Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 004เครื่องทำความสะอาดหัวฉีด

004เครื่องทำความสะอาดหัวฉีด

Published by drsuwat2557, 2019-06-08 17:33:59

Description: 004เครื่องทำความสะอาดหัวฉีด

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 บทนำ ควำมเป็นมำและควำมสำคญั รถจกั รยานยนต์ เปน็ ปัจจัยสาคญั ในการดารงชวี ติ ของคน ในครอบครวั ส่วนใหญ่ จาเปน็ ต้องมีต้องมี “รถจักรยานยนต์” อยา่ งน้อยหนง่ึ คันไว้ใชง้ านในการเดินทางในชีวิตประจาวนั จากการสารวจการใชง้ านรถจักรยานยนต์พบว่า การใชร้ ถจักรยานยนตข์ องชาวบ้านสว่ นใหญ่ นยิ มใช้ กันในถนน ซอย ภายในหม่บู ้าน การนารถจักรยายนยนต์ไปขับขบี่ นถนนใหญ่ ก็ต่อเม่ือเม่ือมีความ จาเปน็ เทา่ น้ัน เพราะกลวั อุบัติเหตุ ทานองเดยี วกับการเดนิ ทางไกล กห็ ันไปเลือกใชร้ ถยนตห์ รือรถเมล์ แทน อยา่ งไรก็ตาม สาหรบั วัยรุ่น รถจกั รยานยนต์ยังเปน็ มากกว่าพาหนะในการเดินทาง เพราะนอกจากใช้ขี่ไปเรียน ‘มอเตอรไ์ ซค’์ ยงั เป็นส่วนประกอบหนงึ่ ของชีวติ ทางสังคม ต้ังแต่เปน็ เคร่ืองมอื ที่ทาให้สามารถพาตัวเข้ากบั กลุม่ เพ่ือนหรอื ร่วมกจิ กรรมทางสงั คม เป็นหวั ข้อสนทนาในวง เพอ่ื น เปน็ จุดเดน่ ดึงดดู ใจเพ่ือนและเพศตรงกันข้าม หรือแม้แตเ่ ปน็ เครื่องแกค้ วามเบื่อ ความเหงา และความโกรธ นอกจากจะเป็นพาหนะจาเป็นของคนทวั่ ไป สาหรบั วยั รนุ่ แล้วยังเป็นสัญลักษณ์และ เครอ่ื งมือในการเรียนรู้ทางสังคม และไม่ไดม้ ีแตเ่ พยี งเทา่ นั้น ในช่วงสิบปีเศษที่ผ่านมา สาหรบั คนบาง กลุ่ม รถจักรยานยนต์ยังมีความสาคญั ในฐานะเคร่ืองมือประกอบอาชพี อีกดว้ ย จกั รยานยนตร์ ับจ้างไดก้ ลายมาเปน็ อาชีพอิสระของคนจานวนมากท่วั ประเทศ ที่ทงั้ ขนส่งสิ่งของใน ฐานะพนักงานขนเอกสาร และขนสง่ คนในฐานะมอเตอร์ไซคร์ ับจา้ ง รวมแลว้ มจี านวนระดับหลายแสน คน และผูใ้ ชบ้ รกิ ารระดบั หลายลา้ นคน สาหรับรถจักรยานยนต์ระบบหัวฉดี เมอ่ื ใชง้ านระยะยาวจะประสบปัญหาคือ รถจักรยานยนตจ์ ะมอี าการเร่งไม่ข้ึนหรือสตารท์ ติดยาก เป็นผลเน่อื งมาจากหัวฉีดนา้ มันเช้ือเพลงิ เกิด การอุดตนั ทาให้ระบบฉดี จา่ ยนา้ มนั ไม่สมบรู ณโ์ ดยท่วั ไปจะมีวิธีการแก้ไขปัญหาคือการเปลยี่ นหัวฉีด ใหม่ แตจ่ ะทาให้สิน้ เปลืองค่าใชจ้ า่ ย แตช่ า่ งทั่วไปจะมวี ิธีการแก้ไขคือการนาหัวฉีดไปลา้ งโดยใช้น้ามนั เอนกประสงค์ฉีดเข้าไปในหัวฉีดแล้วนาสายไฟจากแบตเตอรี่มาเข่ยี ท่ีข้ัวหวั ฉีดใหโ้ ซลีนอยด์หัวฉีด ทางานซึ่งจะเปน็ วิธกี ารทยี่ งุ่ ยากและทาลาบากไม่สามารถเห็นผลได้ชดั เจนดงั น้ันคณะผจู้ ัดทาจึงมี แนวคดิ ในการสร้างเคร่อื งล้างทาความสะอาดหวั ฉดี ขึน้ มาเพอ่ื จะนาไปใช้ในการลา้ งทาความสะอาด หัวฉีดโดยการอาศัยหลักการทางานของระบบการฉีดจ่ายน้ามันเช้ือเพลงิ ของรถจักรยานยนต์มา ปรบั แต่งใหม่ โดยการเพม่ิ แรงดันของป๊ัมน้ามนั เชื้อเพลิงให้มากข้ึนและตดิ ตั้งอุปกรณ์ควบคมุ แรงดัน เพ่ือควบคุมแรงดันใหไ้ ด้ตามกาหนด แล้วนานา้ ยาล้างหัวฉีดเตมิ ลงไปในระบบเพอ่ื ล้างทาความสะอาด หวั ฉีด ซงึ่ สามารถเหน็ ผลก่อนลา้ งกบั หลังล้างได้อย่างชดั เจนเราจงึ สามารถเปรยี บเทยี บปริมาณการฉีด จา่ ยน้ามันเช้ือเพลงิ ได้ ทาใหเ้ ราสามารถวิเคราะห์ไดว้ า่ หวั ฉีดยงั สามารถใช้งานได้ปกติหรือไม่ จึงทาให้ เราไมต่ ้องเสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการซื้อหัวฉดี มาเปลีย่ นใหม่โดยที่หวั ฉดี เกา่ ยังใช้งานต่อได้ จงึ ทาใหป้ ระหยดั คา่ ใช้จา่ ยและสามารถช่วยลดตน้ ทุนในการผลติ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ดังนั้นคณะจึงได้ทาการศึกษาคิดค้นคว้าทาส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่เรื่องเคร่ืองทาความ สะอาดหวั ฉดี จุดมุ่งหมำยของกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ 1. เพอ่ื ออกแบบและสร้างเคร่ืองเครอื่ งทาความสะอาดหัวฉดี 2. เพื่อทดสอบประสทิ ธภิ าพของเครอื่ งทาความสะอาดหวั ฉีด 3. เพอื่ ศึกษาความคิดเหน็ ของผเู้ ช่ียวชาญทีม่ ีต่อเคร่ืองทาความสะอาดหวั ฉีด สมมติฐำนของกำรศกึ ษำค้นคว้ำ เครอ่ื งทาความสะอาดหัวฉีดสามารถทาความสะอาดหัวฉีดไดส้ ะอาดและมีประสิทธภิ าพ มากขน้ึ ขอบเขตของกำรศกึ ษำค้นควำ้ เครอ่ื งทาความสะอาดหัวฉดี ออกแบบขน้ึ มาสาหรบั ใชก้ บั การทาทาความสะอาดหวั ฉีด ของรถจักรยานยนต์ฮอนด้า รุ่น เวฟ110i / เวฟ125i / MSX125 ตวั แปรท่ีเกีย่ วข้อง เคร่อื งทาความสะอาดหวั ฉีด ในครั้งน้ี ได้ศึกษาตัวแปรเกย่ี วขอ้ ง ดงั นี้ ตัวแปรตน้ ได้แก่ หวั ฉีดท่ีไม่สะอาด (หวั ฉดี ที่ถอดจากรถที่เร่งไม่ขึ้น สตาร์ทตดิ ยาก) ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองลา้ งหวั ฉดี และความคดิ เห็นของผเู้ ช่ียวชาญทมี่ ี ต่อเครื่องความสะอาดหวั ฉีด นิยำมศพั ท์เฉพำะ หวั ฉีด (Injector) หมายถงึ ส่วนประกอบของรถจักรยายนตย์ ่หี อ้ ฮอนดา้ รนุ่ เวฟ110i / เวฟ125i / MSX125 ซึ่งทาหนา้ ที่จา่ ยนา้ มนั เช้อื เพลิงเขา้ ไปยงั ห้องเผาไหมเ้ พ่ือทจี่ ะทาการจดุ ระเบดิ โดยจะทาการฉดี น้ามนั เช้ือเพลิงออกมาใหเ้ ป็นฝอย เครือ่ งลา้ งหัวฉีด (Nozzle Cleaning Device) หมายถึง อุปกรณ์ทส่ี ร้างขึน้ มาใช้สาหรับ การทาความสะอาดหัวฉดี ของเครื่องยนต์ในรถจักรยานยนต์ กล่องอเิ ล็กทรอนิกส์ ECU (Electronic Control Unit) หมายถงึ ชดุ อปุ กรณ์ท่ีทาหน้าที่ ควบคมุ การฉดี ของนา้ มนั เชอ้ื เพลิง

ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะได้รับ 1. เพื่อพฒั นาเครื่องล้างหวั ฉดี ให้ใช้ไดก้ บั รถเครื่องยนต์เบนซนิ แบบหัวฉดี ทุกรนุ่ 2. เพือ่ เป็นเคร่ืองตน้ แบบในการพัฒนาต่อยอดในทางอุตสาหกรรมและทางพาณชิ ย์ 3. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์

บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสำรและงำนวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง แบตเตอร่ี 12 โวลต์ แบตเตอรี่ (Battery) เป็นอปุ กรณ์ทป่ี ระกอบดว้ ยเซลล์ไฟฟ้าเคมี หน่งึ เซลล์หรอื มากกวา่ ทีม่ ี การเช่ือมต่อภายนอกเพือ่ ให้กาลังงานกบั อุปกรณไ์ ฟฟ้าแบตเตอร่มี ี ขวั้ บวก (cathode) และ ข้วั ลบ (anode) ข้ัวท่ีมีเครอื่ งหมายบวกจะมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสงู กวา่ ข้ัวทม่ี เี ครื่องหมายลบ ขั้วท่ีมี เครือ่ งหมายลบคือแหลง่ ทมี่ าของอิเลก็ ตรอนทเ่ี มื่อเช่ือมต่อกบั วงจรภายนอกแล้วอเิ ล็กตรอนเหลา่ นจ้ี ะ ไหลและส่งมอบพลังงานให้กับอุปกรณภ์ ายนอก เมอ่ื แบตเตอร่ีเช่อื มต่อกับวงจรภายนอก สารอิเล็กโทร ไลต์ มคี วามสามารถท่ีจะเคล่ือนทโ่ี ดยทาตัวเป็นไอออน ยอมให้ปฏกิ ริ ยิ าทางเคมีทางานแล้วเสร็จใน ขั้วไฟฟ้าที่อยู่ห่างกัน เปน็ การสง่ มอบพลงั งานให้กบั วงจรภายนอก การเคล่อื นไหวของไอออนเหลา่ นัน้ ทอี่ ยู่ในแบตเตอรี่ทท่ี าให้เกิดกระแสไหลออกจากแบตเตอรี่เพื่อปฏบิ ัติงาน ในอดีตคาว่า \"แบตเตอร่\"ี หมายถงึ เฉพาะอุปกรณ์ท่ีประกอบดว้ ยเซลลห์ ลายเซลล์ แต่การใชง้ านได้มกี ารพัฒนาให้รวมถึงอุปกรณ์ ที่ประกอบดว้ ยเซลลเ์ พียงเซลล์เดียว แบตเตอรปี่ ฐมภมู จิ ะถูกใช้เพยี งครั้งเดียวหรอื \"ใช้แลว้ ทงิ้ \"; วสั ดุทใี่ ช้ทาขั้วไฟฟ้าจะมีการ เปลีย่ นแปลงอย่างถาวรในชว่ งปลอ่ ยประจุออก (discharge) ตัวอย่างที่พบบ่อยกค็ ือ แบตเตอรอ่ี ัล คาไลน์ ทใี่ ชส้ าหรับ ไฟฉาย และอกี หลายอุปกรณ์พกพา แบตเตอรท่ี ุติยภูมิ (แบตเตอร่ปี ระจใุ หม่ได้) สามารถดสิ ชารจ์ และชาร์จใหมไ่ ด้หลายครั้ง ในการน้ีองค์ประกอบเดมิ ของข้ัวไฟฟ้าสามารถเรยี กคืน สภาพเดมิ ไดโ้ ดยกระแสย้อนกลบั ตัวอยา่ งเชน่ แบตเตอรี่ตะก่วั กรด ท่ใี ชใ้ นยานพาหนะและ แบตเตอร่ี ลิเธยี มไอออน ท่ีใชส้ าหรบั อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ บบเคลอ่ื นยา้ ยได้ แบตเตอร่ีมาในหลายรปู ทรงและหลายขนาด จากเซลลข์ นาดเลก็ ทใี่ ห้พลงั งานกับ เครื่องช่วยฟัง และ นาฬกิ าข้อมือ จนถึงแบตเตอรี่แบงค์ท่ีมขี นาดเทา่ ห้องทีใ่ ห้พลังงานเตรยี มพร้อม สาหรับ ชมุ สายโทรศัพท์ และ ศนู ย์ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ ตามการคาดการณ์ในปี 2005 อุตสาหกรรมแบตเตอร่ีทว่ั โลกสรา้ งมลู ค่า 48 พันล้านดอลาร์ สหรฐั ในการขายในแตล่ ะปี[4] ด้วยการเจรญิ เติบโตประจาปี 6% แบตเตอรี่มีคา่ พลังงานเฉพาะ (พลงั งานต่อหนว่ ยมวล) ตา่ กว่ามากเมือ่ เทียบ กบั เช้อื เพลิง ท้ังหลาย เชน่ น้ามัน แต่ก็สามารถชดเชยไดบ้ ้างโดยประสทิ ธิภาพท่ีสูงของมอเตอร์ไฟฟ้า ในการผลติ งานดา้ นกลไกเมอ่ื เทียบกับเคร่ืองยนตส์ ันดาป ป๊ัมตกิ๊ ขนำด 9 บำร์ ปั๊มต๊กิ คือช่อื ของป๊ัมนา้ มนั เพลงิ ในรถทใี่ ชเ้ ครื่องยนต์เบนซิน สาหรบั ช่อื เรยี กของมันน้ัน เหตมุ าจากลักษณะการทางานของมนั ทใี่ ชห้ ลกั การตัดตอ่ กระแสไฟฟ้าท่ีป้อนให้กบั ขดลวดแม่เหลก็ ไฟฟ้า ทาให้แผน่ ไดอะแฟรมขยบั ตวั เข้าออก เม่ือประกอบเขา้ กบั ชุดล้นิ ปิด-เปดิ การขยบั ตวั ของแผ่น ไดอะเฟรมจะเกดิ แรงดูด และแรงดนั ทาให้สามารถดูดน้ามนั เช้ือเพลิงจากถงั เชื้อเพลิงป้อนให้กับระบบ เชอ้ื เพลิงได้ เพราะเหตุนก้ี ารทางานของมนั จึงมีเสียงดัง ต๊ิกๆ นนั่ จึงเป็นที่มาของชื่อท่ีเรยี กกันวา่ ป๊ัมตก๊ิ

ในปจั จุบันน้ี เจา้ ปมั๊ เชื้อเพลิงลกั ษณะน้หี ายากแลว้ ท้งั นก้ี เ็ พราะวา่ รถสมัยนีส้ ่วนใหญจ่ ะนยิ ม ใชป้ มั๊ เชอื้ เพลงิ แบบขบั ดว้ ยเฟือง และมอเตอร์ไฟฟา้ ประกอบเป็นชุดเดียวกนั กบั ชดุ ลกู ลอยวัดระดบั น้ามัน และตดิ ตั้งอยใู่ นถังนา้ มันเช้ือเพลงิ ข้อเสยี ของปม๊ั เช้ือเพลิงแบบไฟฟ้า คือเราจะรู้ได้ยงั ไงว่าปม๊ั เช้อื เพลิงทางานหรือไม่ เพราะถ้าหากเป็นปั๊มติ๊ก มนั จะมีเสียงใหไ้ ดย้ นิ ว่าทางานอยู่หรือไม่ แตส่ าหรับ รุน่ ใหมจ่ ะมีแค่อาการ 2-3 อย่างแสดงให้เห็น เช่นอยู่ๆ เคร่ืองยนต์ กด็ ับไปเฉยๆ แต่พอทิ้งเอาไว้ซัก ระยะหน่ึงก็สามารถติดเครื่องได้ หรือในบางครง้ั เม่อื เร่งเคร่ืองแรงๆ ก็จะมอี าการสะดุด ใหไ้ ด้เห็น หรือ อกี อย่างคือเครื่องยนตเ์ ร่งไม่ข้ึน ท้งั หมดน้ลี ้วนเป็นอาการผิดปกตขิ องระเชอ้ื เพลงิ แทบทัง้ สนิ้ สาหรับสาเหตุหลกั ๆ ที่สามารถทาใหป้ ม๊ั ติ๊กเสยี หายไดน้ ้ันกจ็ ะมีอยหู่ ลายสาเหตุ เชน่ การ ปล่อยใหไ้ ฟเตือนน้ามันโชว์บอ่ ยๆ ทั้งน้ใี นขณะทีไ่ ฟเตือนระดับนา้ มันโชวน์ ้ัน มันแปลวา่ น้ามนั ในถัง เชอ้ื เพลิงของรถคุณมนี ้อยแลว้ ควรรีบเติม เนอ่ื งจากเวลาทีค่ ุณขบั รถขึ้นลงสะพาน หรือเนินต่างๆ นน้ั อยา่ งท่รี ู้กันดวี า่ นา้ มันเปน็ ของเหลว ดงั น้นั นา้ มันจะถ่ายเทไปยังจดุ ตา่ สุด ทาให้ในบางคร้งั ปม๊ั ต๊ิกไม่ สามารถดูดน้ามันขึน้ มาได้ แต่จะดูดเอาอากาศเข้ามาแทน จึงทาใหป้ ั๊มเช้ือเพลงิ ไมว่ า่ จะเป็นชนดิ ใดก็ ตาม ท่ถี ูกออกแบบมาเพื่อดดู น้ามัน ไมใ่ ช่อากาศเกิดการเสียหายได้ในทส่ี ุด รีเลย์ (Relay) เป็นอุปกรณ์ที่เปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าใหเ้ ป็นพลังงานแม่เหล็ก เพอื่ ใช้ในการดึงดูดหน้าสมั ผัส ของคอนแทคใหเ้ ปลย่ี นสภาวะ โดยการปอ้ นกระแสไฟฟา้ ใหก้ ับขดลวด เพ่ือทาการปิดหรอื เปดิ หน้าสัมผสั คล้ายกับสวิตชอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ซง่ึ เราสามารถนารีเลยไ์ ปประยุกต์ใช้ ในการควบคมุ วงจรต่าง ๆ ในงานช่างอเิ ล็กทรอนิกสม์ ากมาย รีเลย์ ประกอบดว้ ยส่วนสาคัญ 2 ส่วนหลกั ก็คอื 1. ส่วนของขดลวด (coil) เหนยี่ วนากระแสตา่ ทาหน้าที่สร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าให้แกน โลหะไปกระทงุ้ ใหห้ น้าสัมผัสตอ่ กนั ทางานโดยการรับแรงดันจากภายนอกต่อครอ่ มทีข่ ดลวดเหน่ยี วนา น้ี เมอ่ื ขดลวดไดร้ บั แรงดนั (ค่าแรงดันทร่ี ีเลย์ตอ้ งการข้นึ กบั ชนดิ และรุ่นตามทผ่ี ู้ผลิตกาหนด) จะเกดิ สนามแม่เหลก็ ไฟฟา้ ทาให้แกนโลหะด้านในไปกระทุ้งให้แผ่นหนา้ สัมผสั ต่อกัน 2. ส่วนของหนา้ สมั ผสั (contact) ทาหนา้ ทเี่ หมือนสวติ ช์จ่ายกระแสไฟให้กบั อุปกรณ์ที่เรา ตอ้ งการน่ันเอง จดุ ต่อใชง้ านมาตรฐาน ประกอบดว้ ย จุดตอ่ NC ย่อมาจาก normal close หมายความว่า ปกตดิ ปดิ หรอื หากยงั ไมจ่ ่ายไฟให้ขดลวดเหน่ยี วนาหนา้ สมั ผัสจะตดิ กนั โดยทวั่ ไปเรามักตอ่ จดุ นเ้ี ข้า

กบั อปุ กรณ์หรอื เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าท่ีต้องการให้ทางานตลอดเวลาเชน่ จดุ ตอ่ NO ยอ่ มาจาก normal open หมายความว่าปกติเปิด หรือหากยังไมจ่ า่ ยไฟใหข้ ดลวดเหนย่ี วนาหน้าสมั ผัสจะไม่ ตดิ กัน โดยท่วั ไปเรามักต่อจุดน้ีเข้ากบั อุปกรณห์ รอื เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าท่ีต้องการควบคุมการเปิดปดิ เชน่ โคม ไฟสนามเหนือหนา้ บ้านจุดตอ่ C ย่อมากจาก common คือจดุ รว่ มทต่ี ่อมาจากแหลง่ จ่ายไฟ ข้อคำถึงในกำรใชง้ ำนรีเลยท์ ่ัวไป 1. แรงดนั ใช้งาน หรือแรงดนั ท่ีทาใหร้ ีเลย์ทางานได้ หากเราดทู ี่ตัวรีเลยจ์ ะระบุคา่ แรงดัน ใชง้ านไว้ (หากใช้ในงานอเิ ล็กทรอนิกส์ ส่วนมากจะใช้แรงดันกระแสตรงในการใช้งาน) เชน่ 12VDC คือต้องใชแ้ รงดนั ที่ 12 VDC เท่านัน้ หากใช้มากกวา่ น้ี ขดลวดภายใน ตวั รีเลย์อาจจะขาดได้ หรือหาก ใชแ้ รงดนั ตา่ กว่ามาก รเี ลย์จะไมท่ างาน สว่ นในการต่อวงจรน้นั สามารถต่อขว้ั ใดก็ได้ครับ เพราะตวั รีเลย์ จะไม่ระบุขั้วตอ่ ไว้ (นอกจากชนิดพเิ ศษ) 2. การใชง้ านกระแสผ่านหนา้ สัมผสั ซ่ึงทตี่ วั รเี ลยจ์ ะระบุไว้ เชน่ 10A 220AC คือ หนา้ สมั ผัสของรีเลย์นัน้ สามารถทนกระแสได้ 10 แอมแปร์ที่ 220VAC ครับ แตก่ ารใชก้ ็ควรจะใช้งานที่ ระดับกระแสตา่ กว่าน้จี ะเปน็ การดีกวา่ ครบั เพราะถ้ากระแสมากหนา้ สมั ผัส ของรีเลยจ์ ะละลาย เสยี หายได้ 3. จานานหนา้ สัมผสั การใช้งาน ควรดวู า่ รีเลยน์ นั้ มหี น้าสัมผัสใหใ้ ช้งานกี่อนั และมีขว้ั คอม มอนด้วยหรือไม่ ชนดิ ของรีเลย์ รีเลย์ที่นิยมใชง้ านและรู้จักกนั แพรห่ ลาย 4 ชนดิ 1. อารเ์ มเจอร์รีเลย์ (Armature Relay) 2. รีดรีเลย์ (Reed Relay) 3. รดี สวติ ช์ (Reed Switch) 4. โซลดิ สเตตรเี ลย์ (Solid-State Relay)

ประเภทของรเี ลย์ เป็นอุปกรณ์ทาหน้าทเ่ี ป็นสวิตชม์ หี ลักการทางานคลา้ ยกบั ขดลวดแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าหรอื โซลิ นอยด์ (solenoid) รีเลยใ์ ชใ้ นการควบคุมวงจร ไฟฟา้ ได้อย่างหลากหลาย รเี ลย์เป็นสวติ ชค์ วบคมุ ที่ ทางานดว้ ยไฟฟ้า แบง่ ออกตามลักษณะการใช้งานไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ 1. รีเลย์กาลงั (power relay) หรือมกั เรียกกนั วา่ คอนแทกเตอร์ (Contactor or Magneticcontactor)ใชใ้ นการควบคุมไฟฟา้ กาลงั มขี นาดใหญก่ วา่ รีเลยธ์ รรมดา 2. รเี ลยค์ วบคุม (control Relay) มขี นาดเลก็ กาลงั ไฟฟา้ ต่า ใชใ้ นวงจรควบคุมทัว่ ไปท่ีมี กาลังไฟฟ้าไม่มากนัก หรือเพ่ือการควบคุมรีเลยห์ รอื คอนแทกเตอรข์ นาดใหญ่ รเี ลยค์ วบคมุ บางที เรียกกันง่าย ๆ วา่ \"รีเลย\"์ ชนดิ ของรีเลย์ การแบ่งชนิดของรเี ลย์สามารถแบง่ ได้ 11 แบบ คือ ชนิดของรีเลยแ์ บ่งตามลักษณะของ คอยล์ หรอื แบง่ ตามลกั ษณะการใชง้ าน (Application) ได้แก่รเี ลย์ดงั ต่อไปนี้ 1. รเี ลย์กระแส (Current relay) คือ รีเลยท์ ี่ทางานโดยใชก้ ระแสมีทง้ั ชนิดกระแสขาด (Under- current) และกระแสเกนิ (Over current) 2. รเี ลย์แรงดัน (Voltage relay) คอื รเี ลย์ ทีท่ างานโดยใช้แรงดนั มที ัง้ ชนิดแรงดันขาด (Under-voltage) และ แรงดันเกนิ (Over voltage) 3. รเี ลยช์ ่วย (Auxiliary relay) คอื รีเลยท์ ่ีเวลาใชง้ านจะต้องประกอบเขา้ กับรีเลยช์ นดิ อ่ืน จึงจะทางานได้ 4. รีเลยก์ าลัง (Power relay) คือ รเี ลยท์ ี่รวมเอาคณุ สมบตั ิของรเี ลย์กระแส และรีเลย์ แรงดันเขา้ ดว้ ยกนั 5. รเี ลยเ์ วลา (Time relay) คือ รเี ลยท์ ที่ างานโดยมีเวลาเข้ามาเกีย่ วข้องด้วย ซงึ่ มีอยู่ดว้ ยกัน 4 แบบ คอื 5.1 รีเลยก์ ระแสเกนิ ชนดิ เวลาผกผนั กบั กระแส (Inverse time over current relay) คอื รีเลย์ ทมี่ เี วลาทางานเปน็ ส่วนกลับกบั กระแส 5.2 รเี ลยก์ ระแสเกนิ ชนดิ ทางานทนั ที (Instantaneous over current relay) คือ รีเลยท์ ท่ี างานทนั ทที นั ใดเมอื่ มีกระแสไหลผ่านเกนิ กว่าที่กาหนดทตี่ ้งั ไว้ 5.3 รเี ลยแ์ บบดิฟฟนิ ิตไทม์เล็ก (Definite time lag relay) คือ รีเลย์ ทม่ี เี วลาการ ทางานไม่ขึ้นอยู่กับความมากน้อยของกระแสหรอื ค่าไฟฟ้าอน่ื ๆ ท่ีทาใหเ้ กิดงานขึน้ 5.4 รีเลยแ์ บบอนิ เวอสดิฟฟินิตมนิ มิ ม่ั ไทม์เล็ก (Inverse definite time lag relay) คอื รีเลย์ ทที่ างานโดยรวมเอาคณุ สมบัติของเวลาผกผนั กบั กระแส (Inverse time) และ แบบดฟิ ฟนิ ิต ไทมแ์ ล็ก (Definite time lag relay) เข้าด้วยกนั 6. รีเลย์กระแสต่าง (Differential relay) คือ รเี ลย์ท่ที างานโดยอาศยั ผลต่างของกระแส 7. รีเลยม์ ที ศิ (Directional relay) คอื รีเลย์ทท่ี างานเม่ือมกี ระแสไหลผิดทิศทาง มีแบบรีเลย์ กาลงั มีทิศ (Directional power relay) และรเี ลย์กระแสมีทิศ (Directional current relay) 8. รีเลยร์ ะยะทาง (Distance relay) คือ รเี ลยร์ ะยะทางมีแบบต่างๆ ดงั นี้

- รแี อกแตนซร์ ีเลย์ (Reactance relay) - อมิ พแี ดนซร์ เี ลย์ (Impedance relay) - โมห์รเี ลย์ (Mho relay) - โอห์มรเี ลย์ (Ohm relay) - โพลาไรซ์โมห์รเี ลย์ (Polaized mho relay) - ออฟเซทโมหร์ เี ลย์ (Off set mho relay) 9. รเี ลยอ์ ณุ หภมู ิ (Temperature relay) คือ รเี ลยท์ ี่ทางานตามอุณหภูมิท่ตี ั้งไว 10. รีเลย์ความถ่ี (Frequency relay) คือ รีเลย์ที่ทางานเม่ือความถี่ของระบบตา่ กว่าหรือ มากกว่าที่ตัง้ ไว้ 11. บคู โฮลซ์รีเลย์ (Buchholz ‘s relay) คือรเี ลยท์ ี่ทางานดว้ ยกา๊ ซ ใชก้ ับหม้อแปลงท่ีแชอ่ ยู่ ในนา้ มนั เม่ือเกิด ฟอลต์ ขน้ึ ภายในหม้อแปลง จะทาให้นา้ มันแตกตวั และเกิดก๊าซขึ้นภายในไปดัน หน้าสัมผสั ใหร้ ีเลย์ทางาน ควำมรทู้ ่ัวไปเก่ียวกับรเี ลย์ 1.1 หน้าทข่ี องรีเลย์ คือ เป็นอปุ กรณ์ไฟฟา้ ทใ่ี ชต้ รวจสอบสภาพการณ์ของทุกส่วน ในระบบ กาลงั ไฟฟ้าอยตู่ ลอดเวลาหากระบบมกี ารทางานทผ่ี ดิ ปกติ รเี ลย์จะเปน็ ตัวสั่งการใหต้ ดั สว่ นทีล่ ัดวงจร หรอื ส่วนที่ทางานผดิ ปกติ ออกจากระบบทันทีโดยเซอร์กิตเบรกเกอร์จะเป็นตวั ที่ตัดสว่ นท่ีเกดิ ฟอลต์ ออกจากระบบจรงิ ๆ 1.2 ประโยชน์ของรีเลย์ 1. ทาให้ระบบส่งกาลงั มเี สถยี รภาพ (Stability) สูงโดยรีเลยจ์ ะตดั วงจรเฉพาะสว่ นที่ เกิดผิดปกติ ออกเท่าน้ัน ซ่ึงจะเปน็ การลดความเสยี หายให้แกร่ ะบบน้อยทส่ี ดุ 2. ลดคา่ ใช้จ่ายในการซ่อมแซมส่วนที่เกิดผดิ ปกติ 3. ลดความเสยี หายไม่เกดิ ลุกลามไปยังอุปกรณอ์ ่ืนๆ 4. ทาให้ระบบไฟฟ้าไม่ดบั ท้ังระบบเมื่อเกิดฟอลตข์ ึน้ ในระบบ 1.3 คุณสมบัติที่ดขี องรีเลย์ 1. ตอ้ งมีความไว (Sensitivity) คือมีความสามารถในการตรวจพบส่งิ ที่ผดิ ปกตเิ พยี ง เลก็ น้อยได้ 2. มคี วามเรว็ ในการทางาน (Speed) คือความสามารถทางานได้รวดเร็วทันใจ ไม่ทา ใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่อุปกรณ์และไม่กระทบกระเทอื นต่อระบบ โดยทวั่ ไปแลว้ เวลา ท่ีใชใ้ นการตัด วงจรจะขึ้นอยู่กับระดับของแรงดนั ของระบบดว้ ย ระบบ 6-10 เควี จะต้องตดั วงจรภายในเวลา 1.5-3.0 วนิ าที ระบบ 100-220 เควี จะตอ้ งตดั วงจรภายในเวลา 0.15-0.3 วินาที ระบบ 300-500 เควี จะตอ้ งตัดวงจรภายในเวลา 0.1-0.12 วนิ าที หวั ฉดี คือ อปุ กรณ์ทฉ่ี ีดพ่นของเหลวให้เปน็ ฝอย ของเหลวจะแตกตวั เปน็ ละอองเล็ก ๆ และฟุง้ กระจายเป็นละอองได้ต้องใช้พลังงาน ดังนนั้ หัวฉดี จึงถูกแบ่งออกตามประเภทของพลังงานท่ีก่อให้

เกดิ ละออง หวั ฉดี โดยทวั่ ๆ ไป จะทาหนา้ ที่ดังตอ่ ไปนี้ 1. ทาใหส้ ารแตกกระจายเปน็ ละอองสาร 2. ควบคุมการกระจายของละอองสาร 3. ควบคุมอตั ราการไหลของสาร เคร่อื งยนต์ดีเซลใชก้ ารฉดี น้ามันเชื้อเพลิงโดยตรง – น้ามันดีเซลจะถูกฉีดโดยตรงไปยงั กระบอกสูบ หวั ฉดี ในเครื่องยนต์ดเี ซลมีส่วนประกอบท่ีซับซ้อนมากท่ีสดุ หัวฉีดตอ้ งมีความสามารถทน ต่ออุณหภมู ิ และความดนั ภายในท่มี คี า่ สูงได้ การจา่ ยเชอื้ เพลงิ ของหวั ฉดี จะจา่ ยอย่างสม่าเสมอ และ จา่ ยเป็นละออง เพือ่ ให้ฟุ้งกระจายภายในห้องเผาไหมใ้ ห้มากทีส่ ุด ถ้าน้ามนั แพร่กระจายไมด่ ี จะทาให้ เครอ่ื งยนต์เกิดปญั หา เชน่ กาลังเคร่ืองตก เคร่ืองส่ันเดนิ ไม่เรยี บ การจุดระเบดิ ในห้องเผาไหมแ้ ต่ละ สูบไม่เทา่ กนั รถยนต์รนุ่ ใหม่ ๆ จงึ ต้องมีอุปกรณ์ชว่ ยแกป้ ัญหาเหล่านี้ โดยการใชว้ าล์วเหนี่ยวนาพิเศษ (Special induction valves), หอ้ งเผาไหมล้ ว่ งหนา้ หรอื อุปกรณ์อืน่ ๆ ท่ที าให้อากาศหมุนวนในห้อง เผาไหม้ เพ่ือให้การเผาไหม้ดีข้ึน สมบูรณข์ ึน้ การไหลของหวั ฉดี จะถกู ตรวจสอบโดยใช้เครือ่ งมอื ทดสอบที่ซบั ซ้อนท้ังใน ระหวา่ ง กระบวนการทางานและเม่ือส้ินสดุ รอบการผลิต การ ดาเนินงานทีส่ าคัญที่สุดของการทดสอบ และ ตรวจสอบความหนาแนน่ จะดาเนนิ การโดย ช่างเทคนิคท่มี ีทักษะสูงมีความแมน่ ยาสูง โดยใช้เครื่องมือ อิเล็กทรอนิกส์ หัวฉีดทเ่ี หมาะสมสาหรบั นา้ มันทงั้ ดเี ซลและเช้ือเพลงิ หนัก ช่วง จาก T ขนาดเลก็ และ ขนาด DL - T - DLF กับหวั ฉีดกับ O 16 มม. จากหลุมคู่มือการใช้แทนกันได้อย่างสมบูรณ์ ด้วย องค์ประกอบท่สี าคญั ที่สดุ OEM ขอ้ ตกลง ดีเซล Levante ยงั หวั ฉีดสาหรับเครือ่ งยนตด์ เี ซลเรอื เดินสมุทร, เครื่องมือเขียน, เครอ่ื งยนต์ Mule, เคร่อื งยนตร์ ถไฟ, Earth Moving เครือ่ งมอื เครอ่ื งและอื่น ๆ ท้ังเยน็ และ uncooled; หัวมรี ่างกายในเหลก็ (nichel และโครเม่ียม) nitrurated หรอื K2D และพวกเขา สามารถโครเม่ยี ม หรือชุบทองแดงในขณะท่เี ข็มอยู่ในเหล็กความเร็วสูง ประเภทของหัวฉีด หัวฉดี ถกู แบ่งออกตามประเภทของพลังงานท่ีกอ่ ให้เกิดละอองได้ดงั นี้ คอื 1. หวั ฉดี ประเภทใช้แรงดนั ของเหลว 2. หัวฉีดใชแ้ รงลม 3. หัวฉีดใชแ้ รงเหว่ียง

4. หัวฉีดใชค้ วามร้อน 5. หวั ฉดี ใชป้ ระจุไฟฟา้ ในท่นี ี้จะขอกลา่ วเฉพาะหัวฉีดใชแ้ รงดนั ของเหลว หัวฉีดใชแ้ รงลม และหัวฉดี ใชแ้ รงเหว่ยี ง หวั ฉีดใชแ้ รงดนั ของเหลวแบ่งออกเปน็ 3 แบบ คือ หวั ฉดี แบบแรงปะทะ หวั ฉดี แบบแรงปะทะ หวั ฉดี แบบรปู พดั และหวั ฉีดแบบรปู กรวย 1. หัวฉีดแบบแรงปะทะ เปน็ หวั ฉดี สาหรบั ใช้พน่ สารกาจัดวัชพชื โดยเฉพาะทาด้วยโลหะ หรอื พลาสติกแขง็ เปน็ ชิน้ เดียวกันมีรขู นาดเล็กตรงกลาง ของเหลวทไ่ี หลผ่านรูนจี้ ะปะทะกับแผ่นกนั้ แลว้ กระจายตวั ออก เป็นละอองสารในลักษณะรปู พดั อาจจะมีมุมระหว่าง 25-180 องศา ขึ้นอยูก่ ับ แรงดนั ที่ใช้ แต่โดยทั่วไป หวั ฉีดแบบน้จี ะใช้แรงดนั ต่าประมาณ 4-15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ซ่ึงจะให้ ละอองสารทห่ี ยาบจะได้ไมป่ ลิวไปถูกพืชอ่ืน ที่อย่ขู า้ งเคยี งพื้นทที่ ีล่ ะอองสารตกลงดนิ จะเปน็ รูปวงรี แคบ ๆ บรเิ วณปลายทัง้ สองข้างจะโตเล็กน้อย 2. หัวฉีดแบบรปู พัด หัวฉดี แบบนท้ี าด้วยวตั ถุชิ้นเดยี ว มลี ักษณะกลมแบบตรงกลางเจาะ เป็นรปู วงรีเล็ก ๆ ให้ของเหลวไหลผ่าน ขนาดของเหลวทไ่ี หลผ่านรฉู ดี ด้วยแรงดนั สูงจะแผ่นเป็นรูปพัด มีความกว้างของมุมที่ของเหลวออกมาตา่ ง ๆ กันระหวา่ ง 65 - 80 องศา อตั ราการไหลมากน้อยข้ึนอยู่ กับขนาดของรูฉดี และแรงดันหัวฉดี ชนิดน้ี ใชใ้ นงานป้องกนั กาจดั วัชพืชดว้ ยแรงดนั ต่าประมาณ 15 ปอนด/์ ตารางนิ้ว เพื่อให้มลี ะลองสารหยาบจะไดไ้ ม่ปลวิ ไม่ถูกพืชขา้ งเคยี ง นอกจากน้ันยังใช้พน่ สาร ป้องกนั กาจดั ศัตรใู นพืชเตีย้ ๆ และ สมา่ เสมอ เช่นถัว่ ลิสง พืชผัก หรอื ใชง้ านสาธารณสขุ เพือ่ พ่นสาร กาจัดยงุ ดว้ ยแรงดนั สูงประมาณ 40-60 ปอนด์/ตารางนวิ้ เพื่อให้ได้ ละอองสารท่ลี ะเอียด 3. หัวฉดี แบบรูปกรวย เป็นหัวฉดี ที่ใชก้ ันมากในการกาจดั ศัตรูพชื ประกอบด้วยชิ้นสว่ น สาคญั 2 ช้ิน คอื รฉู ีด ทาด้วยโลหะหรอื วัสดแุ ข็งเปน็ แผน่ แบน ๆ หรอื เป็นแทง่ กลมมีรู หรอื ร่องเอียง ให้ของเหลวไหลผา่ นเพอ่ื เกดิ กระแสวน ดา้ นหลงั ของรูฉดี และผ่านออกไป เป็นรูปกรวยกลม ถ้าพืน้ ท่ี ตรงกลางของรูปกรวยน้ันว่างเรยี กวา่ หวั ฉีดแบบกรวยกลวง แต่ถา้ เป็นรูปกรวยนั้นมีละอองสารเต็ม เรียกวา่ หวั ฉีด แบบกรวยทึบ หวั ฉีดแบบน้ีมีขนาดของรฉู ดี และแผน่ ทาใหเ้ กิดกระแสวนใหเ้ ลอื กหลาย ขนาด เพื่อใหไ้ ด้อตั ราการไหลและขนาดของ ละอองสารที่ต้องการมักจะใชแ้ รงดันสงู ตั้งแต่ 40 ปอนด์ ตอ่ ตารางน้ิวขน้ึ ไป สวิตซ์ ความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ียวกบั สวติ ช์ สวิตช์ คอื อุปกรณ์ทท่ี าหนา้ ท่ีควบคุมการไหลของกระแสไฟฟา้ ภายในวงจร หรือกล่าวง่าย ๆ คอื อปุ กรณเ์ ปิด ปิดกระแสไฟฟ้าภายในวงจรไฟฟ้า โดยใชส้ ัญลักษณ์ดังรปู สวิตช์ท่ีใชใ้ นงานอิเลก็ ทรอนกิ สม์ หี ลายชนิด เชน่ สวติ ชเ์ ล่อื น สวติ ช์กระดก สวติ ช์หมุน สวิตช์กด สวติ ชไ์ มโคร สวติ ชก์ ุญแจ ฯลฯ สวิตช์เลื่อน เปน็ สวติ ชช์ นิดหนึง่ ทใี่ ช้เปดิ ปิด การทางานของอปุ กรณ์ ใชง้ านโดยการเลื่อน การ ควบคุมตดั ต่อสวิตช์ ทาไดโ้ ดยผลักเล่อื นสวติ ชข์ ้นึ บนหรอื ลงลา่ ง การเลอ่ื นสวติ ชข์ ้นึ บนเป็นการต่อ (ON) การเล่อื นสวติ ช์ลงลา่ งเปน็ การตดั (OFF) นิยมใชเ้ ป็นอุปกรณ์เปดิ ปิด สิ่งของประเภทของเลน่ เด็ก และเครอ่ื งใช้ตา่ งๆ เชน่ นาฬิกาปลุก ไฟฉาย

สวิตช์กระดก เปน็ สวติ ช์ที่ใช้งานโดยการกด เมื่อต้องการเปดิ สวติ ชก์ ใ็ หก้ ดดา้ นทร่ี ะบุวา่ เปน็ การเปิดสวิตชล์ ง สว่ นอกี ดา้ นทเ่ี หลอื ก็จะกระดกขึน้ โดยสว่ นใหญ่แลว้ จะมตี ัวอักษรระบกุ ารทางานบน ตัวสวิตช์ เชน่ เปดิ ปดิ On-OFF เราจะพบเห็นการใช้สวติ ชก์ ระดกนี้กับหลอดไฟ ปล๊กั ราง หรือ เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าตา่ งๆ สวิตช์กด ใช้งานโดยการกดเปิด ปดิ ในปมุ่ เดียวกัน คือ กดปุม่ ท่ีอยสู่ ่วนกลางสวิตช์ กดปุ่ม สวติ ชห์ นึ่งครัง้ สวิตชต์ อ่ (ON) และเมื่อกดปุ่มสวิตชอ์ กี หน่ึงคร้งั สวิตชต์ ัด (OFF) การทางานเป็นเชน่ นี้ ตลอดเวลา แตส่ วิตช์แบบกดบางแบบอาจเป็นชนดิ กดตดิ ปลอ่ ยดับ (Momentary) คือขณะกดปมุ่ สวติ ช์เป็นการตอ่ (ON) เม่ือปล่อยมือออกจากปุม่ สวติ ชเ์ ปน็ การตดั (OFF) ทนั ที เช่น ป่มุ ปดิ เปดิ โทรทศั น์ รีโมท คอมพวิ เตอร์ สวิตช์แบบก้ำนยำว สวติ ช์แบบก้านยาว (Toggle Switch) เป็นสวติ ช์ที่เวลาใช้งานต้องโยกกา้ นสวติ ชไ์ ปมาโดยมี กา้ นสวิตชโ์ ยกย่นื ยาวออกมาจากตวั สวิตช์ การควบคมุ ตัดต่อสวติ ช์ ทาไดโ้ ดยโยกก้านสวิตชใ์ ห้ขึ้นบน

หรือลงล่าง ในการโยกก้านสวติ ชข์ น้ึ มักจะเปน็ การต่อ (ON) และโยกกา้ นสวิตชล์ งมักจะเป็นการตัด (OFF) สวติ ชแ์ บบหมุน สวติ ช์แบบหมุน (Rotary Switch) หรอื เรียกว่าสวิตช์แบบเลอื กค่า (Selector Switch) เป็น สวติ ชท์ ี่ตอ้ งหมุนก้านสวิตช์ไปโดยรอบเปน็ วงกลม สามารถเลอื กตาแหน่งการตัดตอ่ ได้หลาย ตาแหนง่ มีหน้าสัมผสั สวติ ช์ใหเ้ ลือกต่อมากหลายตาแหนง่ เชน่ 2, 3, 4 หรอื 5 ตาแหน่ง เป็นต้น สวิตชแ์ บบไมโคร เป็นสวติ ช์แบบไมโคร (Microswitch) คือสวติ ชแ์ บบกดชนดิ กดติดปลอ่ ยดบั นัน่ เอง แต่เป็น สวติ ชท์ ่สี ามารถใช้แรงจานวนนอ้ ย ๆ กดปุ่มสวิตชไ์ ด ก้านสวติ ช์แบบไมโครสวติ ชม์ ดี ้วยกันหลาย แบบ อาจเปน็ ปมุ่ กดเฉยๆ หรอื อาจมกี า้ นแบบโยกได้มากดปมุ่ สวิตช์อกี ทีหนึ่ง การควบคุมตัดต่อ สวติ ช์ ทาได้โดยกดปมุ่ สวิตช์หรอื กดกา้ นคันโยกเป็นการต่อ (ON) และเม่อื ปล่อยมือออกจากปุ่มหรือ กา้ นคนั โยกเป็นการตดั (OFF)

สวิตชแ์ บบดิพ สวติ ช์แบบดพิ (DIP Switch) คาวา่ ดิพ (DIP) มาจากคาเตม็ ว่าดอู ัลอินไลน์แพกเกจ (Dual Inline Package) เปน็ สวิตช์ขนาดเลก็ ใชง้ านร่วมกบั วงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทีส่ รา้ งขนึ้ ในรปู ชพิ (Chip) ที่ มขี นาดเล็กๆ หรือใช้งานกบั ไอซี (IC = Integrated Circuit) ลักษณะสวติ ช์สามารถตดั หรือตอ่ วงจร ได้ การควบคุมตดั ต่อสวิตช์แบบดิพจะตอ้ งใช้ปลายมปากกาหรือปลายดนิ สอในการปรบั เลือ่ น สวิตช์ สวติ ช์แบบดิพมกั ถกู ติดต้งั บนแผน่ วงจรพิมพ์ (Printed Cricuit Board) ใช้กับกระแสไมเ่ กิน 30mA ทแ่ี รงดัน 30VD กำรทำงำนของสวติ ช์ สว่ นประกอบพนื้ ฐานของสวิตช์จะมสี ่วนที่เรยี กวา่ หน้าสมั ผสั อยูภ่ ายในซึง่ คล้ายกบั สะพาน เช่ือมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าได้ สวิตช์ทาหนา้ ทีเ่ ปิด ปิด วงจรไฟฟ้า ทาให้วงจรไฟฟ้าเกิดการ ทางานอยู่ 2 ลักษณะคือ วงจรเปดิ และวงจรปดิ วงจรเปิด คือลักษณะท่ีหน้าสมั ผสั ของสวติ ช์ไม่ เชือ่ มต่อกันทาให้กระแสไฟฟ้าไมส่ ามารถไหลไปในวงจรได้ และวงจรปดิ คือ การท่หี น้าสัมผสั ของ สวิตชเ์ ช่ือมต่อกันทาให้กระแสไฟฟา้ ไหลในวงจรได้วงจรเปิด หนา้ สมั ผัสไมเ่ ช่อื มต่อกัน กระแสไฟฟ้าไม่ สามารถไหลในวงจรได้ ทาให้อปุ กรณ์ไฟฟา้ ไม่ทางาน แตเ่ รามกั จะเรียกกันวา่ เป็นการปดิ สวิตช์ ซ่ึง หมายถงึ การปดิ การทางานของอุปกรณ์ไฟฟ้านน่ั เอง วงจรปิด หน้าสมั ผัสเชือ่ มต่อกนั กระแสไฟฟา้ สามารถไหลในวงจรได้ ทาให้อุปกรณ์ไฟฟ้าทางาน แต่เรามกั จะเรยี กกนั วา่ เป็นการเปิดสวิตช์ ซงึ่ หมายถงึ การเปิดการทางานของอุปกรณ์ไฟฟ้า ตวั อย่างการทางานของสวติ ช์ ในวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

โดยทว่ั ไป เมอ่ื เราเล่ือนสวิตช์ไฟฉายลง จะทาให้สวติ ชใ์ นวงจรเปิด กระแสไฟฟ้าจะไมส่ ามารถ ไหลภายในวงจรได้ เนื่องจากไม่มีสะพานเชอ่ื มกระแสไฟฟ้าใหไ้ หลจากถา่ นไฟฉายไปสหู่ ลอดไฟได้ ส่งผลใหห้ ลอดไฟดบั ขณะเดียวกันเมอื่ เราเล่ือนสวติ ช์ไฟฉายขน้ึ จะทาให้สวิตช์ในวงจรเปิด กระแสไฟฟา้ จะสามารถไหลจากถา่ นไฟฉายไปสู่หลอดไฟได้ ทาให้หลอดไฟสวา่ ง สวติ ชม์ ีหลายรปู แบบ ซง่ึ แต่ละรูปแบบจะถกู ออกแบบและสร้างมาเพื่อการใช้งานในลกั ษณะที่ แตกตา่ งกันไป นอกจากน้แี ลว้ สวิตชบ์ างประเภทยังบอกคุณลักษณะการทนกระแสไฟฟ้าและ แรงดนั ไฟฟ้าอกี ดว้ ย ดังน้นั เพื่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการใชง้ านสูงสดุ จึงควรเลือกใช้สวิตชใ์ ห้ เหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงคข์ องการใชง้ าน และควรศึกษาคุณลักษณะเฉพาะของสวิตช์แต่ละรปู แบบให้ เขา้ ใจก่อนตัดสินใจเลือกใช้ ท่อนา้ มนั ทอ่ นา้ มันเชื้อเพลงิ แบบแชใ่ นถังสาหรบั ส่งเชอื้ เพลิงทวั่ ไปนั้นออกแบบข้ึนเพ่ือส่งนา้ มนั เชื้อเพลงิ จากถังไปยงั เครื่องยนต์ โดยท่อนา้ มนั เชอื้ เพลิงแบบแชใ่ นถังของ เกทส์มคี ุณภาพสูงกวา่ มาตรฐาน SAE 30R10 และสามารถรองรับนา้ มันเบนซิน น้ามันเบนซินผสมแอลกอฮอล์ หรอื นา้ มัน ดเี ซลในสภาวะการทางานท่ตี ้องแชอ่ ยภู่ ายในถงั น้ามนั เชือ้ เพลิง คุณสมบตั ิพิเศษของผลติ ภณั ฑ์: สร้างขึ้นเพ่ือใช้สาหรบั แช่ในน้ามันเบนซิน (และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลยี มเหลวอน่ื ๆ) ไดท้ ้ังภายนอกและ ภายใน ไดม้ าตรฐาน SAE 30R10 ปลอกท่อทาจากฟลอุ อโรอลี าสโตเมอรช์ ่วยป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ และ ยืดอายกุ ารใชง้ าน เสรมิ ความแขง็ แรงดว้ ยเสน้ ใยอะรามดิ ซ่ึงเปน็ เสน้ ใยทีใ่ ชใ้ นเสื้อเกราะกันกระสุน และมีความแข็งแรงมากกว่าเหล็กกลา้ สายรดั ท่อน้ามัน หางปลาตอ่ แบตเตอร่ี หลอดตวงขนาด 50 mlแผน่ ยดึ หัวฉดี กลอ่ งแกว้ 1. ใช้นำยำลำ้ งหัวฉดี เติมเข้าไปทถี่ ังน้ามัน เพือ่ ชะลา้ งส่ิงสกปรกต่างๆ โดยปลอ่ ยใหม้ นั ไหลเวียนอยู่ในระบบเดยี วกับนา้ มันเช้ือเพลิง เนื่องจากทุกครั้งท่มี ีการฉีดจา่ ยนา้ มัน สารทาความ สะอาดนี้กจ็ ะล้างคราบสงิ่ สกปรกตา่ งๆ ใหห้ ลดุ ออกไปจากหัวฉีดดว้ ย

วิธีง่ายๆ แค่ใช้นา้ ยาลา้ งหัวฉีด 2. ถอดล้ำงแบบเต็มระบบ โดยใช้เครอ่ื งลา้ งหัวฉดี วิธนี ี้ถือว่าดีกวา่ แบบแรก เพราะจะเห็นว่า หัวฉีดแต่ละหัวเป็นยังไง ตันมากน้อยแค่ไหน และปริมาณน้ามันที่ถูกฉีดออกมาแต่ละหัวแตกต่างกัน เท่าไร จากน้ันจึงจะล้างด้วยเคร่ืองมือพิเศษ ในข้ันตอนนี้พวกสิ่งสกปรกต่างๆ คราบยางเหนยี วๆ ที่ติด อยู่กับหัวฉีดจะหลุดออกมา สุดท้ายทาการทดสอบ เพ่ือดูการฉีดของแต่ละหัว รวมไปถึงปริมาณของ เช้ือเพลงิ ท่ีถูกฉีดออกมา มรี ะดับเท่ากนั ทง้ั หมดหรือไม่ ซ่ึงหัวฉดี ทีด่ ีตอ้ งฉีดเชอ้ื เพลิงออกมาเท่าๆ กัน ควรท้าความสะอาดหัวฉีด เพอ่ื รกั ษาเคร่ืองยนต์ สาหรบั วธิ ที นี่ าเสนอน้ี วิธีแรกเราสามารถทาได้เองง่ายๆ แค่ไปซื้อน้ายาลา้ งหวั ฉดี มา และจัดการตาม กระบวนการ แตว่ ิธีท่ี 2 ไมแ่ นะนาทาเองเพราะรายละเอียดที่ค่อนข้างมาก เราจงึ แนะนาให้เขา้ อ่ดู ีกว่า เพราะมันสะดวกสบาย ไมต่ ้องเปลอื งแรง และเวลา ทง้ั 2 วธิ นี ้ีอาจมคี า่ ใช้จ่ายแตกตา่ งกนั ด้วยวธิ แี รก ไม่ไดล้ ะเอยี ดมากเพราะฉะนั้นวธิ แี รกจงึ ลงทุนแคห่ ลักร้อย ส่วนวิธีที่ 2 กจ็ ะมากกว่านั้น แตห่ ากอยาก เปล่ยี นใหม่ก็เตรยี มเงินไว้ประมาณหมนื่ หรือหม่นื กวา่ ๆ ซ่ึงข้ึนกบั รถยนต์รนุ่ น้นั ๆ หวั ฉีด (Injector) คือ สว่ นประกอบหนงึ่ ในเคร่อื งยนต์ซงึ่ ทาหนา้ ทจ่ี า่ ยนา้ มนั เชอื้ เพลงิ เข้าไป ยังหอ้ งเผาไหมเ้ พ่ือที่จะทาการจุดระเบิด โดยจะทาการฉีดนา้ มันเช้อื เพลงิ ออกมาใหเ้ ปน็ ฝอยด้วยการ ควบคุมจากกล่องอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื กล่อง ECU

ส่วนประกอบของหัวฉดี (Injector) สาหรับเจา้ หัวฉดี น้ามนั เชอ้ื เพลิงนีม้ นั จะประกอบไปด้วย 1. ขดลวดทองแดงหรือขดลวดคอล์ย 2. เขม็ หวั ฉีด 3. สปริงกดเข็มหัวฉีดน้ามนั เชือ้ เพลิง 4. กรองนา้ มันเชื้อเพลิง ในการทางานของหัวฉดี นี้ มันจะทางานดว้ ยการควบคมุ จากกลอ่ ง ECU โดยจ่ายสญั ญาณ กราวดใ์ ห้ และขดลวดทองแดงในหัวฉีดจะทางานโดยการสร้างสนามแมเ่ หลก็ และใชแ้ รงนีย้ กเขม็ หวั ฉีด จากนน้ั แรงดนั นา้ มนั เช้ือเพลิงทร่ี ออยู่ทีบ่ รเิ วณเข็มหัวฉีด ก็จะสามารถฉดี ออกไป บริเวณ ดา้ นหลงั วาลว์ ไอดกี จ็ ะเกิดเป็น ไอดี ซ่งึ ไอดี คือส่วนผสมของอากาศและนา้ มันเชื้อเพลิงแลว้ ลูกสบู ก็ จะดดู ไอดี ลงไปในกระบอกสูบ ในจังหวะดดู เปน็ ขนั้ ตอนต่อไป หัวฉดี คืออุปกรณ์ที่ฉีดพ่นของเหลวใหเ้ ปน็ ฝอย ของเหลวจะแตกตวั เปน็ ละอองเล็ก ๆ และ ฟ้งุ กระจายเป็นละอองได้ต้องใชพ้ ลังงาน ดังนน้ั หัวฉีดจึงถูกแบ่งออกตามประเภทของพลังงานที่ ก่อให้เกดิ ละออง หัวฉีดโดยท่ัว ๆ ไป จะทาหนา้ ท่ดี ังตอ่ ไปน้ี 1. ทาให้สารแตกกระจายเป็นละอองสาร 2. ควบคมุ การกระจายของละอองสาร 3. ควบคุมอัตราการไหลของสาร เครื่องยนต์ดีเซลใช้การฉีดน้ามันเชอื้ เพลงิ โดยตรง – น้ามนั ดีเซลจะถูกฉดี โดยตรงไปยงั กระบอกสูบ หัวฉดี ในเคร่อื งยนตด์ เี ซลมีสว่ นประกอบท่ีซับซ้อนมากทสี่ ดุ หัวฉีดต้องมีความสามารถทน ต่ออุณหภูมิ และความดนั ภายในทม่ี คี ่าสูงได้ การจา่ ยเช้อื เพลิงของหัวฉดี จะจา่ ยอย่างสม่าเสมอ และ จา่ ยเปน็ ละออง เพ่อื ให้ฟุ้งกระจายภายในห้องเผาไหม้ให้มากท่ีสุด ถา้ น้ามนั แพร่กระจายไมด่ ี จะทาให้ เคร่อื งยนต์เกดิ ปญั หา เชน่ กาลงั เครอ่ื งตก เครื่องสน่ั เดนิ ไมเ่ รียบ การจดุ ระเบดิ ในห้องเผาไหมแ้ ตล่ ะ

สบู ไม่เทา่ กัน รถยนตร์ ุ่นใหม่ ๆ จึงตอ้ งมีอปุ กรณช์ ่วยแกป้ ัญหาเหล่านี้ โดยการใช้วาล์วเหนี่ยวนาพิเศษ (Special induction valves), ห้องเผาไหม้ลว่ งหน้า หรืออุปกรณ์อน่ื ๆ ท่ที าให้อากาศหมุนวนในห้อง เผาไหม้ เพื่อให้การเผาไหม้ดีข้ึน สมบูรณข์ ึน้ การไหลของหัวฉีดจะถูกตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมือทดสอบท่ีซับซ้อนท้ังใน ระหว่าง กระบวนการทางานและเมื่อสิ้นสดุ รอบการผลิต การ ดาเนินงานทสี่ าคัญที่สุดของการทดสอบ และ ตรวจสอบความหนาแน่นจะดาเนนิ การโดย ช่างเทคนิคท่มี ีทักษะสูงมีความแม่นยาสงู โดยใชเ้ คร่ืองมือ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หัวฉีดทเ่ี หมาะสมสาหรับน้ามันทั้งดีเซลและเช้ือเพลงิ หนัก ช่วง จาก T ขนาดเล็กและ ขนาด DL - T - DLF กบั หัวฉีดกบั O 16 มม. จากหลมุ คู่มือการใช้แทนกนั ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ดว้ ย องค์ประกอบทีส่ าคญั ทสี่ ุด OEM ข้อตกลง ดีเซล Levante ยงั หวั ฉดี สาหรบั เครอ่ื งยนต์ดีเซลเรอื เดนิ สมุทร, เครอ่ื งมือเขยี น, เครื่องยนต์ Mule, เคร่ืองยนต์รถไฟ, Earth Moving เครอ่ื งมือเครื่องและอ่นื ๆ ท้ังเย็นและ uncooled; หัวมรี ่างกายในเหล็ก (nichel และโครเม่ียม) nitrurated หรือ K2D และ พวกเขาสามารถโครเม่ียม หรอื ชุบทองแดงในขณะท่ีเข็มอยู่ในเหลก็ ความเร็วสงู ประเภทของ หวั ฉีด หวั ฉดี ถูกแบ่งออกตามประเภทของพลังงานที่กอ่ ให้เกดิ ละอองได้ดงั น้ี คือ 1. หัวฉดี ประเภทใชแ้ รงดนั ของเหลว 2. หัวฉดี ใชแ้ รงลม 3. หวั ฉีดใช้แรงเหว่ยี ง 4. หัวฉีดใช้ความร้อน 5. หัวฉีดใช้ประจุไฟฟา้ ในที่น้ีจะขอกล่าวเฉพาะหัวฉีดใช้แรงดันของเหลว หัวฉดี ใชแ้ รงลม และหัวฉีดใชแ้ รงเหวยี่ ง หัวฉีดใช้แรงดันของเหลวแบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ หัวฉีดแบบแรงปะทะ หัวฉีดแบบแรงปะทะ หัวฉีด แบบรปู พัด และหัวฉดี แบบรปู กรวย 1. หัวฉีดแบบแรงปะทะ เป็นหัวฉีดสาหรับใช้พ่นสารกาจัดวัชพืชโดยเฉพาะทาด้วย โลหะ หรอื พลาสติกแข็งเป็นช้นิ เดียวกันมีรูขนาดเล็กตรงกลาง ของเหลวท่ไี หลผา่ นรนู จี้ ะปะทะกับแผ่น ก้ันแล้วกระจายตัวออก เป็นละอองสารในลักษณะรูปพัด อาจจะมีมุมระหว่าง 25-180 องศา ขึ้นอยู่ กับแรงดันที่ใช้ แต่โดยท่ัวไป หัวฉีดแบบนี้จะใช้แรงดันต่าประมาณ 4-15 ปอนด์ต่อตารางน้ิว ซึ่งจะให้ ละอองสารที่หยาบจะได้ไม่ปลิวไปถูกพืชอื่น ท่ีอยู่ข้างเคียงพ้ืนท่ีที่ละอองสารตกลงดินจะเป็นรูปวงรี แคบ ๆ บรเิ วณปลายทัง้ สองข้างจะโตเล็กนอ้ ย 2. หวั ฉีดแบบรูปพดั หัวฉดี แบบน้ีทาด้วยวัตถุช้นิ เดียว มลี ักษณะกลมแบบตรงกลางเจาะ เป็นรปู วงรีเล็ก ๆ ให้ของเหลวไหลผา่ น ขนาดของเหลวทีไ่ หลผ่านรูฉีดด้วยแรงดันสูงจะแผน่ เป็นรูปพัด มีความกว้างของมมุ ท่ีของเหลวออกมาตา่ ง ๆ กันระหวา่ ง 65 - 80 องศา อัตราการไหลมากนอ้ ยขน้ึ อยู่ กับขนาดของรูฉีด และแรงดันหัวฉีดชนิดนี้ ใช้ในงานป้องกันกาจัดวัชพืชด้วยแรงดันต่าประมาณ 15

