั้นไปเผยแพรตอชุมชน เปนการลดรายจายเพิ่มรายไดใหกับประชาชน โดยการทำไขเค็ม สมุนไพร รวมทั้งอาจนำไปจำหนายได (นายสมทิ ธิ์ดา ศรีประจักษ) ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

สารบญั หนา เร่ือง 1 1 การทำไขเค็มสมนุ ไพร 2 ความเปน มา 2 วัตถปุ ระสงค 4 หลกั การและแนวคิด 5 วิธีปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน เลศิ 5 ตัวชวี้ ัดความสำเรจ็ (เกณฑการประเมนิ ผลสำเรจ็ ) 5 เครื่องมือการประเมนิ ผล 5 ผลการดำเนนิ งาน 5 บทสรปุ 6 กลยุทธ หรอื ปจจัยที่ทำใหป ระสบความสำเรจ็ ขอ เสนอแนะ การอา งอิง ภาคผนวก

ภาคผนวก

รปู ภาพประกอบ หลกั สูตรการทำไขเ ค็มสมุนไพรสมนุ ไพร จำนวน 5 ช่ัวโมง/วนั วันท่ี 21 มกราคม 2565 สถานท่จี ัด หมูท่ี 4 ตำบลเชียงรากนอ ย อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook