Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1. นางพรรณสิรี ชูนพรัตน์

1. นางพรรณสิรี ชูนพรัตน์

Published by ELECTRONIC CHANNEL, 2022-05-06 01:57:18

Description: 1. นางพรรณสิรี ชูนพรัตน์

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามมาตรา ๘๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง บางตำแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ วิชาชีพ ที่เหมาะสมในอันที่จะทำให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความก้าวหน้า แก่ราชการ ประกอบกับ ก.ค.ศ. ได้กำหนดมาตรฐานตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาไว้ว่า ให้มีการพัฒนา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ ก.ค.ศ.กำหนดและตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ๐๒๐๖.๗/ว๑๘ ลงวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๒ ซึ่งในการพัฒนาดังกล่าวได้กำหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาต้นแบบ เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนา ได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติจริงและเกิดทักษะในการบริหารสถานศึกษาภายใต้การแนะนำดูแลและให้คำปรึกษา ของผู้บริหารท่ีมีประสบการณ์ ซึ่งผู้จัดทำรายงานฉบับนี้ได้เข้ารับการฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาต้นแบบ แห่งที่ ๑ ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ และสถานศึกษาต้นแบบแห่งที่ ๒ ณ วิทยาลยั การอาชพี บรรพตพิสยั จงั หวัดนครสวรรค์ การฝึกประสบการณ์ในสถานศึกษาครั้งนี้ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณผู้อำนวยการ วิทยาลัย อาชีวศึกษานครสวรรค์ และผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรของสถานศึกษาเป็นอย่างสูง ที่กรุณาได้ให้ข้อมูลและถ่ายทอดประสบการณ์การเป็นผู้บริหาร ทพ่ี งึ ประสงคใ์ นยุคไทยแลนด์ ๔.๐ Next Normal และสง่ ผลให้ผูท้ จี่ ะเขา้ สตู่ ำแหน่งรองผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา อาชีวศึกษาเป็นผู้บริหารที่มีอุดมการณ์ มีวิสัยทัศน์ บุคลิกภาพ และมีความสามารถที่เหมาะสมต่อการเป็น ผู้บริหารสถานศึกษาขององคก์ รและสามารถเป็นนักบริหารสถานศึกษาให้เกดิ ประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ ต่อประเทศชาตติ ่อไป พรรณสิรี ชูนพรัตน์ ผจู้ ัดทำ

สารบัญ หนา้ ๑ หวั ข้อเรอื่ ง 1 ข้อมลู พื้นฐานสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ จังหวดั นครสวรรค์ 2 ขอ้ มลู คา่ นิยม วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ๓ ผลการวเิ คราะหบ์ ริบทของสถานศึกษา (SWOT Analysis) ๔ ประเด็นท่ี 1 กลยทุ ธ์ในการขับเคลอื่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา ๔ ประเด็นที่ 2 การสร้างความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการ ๕ ประเดน็ ที่ 3 ระบบการบริหารจดั การ สู่คณุ ภาพ ๖ ประเดน็ ที่ 4 การขับเคลื่อนระบบงานวชิ าการ ๖ ขอ้ มลู พื้นฐานสถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพสิ ัย จังหวัดนครสวรรค์ ๖ ขอ้ มูลค่านยิ ม วัฒนธรรมท้องถนิ่ ๗ ผลการวเิ คราะหบ์ ริบทของสถานศกึ ษา (SWOT Analysis) ๗ ประเดน็ ท่ี 1 กลยุทธใ์ นการขับเคลอ่ื น Future Skill ของสถานศกึ ษา ๘ ประเดน็ ที่ 2 การสรา้ งความเขม้ แข็งของระบบความรว่ มมือกบั สถานประกอบการ ๘ ประเดน็ ท่ี 3 ระบบการบริหารจดั การ สคู่ ุณภาพ ๑๐ ประเด็นที่ 4 การขับเคล่ือนระบบงานวิชาการ ๑๑ ภาคผนวก ๑๘ ภาคผนวก ก รูปภาพกจิ กรรม ณ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ ภาคผนวก ข รปู ภาพกิจกรรม ณ วิทยาลัยการอาชีพบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์

1 ใบงาน วเิ คราะหบ์ รบิ ทสถานศกึ ษา วทิ ยากรพเี่ ลี้ยง ผอ.สุวัฒนช์ ัย ศรีสพุ ฒั นะกุล และ ผอ.แสวง ทาวดี ชือ่ -สกุล นางพรรณสิรี ชูนพรตั น์ กลุ่มที่ 10 เลขที่ 1 ให้นาผลการวเิ คราะหบ์ ริบทของสถานศึกษา (SWOT Analysis) ดังน้ี วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ 1. ข้อมลู พื้นฐานสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 193 ถนนมาตุลี ตาบลปากน้าโพ อาเภอ เมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000 จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2482 มีเนื้อที่ทั้งหมด 47.30 ไร่ เดิมใช้ชื่อว่าโรงเรียน ชา่ งเยบ็ ผา้ โรงเรียนชา่ งทอผา้ และช่างเย็บผ้า โรงเรยี นการช่างสตรนี ครสวรรค์ โรงเรยี นอาชีวศึกษานครสวรรค์ และวิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ วิทยาเขต 2 ตามลาดับ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2522 ยกฐานะเป็น “วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์” 2. ข้อมูลคา่ นยิ ม วัฒนธรรมท้องถน่ิ นครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างภาคกลางและภาคเหนือจึงเป็น “ประตู สู่ภาคเหนือ” และเป็นศูนย์กลางการคมนาคมที่สาคัญของภาคเหนือตอนล่าง และมีความสาคัญตรงที่เป็นจุด บรรจบกันของแม่น้าสายสาคัญ ๆ หรือที่รู้จักกันในนาม “ปากน้าโพ (Paknampho)” ซึ่งเป็นที่บรรจบกันของ แม่น้าปิง วัง ยม และน่าน ที่ไหลลงมารวมกันเป็นต้นกาเนิดของแม่น้าเจ้าพระยา ซึ่งในอดีต นครสวรรค์ เป็น เมืองโบราณที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาช้านาน ศิลปะและวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของปากน้าโพที่ยังคง หลงเหลือสอดแทรกปรากฏอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ทางศลิ ปหตั ถกรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกับความเชื่อและวิถีชีวิตความ เป็นอยู่ของคนในท้องถิ่น ทั้งที่เป็นเคร่ืองนุง่ ห่มท่ีเป็นสิ่งทอ เครื่องใช้ที่เป็นหิน เครื่องใช้ที่เป็นโลหะ เครื่องใช้ท่ี เป็นไม้ เครื่องจักรสาร เครื่องประดับตกแต่ง รวมทั้งผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของท้องถิ่นที่กระจายอยู่ในจังหวัด ถึงแม้ กาลเวลาจะผา่ นพ้นไป แต่ศิลปวัฒนธรรมปากนา้ โพไม่เคยจางหายและยงั คงฝงั รากลกึ อยู่ในวิถีชีวิตของผู้คนใน ท้องถิ่นจวบจนถึงปัจจุบัน โดยวัฒนธรรมปากน้าโพได้หลงเหลือแทรกซึมอยู่ในวัฒนธรรม ประเพณี อาหาร ภาษา อาชีพ ความเชือ่ และศิลปะพน้ื เมือง

2 3. วิเคราะห์บรบิ ทสถานศกึ ษา จดุ เดน่ , จุดด้อย, และ 4 ประเด็น ดังนี้ จดุ เด่น 1. ผู้บริหารมีภาวะผู้นา มีวิสัยทัศน์ และเป็นที่ยอมรับของบุคลากรในองค์กร Happiness College วิทยาลัย แหง่ ความสขุ 2. การจัดกิจกรรมขององค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) และการประเมินองค์การ มาตรฐานดีเดน่ ชนะเลศิ ระดบั ภาค และรองชนะเลศิ ระดับชาติ 3. ครมู จี านวนเพยี งพอต่อการจัดการเรียนการสอนทกุ สาขาวชิ า 4. ครทู กุ คนมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณใ์ นสาขาวชิ าทท่ี าการสอน 5. ครูทกุ คนมีความรแู้ ละความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน 6. ครูทกุ คนใช้กระบวนการ PLC ในการแก้ปญั หาและการจัดการเรียนรู้ 7. เจ้าหน้าทง่ี าน นกั การ และพนกั งานขบั รถ ทุกคนมคี วามรูแ้ ละประสบการณ์ในงานทีร่ บั ผิดชอบ 8. เปิดสอนสาขาวิชาที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง หน่วยงานและสถาน ประกอบการ 9. เป็นวิทยาลัยสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาแห่งเดียวในจังหวัดนครสวรรค์ที่ เปิดสอน ในประเภทวิชาคหกรรม และประเภทวชิ าศลิ ปกรรม 10.เปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม 11. มเี ครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและเอกชนจานวนมาก สง่ ผลให้ผเู้ รียนไดร้ บั การฝึกประสบการณท์ างานจริง 12. กระบวนการจัดการเรียนการสอนผลิตผู้สาเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ทาใหผ้ ู้สาเรจ็ การศึกษาสว่ นใหญ่มงี านทาหลงั จากสาเรจ็ การศกึ ษา 13. กระบวนการจัดการเรียนการสอนผลิตผู้สาเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถสอบเข้าเรียนต่อในระดับ ทสี่ งู ขน้ึ 14. คา่ ใช้จ่ายในการเรยี นมจี านวนนอ้ ยกว่าสถานศึกษาอืน่ ๆ 15. มีจานวนหอ้ งเรยี นและหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเพียงพอต่อการจัดการเรยี นการสอน 16. สถานที่ตั้งของวิทยาลัยอยู่ใจกลางชุมชน มีการคมนาคมที่สะดวกสบาย มีหอพักและร้านอาหาร จานวนมากบริเวณรอบวทิ ยาลยั 17. นาโปรแกรมสาเรจ็ รปู STB 2018 มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การเรยี นการสอน 18. มชี ่องทางการสือ่ สารภายในและภายนอกท่หี ลากหลาย เช่น โทรศัพท์ กลุ่มไลน์ เว็บไซต์ เฟสบุ๊ค 19. มกี ารแนะแนวทางการศกึ ษาแก่นักเรยี นตามโรงเรียนตา่ ง ๆ และในชมุ ชน 20. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม มีทักษะความรู้ในด้านการเป็นผู้นา กล้าคิด กล้าทา กล้านา กล้าเปลยี่ น และกลา้ แสดงออกในส่งิ ท่ีถูกตอ้ งดีงาม 21. จดั ใหม้ กี ิจกรรมเสริมหลักสตู รพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับระบบการเรียน ม่งุ เน้นให้ผู้เรียนได้ทากิจกรรม ควบคู่กับการเรียน ใหเ้ ป็นคนดี คนเกง่ และมีความสขุ 22. สถานศกึ ษามรี ปู แบบการดาเนนิ งานองค์การนักวิชาชพี ในอนาคตแหง่ ประเทศไทย สามารถใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการดาเนินงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล

3 ขอ้ เสนอแนะ วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนบางชนิดไม่ทันสมัย เช่น อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ของแผนกวิชาต่างๆ อุปกรณ์ประกอบอาหาร อุปกรณ์ที่ใช้ในงานศิลปะ เนื่องจากปัจจุบัน เทคโนโลยีไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ จึงควรไดร้ บั การสนับสนุนงบประมาณอย่างทนั ท่วงที ประเดน็ ที่ 1 กลยทุ ธใ์ นการขับเคลอื่ น Future Skill ของสถานศึกษา ขั้นวางแผน (Plan) : สนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ขยัน ซื่อสัตย์ อดทน เป็นคนดี มีจิตสาธารณะ ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และส่งเสริมประชาธิปไตย ดาเนินชีวิตตามแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะความรู้ในด้านการเป็นผู้นา กล้าคิด กล้าทา กล้านา กล้าเปลี่ยน และ กล้าแสดงออกในสิง่ ท่ีถูกต้องดีงาม ขน้ั ดาเนินการ (Do) : 1. ผลิตผู้สาเร็จการศึกษาด้านอุตสาหกรรมบริการมีคุณภาพตามมาตรฐานอาชีวศึกษาและคุณวุฒิวิชาชีพ มีความรู้ความสามารถด้าน วิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ มีทักษะการทางานในศตวรรษที่ 21 มีสมรรถนะสูง ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ สอดคล้อง ไทยแลนด์ 4.0 สามารถประกอบสัมมาชีพอิสระ และปรบั ตัวทันต่อการเปลีย่ นแปลงในยคุ ดจิ ทิ ัล 2. จัดอาชีวศึกษาให้กับประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ผู้ด้อยโอกาส และผู้พิการอย่างเท่าเทียม และมีคุณภาพ จัดการศึกษาที่มุ่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ขยายเครือข่ายความร่วมมือจัดการอาชีวศึกษาระบบปกติ และ อาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ ในและตา่ งประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพการบริการ ประชาชน สร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ สังคมแหง่ ความสขุ และพอเพยี ง ข้ันตรวจสอบ (Check) : 1. พัฒนา ปรับปรุง หลักสูตรฐานสมรรถนะอาชีพตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ มีความยืดหยุ่นและหลากหลาย ทันสมัย สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ตลาดแรงงาน และแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ไทยแลนด์ 4.0 และยุคดิจิทลั สง่ เสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้บรู ณาการ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จดั การเรียนการสอนยุคหลังสถานการณโ์ ควิด-19 ส่งเสริมสนับสนุนให้มี การพฒั นางานวิจยั นวตั กรรม และ ส่ิงประดิษฐเ์ พื่อการจดั การเรียนรู้ 2. พัฒนานวัตกรรมเพื่อการบริหารจัดการสมัยใหม่ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามหลักธรรมาภิบาล กาหนดกระบวนการปฏิบัติงาน (Procedure) ที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง พัฒนาทรัพยากรที่เป็นปัจจัยพื้นฐาน ทั้งอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือ เพื่อการบริหารและ จัดการเรียนรู้ พัฒนาสมรรถนะครูในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษาในการ ปฏบิ ัตงิ าน ผลที่ได้รับ (Action) : เพิ่มประสิทธิภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (MIS) และจัดการ เรียนรู้ (CMS) พฒั นาแหลง่ เรียนรใู้ ห้เข้าถงึ ได้อย่างหลากหลาย พฒั นาคณุ ภาพระบบประกันคุณภาพการศึกษา ยกระดับการส่อื สารองค์กรและการประชาสมั พันธเ์ ชิงรุกให้มปี ระสทิ ธภิ าพทงั้ ภายในและภายนอก สามารถรับรู้ และเข้าถงึ ได้อยา่ งกวา้ งขวาง และหลากหลาย