ปอนด์/ตารางนิ้ว เพ่ือให้มีละลองสารหยาบจะได้ไม่ปลิวไม่ถูกพืชข้างเคียง นอกจากน้ันยังใช้พ่นสาร ป้องกันกาจัดศัตรูในพืชเต้ีย ๆ และ สม่าเสมอ เช่นถ่ัวลิสง พืชผัก หรือใช้งานสาธารณสุขเพ่ือพ่นสาร กาจัดยุงด้วยแรงดันสูงประมาณ 40-60 ปอนด์/ตารางนิ้ว เพ่ือให้ได้ ละอองสารที่ละเอียด 3. หัวฉีดแบบรูปกรวย เป็นหัวฉีดท่ีใช้กนั มากในการกาจดั ศัตรพู ืช ประกอบด้วยชิ้นส่วนสาคัญ 2 ช้ิน คือ รูฉีด ทาด้วยโลหะหรอื วัสดแุ ข็งเปน็ แผน่ แบน ๆ หรอื เป็นแทง่ กลมมีรู หรอื ร่องเอียงให้ของ เหลวไหลผ่านเพื่อเกิดกระแสวน ด้านหลังของรูฉีดและผ่านออกไป เป็นรูปกรวยกลม ถ้าพื้นที่ตรง กลางของรูปกรวยนั้นว่างเรียกวา่ หวั ฉีดแบบกรวยกลวง แต่ถา้ เป็นรปู กรวยน้ันมีละอองสารเต็มเรยี กว่า หัวฉีด แบบกรวยทึบ หัวฉีดแบบนี้มีขนาดของรูฉีด และแผ่นทาให้เกิดกระแสวนให้เลือกหลายขนาด เพ่ือให้ได้อัตราการไหลและขนาดของ ละอองสารท่ีต้องการมักจะใช้แรงดันสูงตั้งแต่ 40 ปอนด์ต่อ ตารางนว้ิ ข้ึนไป

บทท่ี 3 วธิ ีกำรดำเนินกำรศึกษำ 1.อปุ กรณ์และวัสดทุ ่ีใชใ่ นกำรศึกษำ 1.1 แบตเตอรี่ 12 โวลต์ 1 ลกู 1.2 เรคกูเลเตอร์ 1 ชดุ 1.3 ถังใสน่ ้ายาลา้ งหวั ฉดี 1 ถงั 1.4 ป๊มติ๊ก 9 บาร์ 1 ตวั 1.5 รีเลย์ 1 ตวั 1.7 หวั ฉีด 1 อัน 1.8 หลอดตวง 1 อนั 1.9 สวิตซ์ 2 ตวั 1.10 ท่อน้ามัน 4 เส้น 1.11 สายรดั ท่อน้ามัน 1 ชดุ 1.12 หางปลาตอ่ แบตเตอร่ี 1 ชดุ 1.13 เหล็กโครงสร้างฐาน 4 อัน 2. วิธกี ำรทำเครือ่ งทำควำมสะอำดหัวฉีด 2.1 นาเหล็กกล่องมาตดั ขนาด 50 เซนติเมตร จานวน 2 เสน้ และขนาด 30 เซนติเมตร 2 เสน้ พรอ้ มตัดมมุ หัว 45 องศา 2.2 เหล็กมาวางตอ่ กันเปน็ รูปสเี่ หลีย่ มผืนผา้ ใหไ้ ด้ฉาก 2.3 เชือ่ มมมุ ทั้ง 4 มมุ และเชื่อมเก็บรอยเช่ือมให้เต็มและสวยงาม 2.4 นาเหลก็ โครงสรา้ งมาปูพ้ืนให้เรยี บรอ้ ย 2.5 ตดั เหลก็ แลว้ นามาเช่ือมเป็นฐานติดสวติ ซ์ควบคุม 2.6 นาถงั ใส่นา้ ยามายดึ ติดกับโครงสรา้ งและเจาะรูยึดกบั น็อตให้เรียบร้อย 2.7 นาแบตเตอรี่มาวางบนฐานโครงสรา้ งและนาเหลก็ รัดแบตเตอรมี่ าคลอบพร้อมเจาะรู ยดึ นอ็ ต 2.8 นาเหล็กมาตดั แล้วนาไปเชือ่ มเปน็ ฐานยดึ เรกกเู ลเตอร์ 2.9 นาเรกกเู ลเตอรม์ ายึดติดกับฐานบนโครงสร้าง 2.10 นาป๊ัมติ๊กมายึดติดกับโครงสรา้ งใหแ้ นน่ 2.11 นาเหล็กมาตัดทาโครงยึดแปน้ รับหัวฉดี และนาไปยดึ กับโครงสร้าง 2.12 นาชุดหลอดตวงมายดึ กับโครงสร้าง 2.13 เดินท่อน้ามนั และติดยดึ ใหเ้ รียบรอ้ ย 2.14นาสายไฟมาเดินเขา้ กับปั๊มต๊กิ และหวั ฉดี ใหเ้ รียบร้อย พร้อมใชง้ าน

2.15 นาสวติ ซม์ าตดิ ตัง้ พรอ้ มต่อสายไฟให้สมบูรณ์ 2.16 เม่อื ไดค้ รบเรยี บร้อยแล้วทาการทดลองเพ่ือหาจดุ ท่ีต้องแก้ไขปรับปรงุ วธิ ีกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ 1.เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ในกำรทำเคร่ืองทำควำมสะอำด หัวฉดี 2.เตรยี มวัสดอุ ปุ กรณใ์ นกำรทำเคร่ืองทำควำมสะอำด หัวฉีด

3.เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณใ์ นกำรทำเครอ่ื งทำควำมสะอำด หวั ฉีด

4.เตรยี มวัสดุอุปกรณ์ในกำรทำเครื่องทำควำมสะอำด หวั ฉีด 5. เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ในกำรทำเครือ่ งทำควำมสะอำดหัวฉดี

6.ตดิ ตงั วสั ดอุ ปุ กรณพ์ รอ้ มทดสอบเคร่อื งทำควำม สะอำดหัวฉีด

บทที่ 4 ผลกำรดำเนินกำร ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลการหาคุณภาพของเครื่องทาความสะอาดหัวฉีดการหาคุณภาพของ เคร่ืองทาความสะอาดหัวฉีด โดยผู้เช่ียวชาญจานวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลนาเสนอเป็นตารางได้ ดังน้ี ตาราง 4.1 ตารางแสดงผลการทดสอบปริมานการฉีดนา้ มันของเครอ่ื งทาความสะอาดหวั ฉดี ของ รถจกั รยานยนต์ ฮอนด้า รุ่น เวฟ110i ลำดบั กำรทดลอง แรงดนั นำมนั เชอื เพลงิ เวลำทใ่ี ชใ้ นกำร ปรมิ ำณกำรฉีด ที่ใช้ในกำรทดลอง ทดลอง นำมนั หัวฉีดกอ่ นล้าง(หัวฉีดถอดจาก 30 วินาที 7 cc 1 รถจักรยานยนต์ที่เร่งไม่ข้นึ สตารท์ ตดิ 25 ปอนด์/ตารางนว้ิ ยาก) 2 หัวฉดี หลงั จากการล้างครง้ั ท่ี1 25 ปอนด/์ ตารางนว้ิ 30 วนิ าที 10 cc 3 หัวฉดี หลังจากการลา้ งครั้งท่ี2 25 ปอนด/์ ตารางนิ้ว 30 วินาที 12 cc 4 หวั ฉดี หลังจากการลา้ งคร้งั ที่3 25 ปอนด์/ตารางน้ิว 30 วนิ าที 12 cc 5 หวั ฉดี หลังจากการล้างครั้งที่4 25 ปอนด์/ตารางนิ้ว 30 วนิ าที 12 cc ตาราง 4.2 ตารางแสดงผลการทดสอบปริมานการฉดี น้ามันของเคร่อื งทาความสะอาดหัวฉีดของ รถจักรยานยนต์ ฮอนดา้ รุน่ เวฟ125i

ลำดับ กำรทดลอง แรงดนั นำมันเชือเพลงิ ทใี่ ช้ เวลำที่ใช้ในกำรทดลอง ปริมำณกำรฉดี ในกำรทดลอง นำมนั หวั ฉดี กอ่ นลา้ ง(หัวฉดี ถอดจาก 25 ปอนด/์ ตารางนิว้ 30 วนิ าที 8 cc 1 รถจักรยานยนต์ท่เี ร่งไม่ขน้ึ สตารท์ ตดิ ยาก) 2 หวั ฉดี หลังจากการลา้ งครัง้ ที่1 25 ปอนด์/ตารางนิ้ว 30 วนิ าที 10 cc 3 หัวฉดี หลงั จากการล้างครัง้ ท่ี2 25 ปอนด/์ ตารางนว้ิ 30 วินาที 12 cc 4 หวั ฉดี หลงั จากการลา้ งครั้งท่ี3 25 ปอนด์/ตารางนว้ิ 30 วนิ าที 13 cc 5 หัวฉดี หลังจากการล้างคร้งั ที่4 25 ปอนด์/ตารางน้วิ 30 วินาที 13 cc ตาราง 4.3 ตารางแสดงผลการทดสอบปรมิ าณการฉดี น้ามันของเคร่ืองทาความสะอาดหัวฉีดของ รถจักรยานยนต์ ฮอนด้า รุน่ MSX125 ลำดบั กำรทดลอง แรงดันนำมนั เชือเพลงิ เวลำท่ใี ช้ในกำรทดลอง ปริมำณกำรฉดี ที่ใช้ในกำรทดลอง นำมนั

หัวฉีดก่อนล้าง(หวั ฉดี ถอด 30 วนิ าที 8 cc 1 จากรถจกั รยานยนต์ท่ีเรง่ 25 ปอนด์/ตารางน้วิ 30 วินาที 11 cc ไมข่ น้ึ สตาร์ทตดิ ยาก) 30 วินาที 13 cc 30 วินาที 13 cc 2 หัวฉีดหลงั จากการลา้ งครั้ง 25 ปอนด์/ตารางนิ้ว 30 วนิ าที 13 cc ท1่ี 3 หวั ฉีดหลังจากการล้างครัง้ 25 ปอนด์/ตารางนิ้ว ท2ี่ 4 หวั ฉดี หลังจากการลา้ งครั้ง 25 ปอนด์/ตารางนวิ้ ท3่ี 5 หัวฉดี หลังจากการล้างครง้ั 25 ปอนด/์ ตารางนิว้ ท4ี่ ตอนท่ี 2 ผลกำรศกึ ษำควำมคดิ เหน็ ของผ้เู ชย่ี วชำญที่มตี อ่ เคร่ืองทำควำมสะอำดหัวฉดี ตำรำง 4.4 ผลกำรวิเครำะห์ขอ้ มูลกำรหำคณุ ภำพของเครอื่ งทำควำมสะอำดหัวฉีด ข้อท่ี รำยกำร X SD แปลควำม 1 ด้านการออกแบบ 1.1 ประณตี สวยงาม 4.40 0.49 ดี 1.2 ขนาดเหมาะสมเคลื่อนย้ายได้สะดวก 4.40 0.49 ดี 1.3 จดั วางตาแหนง่ อปุ กรณ์ไดเ้ หมาะสม 4.20 0.40 ดี

1.4 เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ ได้เหมาะ 4.60 0.49 ดีมาก 1.5 วสั ดุ อุปกรณ์หาได้ง่าย 4.60 0.49 ดมี าก 4.44 0.47 เฉล่ีย ดี 2 ด้ำนสมรรถนะ 4.40 0.49 2.1 มคี วามแข็งแรงทนทาน 4.80 0.40 ดี 2.2 ทาความสะอาดหวั ฉดี ได้ตามที่ออกแบบไว้ 4.80 0.40 ดมี าก 2.3 ทาความสะอาดหวั ฉดี ไดเ้ ร็วรวด 4.80 0.40 ดีมาก 2.4 ทาความสะอาดหวั ฉดี ได้ตามจานวนที่ 4.80 0.40 ดีมาก ต้องการ 4.72 0.41 2.5 เสยี งรบกวนขณะทาความสะอาด ดีมาก 4.60 0.49 ดีมำก เฉลย่ี 4.60 0.49 3 ดำ้ นกำรใช้งำน 4.20 0.75 ดมี าก 3.1 เปิด – ปิดง่ายและสะดวก 4.80 0.40 ดมี าก 3.2 ทาความสะอาดหัวฉดี ไดส้ ะดวก 4.60 0.49 3.3 มคี วามปลอดภยั ในการใช้งาน 4.56 0.52 ดี 3.4 มรี ะบบป้องกนั ความเสยี หายในขณะใช้งาน ดีมาก 3.5 บารงุ รักษาได้ง่าย ดมี าก ดีมำก เฉลีย่ จากตารางท่ี 4.4 พบว่าความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อเคร่ืองทาความสะอาดหัวฉีด ด้านการออกแบบ โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ค่าเฉล่ีย 4.44 ข้อท่ีมีความคิดเห็นอยู่ใน ระดบั ดีมาก คือ เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ ไดเ้ หมาะสมและวัสดุ อุปกรณ์หาได้ง่าย ค่าเฉลี่ย 4.60 ด้าน สมรรถนะ โดยภาพรวมมีความคิดเหน็ อยู่ระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย 4.72 ขอ้ ทม่ี ีความคิดเห็นอยูใ่ นระดบั ดี คือ มีความแข็งแรงทนทาน ค่าเฉล่ีย 4.40 และด้านการใช้งาน โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับดมี าก ค่าเฉลีย่ 4.56 ข้อทม่ี ีความคดิ เหน็ ในระดับดี คือ ปลอดภยั ในการใช้งาน ค่าเฉลย่ี 4.20

บทที่ 5 สรุปและอภิปรำยผล ส่ิงประดิษฐ์ “เคร่ืองทาความสะอาดหัวฉีด” มจี ุดมุ่งหมายในการศกึ ษาดงั นี้ 1. เพอ่ื ออกแบบและสร้างเคร่ืองเครื่องทาความสะอาดหวั ฉดี 2. เพ่ือทดลองประสิทธภิ าพของเคร่อื งทาความสะอาดหัวฉดี 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผเู้ ช่ยี วชาญทีม่ ตี อ่ เครื่องทาความสะอาดหัวฉีด ความสาคัญของการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ครงั้ นี้ คือ เคร่ืองทาความสะอาดหัวฉีด ที่ มีคุณภาพ สามารถนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ผลการทดลองศึกษาค้นคว้า สรุปผลไดด้ งั นี้ จากการทดสอบหัวฉีดก่อนล้าง โดยใช้หัวฉีดถอดจากรถจักรยานยนต์ท่ีเร่งไม่ข้ึนและ สตาร์ทติดยาก ซึ่งมีแรงดันน้ามันเช้ือเพลิงที่ใช้ในการทดสอบ คือ 25 ปอนด์/ตารางนิ้ว และมีเวลาที่ ใช้ในการทดสอบเท่ากับ 30 วินาที พบว่ามีปริมาณการฉีดน้ามนั เท่ากับ 7cc ส่วนการทดสอบหลังจาก ล้างคร้ังที่ 1 ซ่ึงแรงดันน้ามันเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการทดสอบเท่ากับ 25ปอนด์/ตางรางน้ิว และมีเวเวลาท่ี ใช้ในการทดสอบเท่ากับ 30 วินาที พบว่ามีปริมาณการฉีดน้ามันเท่ากับ 10cc สาหรับการทดสอบ หัวฉีดหลังจากการล้างคร้ังท่ี2 คร้ังที่3 และครั้งที่4 โดยมีแรงดันน้ามันเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการทดสอบ เท่ากับ 25ปอนด/์ ตางรางนว้ิ และมีเวเวลาท่ใี ชใ้ นการทดสอบเทา่ กับ 30 วนิ าที พบว่ามีปรมิ าณการฉีด น้ามันเท่ากับ 12cc เท่ากันทั้งการทดสอบหัวฉีดหลังจากล้างครั้งท่ี2 ครั้งที่3 และคร้ังที่4 แสดงว่าเมื่อ ปรมิ าณการฉดี นา้ มันมีคา่ คงท่ี เคร่อื งทาความสะอาดหัวฉีดจะทาความสะอาดได้ทั้งหมด พบว่าความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญท่ีมีต่อเครื่องทาความสะอาดหัวฉีด ด้านการออกแบบ โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ค่าเฉล่ีย 4.44 ข้อท่ีมีความคิดเห็นอยู่ในระดับดีมาก คือ เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ ได้เหมาะสมและวัสดุ อุปกรณ์หาได้ง่าย ค่าเฉล่ีย 4.60 ด้านสมรรถนะ โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ระดับดีมาก ค่าเฉล่ีย 4.72 ข้อท่ีมีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี คือ มี ความแข็งแรงทนทาน ค่าเฉลี่ย 4.40 และด้านการใช้งาน โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี มาก ค่าเฉล่ยี 4.56 ขอ้ ท่ีมคี วามคดิ เห็นในระดบั ดี คือ ปลอดภัยในการใชง้ าน คา่ เฉลยี่ 4.20

บรรณำนกุ รม ประพันธ์ พพิ ฒั นาสุข. ปฏบิ ัติอิเล็กทรอนิกส์ และวงจร1. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ง่ เสริมอาชีวะ, 2553. ไสว ฟักขาว. โครงงำนวทิ ยำศำสตร.์ กรงุ เทพฯ: เอมพนั ธ์, 2540. วิมลศรี สุวรรณรัตนแ์ ละมานะ ทพิ ครี ี. โครงงำนวทิ ยำศำสตรพ์ ัฒนำทักษะวทิ ยำศำสตร์. กรงุ เทพฯ :พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.), 2544. http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/120/index120.htm http://ndc.prd.go.th/pageconfig/viewcontent/viewcontent1.asp?pageid=449&directory =2006&contents=177132

ภำคผนวก

ภำคผนวก ก คูม่ ือประกอบการใชง้ านเครือ่ งทาความสะอาดหวั ฉีด (ภาษาไทย)

ค่มู ือการใช้งาน ผลงานส่งิ ประดิษฐค์ นรุ่นใหม่ เคร่ืองทาความสะอาดหวั ฉีด (Injector Cleaning Device) ข้ันตอนการทางาน เครื่องทาความสะอาดหัวฉีด ขัน้ ตอนที่ 1 ทาความสะอาดหัวฉีดออกจากรถจกั รยานยนต์ทม่ี ีการอุดตัน ขน้ั ตอนที่ 2 นาหวั ฉีดทถ่ี อดออกจากเคร่ืองทาความสะอาดหัวฉีดมาประกอบกบั แทน่ รองหวั ฉีด ขั้นตอนที่ 3 เตมิ น้ายาลา้ งหวั ฉีดลงในถงั บรรจนุ า้ ยาทาความสะอาดหวั ฉดี ข้ันตอนท่ี 4 เปิดสวิตซ์ปั๊มเพ่อื สร้างแรงดนั

ขน้ั ตอนท่ี 5 ทาการตั้งเรกกเู ลเตอร์เพื่อปรับแรงดันในการลา้ งทาความสะอาดหัวฉีด ขั้นตอนที่ 6 เปิดสวติ ซ์หวั ฉดี เพอื่ ทาการล้างหวั ฉีด ข้นั ตอนท่ี 7 นาหวั ฉดี ทีล่ า้ งทาความสะอาดแล้วมาใส่กลบั สภาพเดมิ ของรถจักรยานยนต์ ขัน้ ตอนที่ 8 ทาการสตาร์ทเคร่อื งยนต์ละทดลองขับขร่ี ถจักรยานยนต์

ภำคผนวก ข คมู่ ือประกอบการใช้งานเครื่องทาความสะอาดหวั ฉีด (ภาษาองั กฤษ)

Manual of Nozzle Cleaning Device How to use the nozzle cleaning device Step 1 Clean the injector of a motorcycle with clog Step 2 Remove the nozzle and place in the plate of the device for use Step 3 Add the nozzle cleaner into the tank Step 4 Switch on the pressure pump

Step 5 Set the regulator to adjust the pressure for cleaning the nozzle Step 6 Switch on the nozzle cleaning device Step 7 Replace the nozzle Step 8 Restart the engine and test drive of the motorcycle

ภำคผนวก ค แบบรับรองผลกำรนำสิง่ ประดิษฐข์ องคนรนุ่ ใหมไ่ ปใช้งำนจรงิ



ประวตั ผิ วู้ ิจัย ชอื่ นายประชา นามสกุล นนทสนั ต์ อายุ 18 ปี ระดับ ปวช. 3 สาขาวิชา ช่างยนต์ ท่ีอยแู่ ละรหสั ไปรษณีย์ วทิ ยาลัยเทคนิคสุโขทยั อ.เมือง จ.สโุ ขทัย 64000 หมายเลขโทรศัพท์ 0988158081 อเี มล์: pracha_2543 @hotmail.com ชื่อ นายณัฐวัตร นำมสกลุ โพธ์ิเรอื ง อำยุ 18 ปี ระดับ ปวช. 3 สำขำวิชำ ช่างยนต์ ที่อยูแ่ ละรหสั ไปรษณีย์ วทิ ยาลัยเทคนคิ สโุ ขทัย อ.เมือง จ.สโุ ขทัย 64000 หมำยเลขโทรศัพท์ 0991430160 อีเมล์: [email protected] ช่ือ นายวรนิ ทร นำมสกุล งามขา อำยุ 18 ปี ระดับ ปวช. 3 สำขำวชิ ำ ชา่ งยนต์ ท่อี ยู่และรหสั ไปรษณีย์ วทิ ยาลัยเทคนิคสโุ ขทยั อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000 หมำยเลขโทรศัพท์ 0868712502 อเี มล์: [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook