Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือขับเคลื่อนการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ

คู่มือขับเคลื่อนการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ

Published by E-BOOK HPC3, 2023-05-22 01:19:31

Description: คู่มือขับเคลื่อนการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ

Search

Read the Text Version

ขบั เคล่อื นการดาเนินงาน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

บทนา ชมรมผู้สูงอายุ เป็นองค์กรภาคประชาชนท่ีมีบทบาทสาคัญในการพัฒนา ระบบงานผู้สูงอายุ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทั้งในระดับ ปัจเจกบุคคล ระดับชมรมผู้สูงอายุ และระดับชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ดาเนินกิจกรรมท่ีตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ ท้ังในด้าน สขุ ภาพ สังคม และสวัสดกิ าร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักในการอภิบาล ระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี โดยได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคน ต้ังแต่ช่วงตั้งครรภ์/ปฐมวัย ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น ช่วงวัยทางาน จนถึงวัยผู้สูงอายุ รว่ มกบั การส่งเสรมิ ดา้ นอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม กรมอนามัย โดยสานักอนามัยผู้สูงอายุ Cluster กลุ่มผู้สูงอายุ ได้จัดทา คู่มือขับเคลื่อนการดาเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ เพ่ือเป็นแนวทาง ในการดาเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ เสริมสร้างและส่งเสริมให้ประชากร ไทยสุขภาพดี สามารถดูแลสุขภาวะของตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยการจัดทา “แผนการส่งเสริมสุขภาพดี ชะลอชรา ชีวายืนยาว (Wellness Plan)” พัฒนาองค์ความรู้การส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุใน 6 ประเด็นสาคัญ ได้แก่ โภชนาการดี การเคลื่อนไหวดี สุขภาพช่องปากดี สมองดี มีความสุข และส่ิงแวดล้อมดี โดยขับเคล่ือนผ่านการดาเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ/โรงเรียนผู้สูงอายุ ครอบครัว และชุมชน เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผู้สูงอายุเกิดความรอบรดู้ ้านสุขภาพ เตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพให้มีพฤติกรรม สุขภาพท่ีพึงประสงค์ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) และอยู่ใน สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาพดี เพอ่ื ลดภาระดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และครอบครวั สานกั อนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข มกราคม พ.ศ. 2565

สารบัญ หนา้ ชมรมผสู้ ูงอายุคืออะไร 1 ประโยชนข์ องการดาเนินงานชมรมผสู้ งู อายดุ า้ นสุขภาพ 1 การก่อต้งั ชมรมผสู้ ูงอายุ 2 แผนผังคณะกรรมการชมรมผ้สู งู อายุ 2 ลักษณะกจิ กรรมชมรมผู้สงู อายุ 3 กระบวนการขบั เคล่ือนชมรมผ้สู ูงอายดุ า้ นสุขภาพ 4 แนวทางการดาเนนิ งานชมรมผสู้ ูงอายุด้านสุขภาพ 5 เกณฑ์การดาเนินงานชมรมผู้สูงอายุด้านสุขภาพ 6 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพ่ือการป้องกัน 13 การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สาหรับชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียน 18 ผู้สงู อายุ แบบประเมินตามมาตรการปลอดภยั สาหรับองค์กร COVID Free Setting (Thai Stop COVID 2Plus) สาหรบั ชมรมผสู้ ูงอายุ/โรงเรยี นผสู้ งู อายุ

อายุ 60 ปีขึ้นไป 1 จานวนสมาชกิ ชมรมผู้สงู อายคุ อื อะไร 30 คน ข้ึนไป เป็นการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี บริบูรณ์ข้ึนไป ต้ังแต่ 30 คนข้ึนไปทั้ง ชายและหญิง โดยในชมรมสามารถมีผู้ที่มี อายุระหว่าง 25 – 59 ปี ได้ไม่เกิน 1 ใน 4 ของสมาชิกท่ีมีอายุเกิน 60 ปี ข้ึนไป โดยมี การดาเนินกิจกรรมของชมรมโดยผู้สูงอายุ เป็นสมาชิก เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์หรือ ความมุ่งม่ันของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุนั้นๆ และเพื่อสงั คมโดยรวม ประโยชนข์ องการดาเนนิ งานชมรมผูส้ ูงอายุด้านสุขภาพ 1 ผู้สูงอายุได้รับการประเมินพฤติกรรม 2 ผู้ สู ง อ า ยุ ก ลุ่ ม เ ส่ี ย ง ไ ด้ รั บ ก า ร สุขภาพท่ีพึงประสงค์ และจัดทาแผน ป รั บ เ ป ล่ี ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม สุ ข ภ า พ ส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) ได้ พฒั นาทกั ษะ กาย ใจ ตามบรบิ ทของตนเอง 3 ผู้สูงอายุมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุ มีสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ มี ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร และมีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี เคล่ือนไหว โภชนาการ สุขภาพช่องปาก สมองดี มีความสุข และสิ่งแวดล้อมที่ เออื้ ตอ่ ผู้สงู อายุ 5 ผู้สูงอายุได้ทาประโยชน์ต่อสังคม รสู้ กึ มีคณุ คา่ ในตนเอง

2 การกอ่ ต้งั ชมรมผู้สูงอายุ การก่อตั้ง ชมรมผู้สูงอายุควรเกิดข้ึนในหมู่บ้านหรือชุมชน มีท่ีตั้งชัดเจน และเกดิ จากความร่วมมอื ของสมาชิกสูงอายุในชุมชนเอง สถานที่ สถานท่ีที่มีอยู่ในชุมชน ไม่จาเป็นต้องสร้างข้ึนใหม่ อาจใช้ศาลาวัด ศาลาประชาคม หรือโรงเรียนท่ไี มม่ ีการเรยี นการสอนแลว้ ด้านสมาชิก ควรมีสมาชิกระหว่าง 30 – 100 คน เพอื่ ให้สามารถดูแลกันได้ อย่างท่ัวถึง โดยมีกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มวัยอื่นๆ ที่มีความต้ังใจท่ีจะทางาน รว่ มกนั ด้านกรรมการ กรรมการมาจากการเลือกตั้งจากสมาชิกที่พร้อมเสียสละ ทางานเพอ่ื ส่วนรวมและมีความเขม้ แขง็ ในการทางาน แผนผงั คณะกรรมการชมรมผสู้ งู อายุ ประธาน รองประธาน เลขานุการ (1 ตาแหน่ง) (ตามท่ีเห็นสมควร) (1 ตาแหนง่ ) ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร (1 ตาแหน่ง) เหรัญญกิ (1 ตาแหน่ง) ผชู้ ่วยเหรญั ญิก (1 ตาแหนง่ ) กรรมการกลาง ไม่เกิน 9 คน กรรมการอ่นื ๆ ตามท่ี เหน็ สมควร

3 ลักษณะกจิ กรรมชมรมผ้สู งู อายุ การก่อต้ังชมรมในระยะแรก ควรจัดทากิจกรรมท่ีเป็นความต้องการของ สมาชิกก่อน ในลักษณะกิจกรรมท่ัวไป แล้วค่อยพัฒนาไปสู่กิจกรรมเชิงพัฒนา โดยมตี วั อย่างกิจกรรมดงั น้ี กจิ กรรมท่ัวไป กจิ กรรมเชงิ พฒั นา 1.การ ประชุมกรรมก ารและสมาชิ ก 1.การประชมุ ระดมสมอง และข้อเสนอแนะ ตามปกติ รว่ มคิด ร่วมทา ร่วมแก้ไขปัญหาจากสมาชิก 2.การออกกาลงั กาย 2.การเป็นแกนนาโดยนาผอู้ น่ื ออกกาลงั กาย 3.การเลีย้ งอาหารกันเอง 3.การไปเลี้ยงอาหารผู้ด้อยโอกาสและ ช่วยเหลอื ผู้อ่นื 4.กจิ กรรมนนั ทนาการ 4.กจิ กรรมเพ่อื พัฒนาชุมชน/สงั คม 5.การขอคาปรกึ ษา 5.การให้คาปรึกษา 6.การฟังการบรรยายจากวทิ ยากร 6 . ก า ร เ ป็ น วิ ท ย า ก ร บ ร ร ย า ย แ ล ะ ถา่ ยทอดให้ผอู้ ื่น 7.การบริจาคเงินของสมาชิก เพ่ือทา 7.การทาโครงการ โดยการคิดหาแหล่ง กจิ กรรม ทนุ จากภายนอก 8.การศกึ ษาดงู านชมรมอ่นื ๆ 8.การเป็นแหล่งศึกษาดูงาน ศูนย์การ เรียนรู้ให้กับชมรมและกล่มุ อื่นๆ 9.การดงู านและทัศนศึกษา 9.การประยุกต์ความรู้และนาไปใช้กับ ชมรมอย่างเหมาะสมกับชมรมตนเองโดย รว่ มคิดร่วมทา 10.การทากิจกรรมที่สนองต่อนโยบาย 10.การทางานเชิงรุก และบูรณาการใน ภาครฐั การพัฒนาชมุ ชน 11.การทางานกับกลมุ่ สมาชกิ ในชุมชน 11.ชมรมทางานร่วมกับเครือข่ายผู้สูงอายุ ในตาบล อาเภอ จังหวัด และ เครือข่าย อืน่ ๆ ท่มี า (หนังสอื การพัฒนาศกั ยภาพเครอื ข่ายชมรมผ้สู งู อายใุ นประเทศไทย พ.ศ. 2553)

กระบวนการขับเคลื่อนชมรมผู้สงู อายดุ า้ นสุขภาพ 4 Step 1 ประสานความร่วมมือ ในการดาเนนิ งานกบั สมาคมสภา ผู้สงู อายุแหง่ ประเทศไทยฯ สมาคมสภาผสู้ งู อายแุ หง่ Step 2 กรมอนามยั รว่ มกับสมาคมสภา ประเทศไทยฯ Step 3 ผู้สงู อายแุ หง่ ประเทศไทยฯ นาเข้าพจิ ารณาในการประชุม ป ร ะ ชุ ม ห า รื อ / ช้ี แ จ ง แ น ว ท า ง ก า ร จานวนชมรมผูส้ ูงอายุใน ขับเ คล่ื อน ก า รด าเ นิ น งา น ช มร ม เครือขา่ ยของสมาคมสภา ผูส้ ูงอายดุ ้านสขุ ภาพ ผสู้ งู อายแุ ห่งประเทศไทย แกศ่ ูนยอ์ นามยั (จานวน 29,468 ชมรม) เยีย่ มเสริมพลัง Step 4 ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ

5 แนวทางการดาเนินงานชมรมผูส้ งู อายุ ดา้ นสุขภาพ สว่ นกลาง • จัดประชมุ ช้ีแจงแนวทางการขับเคล่ือนการดาเนินงานชมรมผู้สงู อายดุ ้าน สขุ ภาพ แกศ่ ูนยอ์ นามัย • สนบั สนนุ การดาเนนิ งานชมรมผูส้ ูงอายุด้านสขุ ภาพ • ตดิ ตามเยยี่ มเสรมิ พลงั ศูนยอ์ นามัย • ชแ้ี จงแนวทางการขับเคลอื่ นการดาเนนิ งานชมรมผสู้ ูงอายดุ า้ นสุขภาพ ใหแ้ ก่ สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั (สสจ.) • พัฒนาชมรมผู้สูงอายุให้เป็นชมรมผูส้ ูงอายดุ า้ นสุขภาพ • ประสานชมรมผู้สูงอายุ / เยี่ยมติดตาม เสรมิ พลัง • รายงานผลการดาเนนิ งานชมรมผู้สงู อายดุ า้ นสขุ ภาพ ใหแ้ กส่ ว่ นกลาง สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั • ชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนนิ งานชมรมผูส้ ูงอายุด้านสขุ ภาพ โดยชมรมผู้สูงอายุ ประเมนิ ตนเอง/ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพชมุ ชนรว่ มประเมิน • ประสานชมรมผสู้ งู อายุ ร่วมดาเนินการ/สนับสนุนการดาเนินงานของชมรม ผ้สู งู อายุในพ้นื ที่ • เย่ยี มเสรมิ พลัง และตดิ ตามประเมินผล • รายงานผลการดาเนนิ งานชมรมผูส้ งู อายดุ ้านสุขภาพ ใหแ้ กศ่ ูนยอ์ นามยั

6 เกณฑ์ การดาเนินงานชมรมผูส้ ูงอายดุ า้ นสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

7

8

9

10

11

12

13 แนวทางปฏิบัติ ด้านสาธารณสุขเพื่อการปอ้ งกัน การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 สาหรับชมรมผสู้ ูงอายุ/โรงเรยี นผสู้ งู อายุ

14

15

16

17

18 แบบประเมนิ ตามมาตรการปลอดภยั สาหรบั องคก์ ร COVID Free Setting (Thai Stop COVID 2Plus) สาหรับชมรมผสู้ งู อายุ/โรงเรยี นผ้สู งู อายุ

19

20

21

22

เอกสารอา้ งอิง สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ. 2559. คู่มือชมรมผู้สูงอายุ ของสมาคม สภาผู้สงู อายุแหง่ ประเทศไทยฯ . กรุงเทพฯ: สมาคมสภาผสู้ งู อายแุ หง่ ประเทศไทยฯ. หมายเหตุ : หากท่านมขี ้อสงสัยสามารถตดิ ตอ่ สอบถามได้ท่ี 1.น.ส.จฑุ าภัค เจนจติ ร พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ 2.ร.อ.หญิง วลั ภนิ ันท์ สืบศกั ดิ์ นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั กิ าร 3.นายธรี ยทุ ธ ชูพุทธพงศ์ ผ้ดู ูแลระบบฐานขอ้ มูล สานักอนามยั ผู้สูงอายุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ หมายเลขโทรศัพท์ 02-590-4504

“ไม่ลม้ ไมล่ มื ไม่ซมึ เศรา้ กินข้าวอรอ่ ย” สานกั อนามยั ผสู้ ูงอายุ ศึกษาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ 88/22 หมู่ 4 ถนนตวิ านนท์ ตาบลตลาดขวญั อาเภอเมอื ง จังหวดั นนทบุรี 11000 02-590-4504