4 ประเดน็ ที่ 2 การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกบั สถานประกอบการ ขน้ั วางแผน (Plan) : 1. วางแผนทาความร่วมมือกับสถานประกอบการเพื่อใช้เป็นสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ฝึกอาชีพให้กับ นกั เรยี นนกั ศกึ ษาและใชเ้ ปน็ สถานทีฝ่ กึ ประสบการณ์ใหก้ ับครู 2. วางแผนรว่ มกันระหวา่ งงานอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคกี บั งานความร่วมมอื ขน้ั ดาเนินการ (Do) : 1. การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ฝกึ อาชพี ของนักเรยี นนักศึกษา 2. การฝกึ ประสบการณ์ของครใู นสายวิชาชีพ 3. การลงนามความรว่ มมอื ทางการศกึ ษา (MOU) ขนั้ ตรวจสอบ (Check) : 1. ตดิ ตามการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ ฝึกอาชีพของนกั เรยี นนักศึกษาและครใู นสายวชิ าชพี 2. จานวนสถานประกอบการสถานศึกษาทีร่ ่วมลงนามความรว่ มมือทางการศึกษา (MOU) ผลที่ได้รับ (Action) : ให้แผนกวิชาได้มีบทบาทในการศึกษาความเหมาะสมของสถานประกอบการที่ร่วมมือ ทางการศึกษา เพอื่ ใหไ้ ด้สถานประกอบการที่มคี ุณภาพ ตรงตามบริบทของสาขาวชิ า ประเด็นท่ี 3 ระบบการบริหารจัดการ สูค่ ณุ ภาพ ขั้นวางแผน (Plan) : วางแผนการประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานามาตรฐานและตัวชี้วัดของ มาตรฐานการอาชีวศึกษา 2561 มาใช้ในการกาหนดแนวทางจัดทาแผนการดาเนินงานให้สอดคล้อง และสรุป ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานตามตวั ช้วี ดั เพอ่ื นาไปสู่การปรบั ปรงุ หรอื พัฒนาให้เกดิ ผลสมั ฤทธท์ิ ่สี ูงขึ้น ข้ันดาเนนิ การ (Do) : 1. หลักธรรมาภิบาล นาหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการดาเนินงานเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในองค์กร โดยมีองคป์ ระกอบดงั นี้ หลักนิติธรรม ปรับปรุงกฎระเบียบข้อบังคับให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ สื่อสารทาความเข้าใจให้บุคลากร ทุกคนรับทราบและพร้อมใจกันปฏิบัติ เช่น การกาหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติต่างๆ จะชี้แจงสร้างความเข้าใจ ถงึ เหตผุ ลและความจาเป็นเพื่อให้เกิดการยอมรับของทุกคน หลักคุณธรรม รณรงค์และสร้างค่านิยมให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา มีความอดทน ขยัน มีระเบียบวินัย และเสียสละเพื่อส่วนรวม เช่น ผู้บริหารให้โอวาทเรื่องการเป็นบุคลากรที่ดีขององค์กรและสังคม ช่ื นชมและ มอบรางวัลแก่บุคลากรที่ทาความดี เพื่อให้ทุกคนมองเห็นและรับทราบถึงคุณงามความดีของผู้ได้รับรางวัลหรือ คาชม ซง่ึ จะทาให้ทกุ คนเกิดจติ สานกึ ในการทาความดี หลักความโปร่งใส เปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา ขั้นตอนการดาเนินงาน งบประมาณ รายรับรายจ่ายของสถานศึกษา เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรเกิดความสบายใจในการบรหิ ารจดั การงานของฝา่ ยบริหาร หลกั การมีส่วนรว่ ม ใหบ้ คุ ลากรทกุ คนได้มีสว่ นรว่ มในการจัดทาแผนพฒั นาสถานศึกษา และแผนการดาเนินงาน อื่นๆ เปิดโอกาสให้มีการซักถามข้อสงสัยในการประชุม มีกล่องรับฟังความคิดเห็นจากนักเรียน นักศึกษา สร้างชอ่ งทางการแสดงความคดิ เห็นผา่ นสื่อสังคมออนไลน์ เชน่ เวบ็ ไซต์ เฟสบ๊คุ กลุ่มไลน์ เป็นตน้ เพ่ือนาข้อมูล ความคิดเหน็ ทไ่ี ดร้ ับท้ังหมด มาพจิ ารณานาไปสู่การปรับปรุง พัฒนาการดาเนนิ งานให้ดยี ิ่งข้นึ

5 หลักความรับผิดชอบ จัดทาคาสั่งมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับบุคลากรทุกคน เพื่อให้ทุกคนปฏิบัติ หน้าที่อย่างเต็มความสามารถ โดยมีการกากับ ติดตาม จาก ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการฝ่าย หัวหน้างาน และหัวหน้าแผนกวิชา เพือ่ ให้การดาเนินงานมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล หลักความคุ้มค่า สร้างความตระหนักแก่บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ในการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้คุ้มค่าและ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า และน้าใช้ ให้ยึดหลัก ปิดเมื่อไม่ใช้และเปิดเมื่อจาเป็น อุปกรณ์สานักงานต่าง ๆ ลดการใช้กระดาษ หาวิธีการทางานที่ได้ผลสัมฤทธ์ิ เท่าเดมิ หรอื ดีข้ึนแตใ่ ชท้ รัพยากรในการดาเนินงานลดลง 2. โครงการหยั่งรากจิตตปัญญา สู่สังคมแห่งความสุข : เส้นทางสู่สุขภาวะทางปัญญานาโครงการหยั่งราก จิตตปัญญามาอบรมบุคลากรภายในวิทยาลัยเพื่อส่งเสริมให้ครูมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีความ เป็นครูที่ดี มีจิตสาธารณะ ทาให้เกิดการพัฒนาในด้านการปฏิบตั ิงานและด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างต่อเนื่อง และเปน็ ระบบ และนาความรทู้ ี่ได้จากการอบรมไปบูรณาการร่วมกับกจิ กรรมการเรยี นการสอน ขั้นตรวจสอบ (Check) : การพัฒนาตนเองของบุคลากร ส่งเสริมและสนับสนุนบุคลากรในการพัฒนาตนเอง ให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น เข้ารับการอบรมความรู้ใหม่ เขา้ ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ในสถานประกอบการ ผลที่ได้รับ (Action) : เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้พัฒนาระบบบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน เช่น ศธ.02 RMS Line Website Facebook และระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตภายในสถานศึกษา ประเด็นท่ี 4 การขบั เคล่อื นระบบงานวชิ าการ ขนั้ วางแผน (Plan) : 1. พัฒนาหลกั สตู ร ปวช. ปวส. ปรญิ ญาตรี กับสถานประกอบการ/ผู้เชยี่ วชาญ 2. วางแผนประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องกาหนดแนวนโยบายการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องตามแนวทาง ปฏบิ ตั ิขององค์การนักวิชาชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย 3. จัดทาโครงการเพื่อพฒั นาสมาชิกตามเปา้ หมายกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ ป็นคนดี และคนเกง่ อยา่ งมคี วามสขุ ข้นั ดาเนินการ (Do) : 1. ดาเนนิ การจดั ต้งั ชมรมวิชาชีพ และชมรมอิสระ คัดเลือกคณะกรรมการดาเนนิ งานชมรม 2. ดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนตามระยะเวลา 3. การใช้สื่อการจดั การเรียนการสอนของครู 4. การจดั การเรียนการสอน/วัดผลและประเมินผลทีห่ ลากหลาย 5. นเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนทั้งระบบปกตแิ ละระบบทวภิ าคี ขนั้ ตรวจสอบ (Check) : การกากับตดิ ตามและใหค้ าแนะนากบั ครูในการจดั การเรยี นการสอน ผลทไ่ี ดร้ บั (Action) : 1. สรปุ ผลหรือประสทิ ธภิ าพของการจัดการเรียนการสอน การใชส้ อ่ื การวดั ผลและประเมนิ ผล 2. เสนอ/จัดทาโครงการเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนให้กับครู เช่น สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นตน้

6 วิทยาลัยการอาชพี บรรพตพิสยั จังหวดั นครสวรรค์ 1. ขอ้ มลู พื้นฐานสถานศกึ ษา ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาเห็นควรให้ขยายการศึกษาวิชาชีพให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สอดคล้องเพียงพอกับความต้องการของประชาชนในชนบท และตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน ในท้องถิ่น รวมทั้งก้าวทันการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมส่วนรวมของประเทศ จึงจัดตั้งสถานศึกษาวิชาชีพ ประเภท วิทยาลัยการอาชีพ เพื่อจัดการศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพทุกระดับ และประเภทวิชาที่ขาดแคลน ซึ่งเป็นความต้องการของท้องถิ่นรวมทั้งของประเทศอันเป็นการเสริมสร้าง และพัฒนากาลังคนของประเทศ ให้มีคุณภาพในการประกอบอาชีพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น จึงได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัยการอาชีพ บรรพตพิสัย เป็นสถานศึกษาสังกัดส่วนกลาง ขึ้นกับสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ณ วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2540 2. ข้อมูลค่านิยม วฒั นธรรมท้องถิน่ ในสมัยโบราณอาเภอบรรพตพิสัย มีฐานะเป็นเมืองจัตวา มีชื่อว่า “เมืองบรรพตพิสัย” มีผู้ว่าราชการปกครองที่ว่าการเมืองเดิมตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้าปิง คือบ้านคลองมะเดื่อ หมู่ที่ ๕ ตาบลตาสัง ในปัจจุบนั ต่อมาในปี พ.ศ. 2453 ได้ยกฐานะเปน็ อาเภอและได้ย้ายทีว่ ่าการอาเภอบรรพตพิสัยมา อยู่ที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้าปิง ที่บ้านส้มเสี้ยว หมู่ที่ 2 ตาบลท่างิ้ว จนทุกวันนี้ เหตุที่เรียกว่า “บรรพตพิสัย” เพราะในท้องที่นี้มีภูเขาลูกหนึ่งชื่อ เขาหน่อ และภูเขาอีกหลายลูกบริเวณใกล้เคียงกัน ตั้งอยู่ที่บ้านเขาหน่อ หมู่ที่ 2 ตาบลบ้านแดน มองในระยะไกล ๆ จะเห็นเป็นรูปคล้ายพระปรางค์ ตั้งเรียงรายกันเป็นระเบียบ ดูสวยงามจึงได้ช่อื วา่ “บรรพตพสิ ยั ” อาเภอบรรพตพิสัย เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแม่น้าปิงไหลผ่านเหมาะแก่การทาอาชีพ เกษตรกรรม ซึ่งเป็นอาชีพหลักของประชากร ร้อยละ 90 โดยการทานา ทาไร่ ทาสวน และมีอาชีพเสริม โดยการทาประมง เล้ยี งปลา เลย้ี งสัตว์ปกี งานฝีมือ และการแปรรปู อาหาร 3. วเิ คราะหบ์ ริบทสถานศกึ ษา จดุ เด่น, จดุ ด้อย, และ 4 ประเดน็ ดงั น้ี จุดเด่น 1. สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนทีห่ ลากหลายและยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ทาให้สถานศึกษาได้รับการยอมรบั จากสังคม ชมุ ชน โดยผ้ปู กครองสง่ บตุ รหลานเขา้ ศึกษาต่อในวทิ ยาลยั การอาชพี บรรพตพิสยั อย่างต่อเน่ือง 2. การใช้ระบบ ERD SYSTEM เพ่อื ลดปญั หาการออกกลางคนั ของผูเ้ รียน 3. สถานศึกษาดาเนินงานโครงการศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา การทาร้านค้า การหารายได้ให้กับ นักเรียน นักศึกษา ธุรกิจร้านเสื้อผ้ามือสองออนไลน์ โพสต์จาหน่ายสินค้าทาง FANPAGE FACEBOOK “NGSSHOP” ประเภทเสื้อผ้าวินเทจมือสอง ธุรกิจร้านกาแฟ BICE MART การอบรมให้ความรู้การเป็น ผู้ประกอบการ การเขียนแผนธรุ กจิ การศึกษาดงู าน รวมทั้งการสนับสนนุ เงนิ ทนุ ให้กับนักเรยี น นกั ศึกษา 4. ดาเนินการจดั การเรียนการสอนเพื่อให้คนในชุมชนไดร้ ับการศึกษาอย่างท่ัวถงึ ท้งั ระดับ ปวช. ปวส. ทวิภาคี และห้องเรียนอาชีพ

7 ขอ้ เสนอแนะ ดา้ นบคุ ลากร : ขาดแคลนบคุ ลากร เนือ่ งจากเป็นสถานศึกษาขนาดเล็ก มกี ารขอยา้ ยสถานสถานศึกษาเม่ือครบวาระ ดา้ นงบประมาณ : งบประมาณท่ีได้รบั การจัดสรร ยังไม่เพยี งพอต่อความต้องการพัฒนาของวิทยาลัยในด้านต่างๆ ด้านวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ : วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ มีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ไม่ทันสมัยต่อการจัด การเรยี นการสอนในยุคปัจจุบนั ดา้ นการบริหารจดั การ : การบรรจทุ ดแทนตาแหน่งทว่ี ่าง ยงั ขาดความต่อเนอื่ ง ประเดน็ ท่ี 1 กลยุทธใ์ นการขับเคลือ่ น Future Skill ของสถานศึกษา ขนั้ วางแผน (Plan) : ผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษามีทกั ษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ทักษะวชิ าชพี และทกั ษะ ชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และ การดารงชวี ิตอยู่รว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อย่างมีความสุขตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีสขุ ภาวะทีด่ ี ข้ันดาเนนิ การ (Do) : 1. สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือกาหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือ หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง 2. สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนด ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ตอ่ เนื่อง เพอ่ื เป็นผ้พู ร้อมท้ังด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและความเข้มแขง็ ทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทางาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคณุ วุฒิอาชวี ศกึ ษาแต่ละระดบั การศกึ ษา ตามระเบียบหรือข้อบังคบั เกีย่ วกบั การจัดการศึกษา ขั้นตรวจสอบ (Check) : การประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กากับดูแลให้ครู จดั การเรียนการสอนรายวิชาใหถ้ กู ต้อง ครบถว้ น สมบรู ณ์ ผลที่ได้รับ (Action) : สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน หอ้ งปฏิบตั กิ าร โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบรกิ าร สื่อ แหลง่ เรียนรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ครภุ ณั ฑ์ และงบประมาณ ของสถานศกึ ษาท่ีมีอยู่อยา่ งเต็มศักยภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ ประเดน็ ท่ี 2 การสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบความรว่ มมือกับสถานประกอบการ ขั้นวางแผน (Plan) : วางแผนจัดหาและคัดเลือกสถานประกอบการสาหรับเป็นแหล่งฝึกงาน ฝึกทักษะ ประสบการณ์วิชาชีพให้แก่นักเรียน นักศึกษา ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.)เพ่ือเปน็ การสร้างความมัน่ ใจให้กับผูเ้ รยี นในการฝึกงาน และสร้างเจตคติที่ ดตี อ่ วิชาชีพของตนเองในโลกของการทางานจริง ข้ันดาเนนิ การ (Do) : 1. สถานศึกษามีการจัดการเรยี นการสอนระบบทวภิ าครี ่วมกับสถานประกอบการทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน ใน ระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) ทกุ สาขาวิชา

8 2. สถานศึกษาจัดใหม้ กี ารบริการวชิ าชีพสู่ชุมชน ในเขตพื้นท่ีบรกิ ารและเขตพ้ืนท่ีกลุ่มเป้าหมายในการแนะแนว นักเรียนเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในสายอาชีพ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ทีด่ ตี อ่ การจัดการอาชวี ศกึ ษาของวทิ ยาลัยการอาชีพ บรรพตพิสยั สรา้ งความมั่นใจต่อผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเขา้ ศึกษาต่อสายอาชีพ ขั้นตรวจสอบ (Check) : นิเทศติดตามการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ฝึกอาชีพของนักเรียนนักศึกษา ร่วมให้ คาปรึกษากับนกั เรียน นักศกึ ษา ผลทไ่ี ดร้ บั (Action) : ผู้เรียนมคี วามรู้ มีทกั ษะวิชาชีพ และคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ สามารถนาความรู้ ทกั ษะ มาบูรณาการสร้างนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และจัดส่งผลงาน เขา้ ประกวดแขง่ ขันในระดับอาชวี ศึกษาจงั หวดั ระดบั ภาค และระดับชาติ พร้อมทง้ั นาผลงานไปจดั แสดงในงาน ตา่ งๆ ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษา ประเด็นที่ 3 ระบบการบริหารจดั การ สคู่ ณุ ภาพ ขน้ั วางแผน (Plan) : 1. กาหนดคณุ ลกั ษณะของผสู้ าเร็จการศึกษาอาชวี ศึกษาท่ีพึงประสงค์ 2. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ มีทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตาม มาตรฐานคณุ วฒุ อิ าชีวศึกษาแต่ละระดับการศกึ ษา และมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ ขั้นดาเนนิ การ (Do) : 1. การจัดครูที่มคี ุณวุฒิการศึกษาและจานวนตามเกณฑท์ ี่กาหนด ใหค้ วามรูก้ ับผเู้ รยี นอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ใช้หลกั สูตรฐานสมรรถนะในการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั 3. บริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสาเร็จในการดาเนินงานตามนโยบาย สาคญั ของ รัฐบาล กระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และสถานศึกษา ขั้นตรวจสอบ (Check) : ผลการประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาในภาพรวมของสถานศึกษา อยู่ใน ระดับคุณภาพ ยอดเยีย่ ม ผลที่ได้รับ (Action) : ร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย มีผลการดาเนินงานในระดับคะแนน 90.00 อยู่ในระดับ คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม ประเด็นท่ี 4 การขบั เคลื่อนระบบงานวิชาการ ขั้นวางแผน (Plan) : จัดประชุมชี้แจง สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักให้แก่คณะครูและบุคลากร ทางการศึกษาของวิทยาลัยฯ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ และจัดประชุม คณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษาเพื่อกาหนดมาตรฐานการศึกษาให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ข้ันดาเนินการ (Do) : 1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการ อาชวี ศึกษาของสถานศกึ ษา

9 2. จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ตามพันธกิจและ กลยุทธ์ ที่กาหนด โดยแต่ละกลยุทธ์มีการกาหนดเป้าประสงค์ โครงการ กิจกรรม ตัวชี้วัด ที่สามารถ นาไปสู่การ ประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ท่เี กดิ จากการดาเนินการ 3. ดาเนินการตามแผนงาน โครงการที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ โดยมอบหมายให้รองผู้อานวยการแต่ละ ฝ่าย ประกอบด้วย ฝ่ายบริหารทรัพยากร ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ และฝ่ายพัฒนากิจการ นักเรยี นนักศกึ ษา เป็นผู้กากับ นเิ ทศ ติดตาม และรายงานสรปุ ผลการดาเนินงาน ขัน้ ตรวจสอบ (Check) : ตรวจสอบการดาเนินงานใหเ้ ป็นไปตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีมุง่ คุณภาพตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาของสถานศกึ ษา ผลที่ได้รับ (Action) : นาผลที่ได้จากการประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการ ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาของสถานศกึ ษา และนาไปเป็น ขอ้ มลู ในการวางแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาในคร้ังต่อไป

10 ภาคผนวก

11 ภาคผนวก ก การฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา ณ วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษานครสวรรค์ จงั หวัดนครสวรรค์

12

13

14

15

16

17

18 ภาคผนวก ข การฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา ณ วทิ ยาลยั การอาชพี บรรพตพิสัย จงั หวัดนครสวรรค์

19

20

21

22

23

24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook