Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3

บทที่3

Published by confirm2dream, 2020-07-17 06:07:18

Description: บทที่3

Search

Read the Text Version

บทที่ 3 การอานแบบผังโครงสรา ง สาระสาํ คญั ผังโครงสรางเปนแบบกอสรางทก่ี ําหนดลักษณะ ชนิดของโครงสรา ง และวสั ดทุ ใี่ ชท ําโครงสรา งทง้ั หลัง เพอื่ ถายนา้ํ หนกั ลงสดู ิน จากแบบบา นพักอาศัยสองชัน้ ตามตวั อยาง กําหนดใหพน้ื ช้ันลา งเปนพื้น ค.ส.ล. พ้ืนชน้ั บนเปน พน้ื ไม และพืน้ ค.ส.ล. บางสว น หลังคาปน หยาใชโครงหลังคาเปน ไมมงุ ดว ยกระเบอื้ งลอนคู ผงั โครงสรา งเปนแบบทส่ี ัมพันธกับผังพน้ื ผงั หลงั คา และรูปตดั โดยโครงสรางทแ่ี สดงในรปู ตดั ตามแนว ตัดในผงั พ้ืนจะแสดงโครงสรา งของอาคารในแนวด่งิ ต้ังแตหลังคาจนถงึ ฐานราก จงึ จําเปนตอ งศกึ ษาผังโครงสรา ง กอนเขยี นรปู ตดั วัตถปุ ระสงคท่ัวไป 1. เพื่อใหมีความรคู วามเขาใจชื่อยอของโครงสรา งใตดนิ ไดแ ก ตอมอ ฐานราก ท่รี องรบั นาํ้ หนกั อาคาร 2. เพื่อใหม ีความรคู วามเขา ใจผงั โครงสรางพื้นชัน้ ลา งและอักษรยอ ไดแก ตอมอ คาน พืน้ ค.ส.ล. 3. เพื่อใหมคี วามรูค วามเขา ใจผงั โครงสรางพนื้ ชน้ั สองและอกั ษรยอ ไดแ ก เสา คาน ค.ส.ล. พนื้ ค.ส.ล. บางสว น สวน ท่เี ปนพ้ืนไมวางบนตงทมี่ คี าน ค.ส.ล. รองรบั 4. เพือ่ ใหมคี วามรคู วามเขาใจผงั โครงสรา งหลังคา ไดแก เสา ค.ส.ล. บางตนตรงตาํ แหนง รมิ หอ งนาํ้ และบนั ได ที่ เหลือเปน เสาไมร ับโครงหลังคาไมต ามรายละเอยี ดในแบบ จดุ ประสงคเชงิ พฤตกิ รรม หลงั จากไดศกึ ษาในบทน้ีแลว นักศึกษาจะสามารถ 1. อธิบายโครงสรา งอาคารพักอาศัยหลังท่ไี ดฝ กเขยี นในบทที่ 2 ไปแลว 2. สามารถเขยี นเสน แสดงแนวตดั ก-ก และ ข-ข ตรงตําแหนง ทก่ี ําหนดในผังพน้ื ลงในผงั โครงสรา งได 3. สามารถหาขนาดโครงสรา งไดจากผังโครงสรางและตารางรายละเอียดโครงสรา งทผ่ี อู อกแบบกําหนด

บทนํา ผงั โครงสรา งเขยี นขน้ึ จากผงั พ้ืนแตล ะระดบั ตงั้ แตโครงสรา งใตด ินทรี่ องรับโครงสรางอาคารทั้งหลังโครงสราง พ้ืนแตละข้นั จนถงึ โครงสรา งหลังคา ท้งั น้ีผเู รียนควรมคี วามรพู ้นื ฐานเกย่ี วกบั วัสดุที่ใชท ําโครงสราง และความรูเ กยี่ วกับโครงสรา งบานพักอาศัยสอง ข้ันเสยี กอ น เพือ่ ทําความเขาใจกบั ผงั โครงสรา งทก่ี าํ หนดขึ้นจากผงั พืน้ ชน้ั ลา ง ผังพืน้ ชนั้ ท่สี อง และผังหลงั คา 3.1 วสั ดุกอ สรา งที่ใชประกอบโครงสรางอาคารพกั อาศยั วสั ดกุ อสรางหลักท่ีใชเ ปนสวนประกอบของโครงสรา ง ไดแก ไม เหลก็ และคอนกรีตเสริมเหล็ก ซงึ่ สถาปนกิ และวิศวกรจะเลือกใชต ามความเหมาะสมกับลกั ษณะงานและงบประมาณ 3.1.1 โครงสรา งไม นิยมใชก บั อาคารพกั อาศยั ขนาดเลก็ และขนาดกลาง โดยสถาปนกิ มกั เปน ผูกําหนดผังโครงสรา ง รายละเอยี ด ของรอยตอ และการเขา ไมเ อง เนอ่ื งจากไมมีขีดจาํ กดั ทร่ี บั น้าํ หนักไดปานกลาง และความกวา งของชว งเสาไมม ากนกั (ทวั่ ไปใชไ มเ กิน 4000 มลิ ลิเมตร) แตมนี า้ํ หนักเบา ยืดหยุน ไดด ี และกอสรางงา ยกวา วัสดชุ นดิ อ่นื ไมต อ งใชอปุ กรณและ เทคนิคยุง ยาก ชนดิ ของไมท ใ่ี ชท าํ โครงสรางเปนไมเ น้อื แขง็ ไดแก ไมเต็ง รัง ประดู แดง ฯลฯ สวนไมเ น้อื ออ นใชกับสวนของ อาคารทรี่ บั นํ้าหนักไมมากนัก เชน ฝา ฝา เพดาน หรอื ครา วฝาเพดาน เปนตน ไดแ ก ไมย าง ไมจ าํ ปา ไมส ัก ฯลฯ ไมใ หผิวสัมผสั ทีน่ ุม นวลและมนุษยม ีความคุนเคยมากกวา วสั ดุชนดิ อน่ื จึงนิยมใชแมว า จะมีคณุ สมบตั ไิ มทนไฟ และยังตอ งปอ งกนั แมลงจําพวกปลวก อีกท้งั ไมทนตอ สภาพดนิ ฟา อากาศท่รี นุ แรง เน่อื งจากปจ จุบนั ไมม รี าคาแพงและ หายากข้นึ บานจัดสรรตา ง ๆ จงึ นยิ มใชโครงสรางคอนกรีตเสรมิ เหลก็ และโครงสรางหลังคาเปน เหล็กแทนมากขนึ้ จะใช ไมเพ่อื การตกแตง ภายในและสวนที่ตอ งการทาํ งานงา ย เชน พน้ื ไม บนั ได วงกบประตูหนาตาง เทานนั้

3.1.2 โครงสรางเหล็กและคอนกรตี เสรมิ เหลก็ นิยมใชก ับอาคารพาณิชยและอาคารใหญ ๆ รวมทง้ั อาคารบานพักอาศยั วิศวกรจะเปน ผผู ูค าํ นวณโครงสรางและ กําหนดรายละเอยี ดตาง ๆ ประกอบแบบโครงสราง คุณสมบตั ิของเหลก็ มคี วามแขง็ แรงและรบั แรงดงึ ไดส งู มีความยดื หยนุ ดี ทํางานงาย แตม ีราคาแพง คณุ สมบัติของคอนกรตี เสริมเหลก็ (ค.ส.ล.) รบั นา้ํ หนกั ไดม าก เนอ่ื งจากรวมคณุ สมบัตทิ ่แี ตกตา งกนั ของคอนกรีด ซ่ึงรับแรงอดั ไดดี มารวมกับคณุ สมบตั ขิ องเหล็กในขอทร่ี ับแรงดึงไดดี มคี วามยดื หยุนดี ทาํ ใหไ ดโ ครงสรา งทีร่ บั แรงไดม าก หลอ เปน รูปรางไดตามตอ งการ ทนไฟและการสกึ กรอนไดด ี แตม ขี อเสียทน่ี ํ้าหนักมาก ทําใหเ พ่มิ นาํ้ หนกั แกตัวอาคารและ ตอ งทําแบบหลอ ทาํ ใหส ้ินเปลืองและตองใชเ ทคโนโลยีในการผลติ คอนกรตี ใหไ ดคุณสมบตั ทิ ่ดี ี ปจ จุบนั นิยมนาํ คอนกรตี สาํ เรจ็ รูปบางสวน เชน พ้นื สาํ เรจ็ รปู มาใชป ระกอบโครงสรา ง ทาํ ใหลดคาใชจ ายใน การทําแบบหลอ และประหยดั เวลาในการกอ สรา ง 3.2 โครงสรา งอาคารพักอาศัยตามลกั ษณะของแบบและการกอสราง ผูออกแบบจะออกแบบโครงสรางของอาคารเพอ่ื ใหรบั น้ําหนักตวั อาคารเองและรับน้ําหนักบรรทกุ อน่ื ๆ เชน คน ส่ิงของ แรงลม ฯลฯ ไดอ ยา งมนั่ คงแขง็ แรง โดยใหโครงสรา งทุกสว นของอาคารยดึ โยงกัน และถา ยเทนา้ํ หนกั จาก สานบนสดุ ตงั้ แตห ลังคาลงไปตามลําดับใหกับเสา และเสาถา ยเทน้ําหนกั ทั้งหมดของอาคารลงสพู ืน้ ดนิ โครงสรางของอาคารทว่ั ไปจงึ แบงออกไดเปนสองสวนใหญ ๆ คอื สว นโครงสรางที่อยเู หนอื ดนิ ไดแก โครงสราง ของอาคารท้ังหลงั และสวนโครงสรางใตด ิน ซงึ่ ทาํ หนาทรี่ บั น้ําหนักบรรทุกและน้าํ หนักจรของอาคารทั้งหลังจากโครงสราง สวนเหนอื ดินถายเทลงสดู นิ ดังรูปท่ี 3.1 รูปที่ 3.1 แสดงสว นโครงสรางเหนอื ดินและสว นโครงสรา งใตดนิ ของตัวอาคาร

3.3 สวนประกอบของโครงสรา งใตดิน โครงสรา งอาคารสว นทอ่ี ยูใตด นิ ประกอบดวย 3.3.1 ตอมอ ตอมอ คอื เสาทีต่ อ จากพนื้ ขน้ั ลา งลงไปในดนิ สูฐานราก ทาํ หนา ทรี่ ับนํา้ หนกั จากเสาบา นถา ยลงสูฐานราก 3.3.2 ฐานราก เปนโครงสรางของอาคารสวนทท่ี าํ หนาทถี่ า ยนํ้าหนักบรรทุกจากตอมอ หรือกาํ แพงลงสูท ่รี องรบั ซึ่งอาจเปน ดิน โดยตรงในกรณีทด่ี นิ แขง็ สามารถรบั แรงกดไดด ี หรืออาจตองใชเสาเขม็ ชวยในกรณีท่ีดินออนรับแรงกดไดนอย ขึ้นอยกู บั สภาพของดนิ ซงึ่ ขอ กาํ หนดของเทศบาลนครกรุงเทพฯ ไดก ําหนดไวด ังตารางที่ 3.1 ดงั น้ี ตารางที่ 3.1 แสดงการรับนาํ้ หนักของดนิ ชนดิ ตาง ๆ ลักษณะของดินหรอื พน้ื ท่ี ความตา นทานปลอดภยั (ตนั /ตารางเมตร) ดนิ ออ นหรือดนิ ทถี่ มไว 2 ดินปานกลาง หรือทรายรว น 10 20 ดนิ แนนหรือทรายหยาบ 40 กรวดหรือดนิ ดาน 80 หินปนู หรือหนิ ทราย ฐานรากอาจแบง กวา ง ๆ ตามลกั ษณะของท่รี องรบั ไดสองประเภทใหญ ๆ คือ 1. ฐานแผซ ึ่งไมม ีเสาเข็มรองรบั เปน การวางฐานรากบนดนิ แขง็ ซงึ่ เหมาะสําหรับบรเิ วณท่ีมขี ้ันดินแขง็ ตัง้ แตข างบนลงไป เชน บางจงั หวดั ในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ซง่ึ เปนพืน้ ทใ่ี กลภูเขาหรอื เปน ดินลกู รัง หรือทรายแนน ดงั รปู ท่ี 3.2 2. ฐานรากชนิดมีเสาเข็มเปน ทีร่ องรับ ใชใ นกรณีที่ดินออน เชน บรเิ วณใจกลางกรุงเทพมหานคร มชี นั้ ดิน ออ นหนาประมาณ 14000 มิลลเิ มตร แลวจงึ คอย ๆ เรม่ิ แข็งจนถงึ ระดับประมาณ 23000 มลิ ลิเมตร จงึ จะแข็งมาก (อรณุ ชัยเสรี.2525.50) ควรใชเ สาเข็มเปนตวั ชวยดินรับน้าํ หนกั จากฐานราก โดยเลือกใชต ามลักษณะของการรบั นํ้าหนกั และสภาพดิน ดงั นี้

รปู ที่ 3.2 แสดงฐานรากแผซึ่งไมมีเสาเขม็ รองรับ 1) เสาเข็มสน้ั ใชเ มื่อนํา้ หนกั ของตัวอาคารไมมากนกั เชน บา นพกั อาศยั โดยท่ัวไป โดยการตอกเสาเขม็ เปทั้งไมและคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ) ลงไปในดินใตฐ านรากเพ่อื เพิม่ ความสามารถในการรบั น้าํ หนักใหกบั ดินไดม ากข้นึ เนือ่ งจากจะเกดิ ความฝด ระหวา งพืน้ ผิวรอบเสาเข็มกบั ดิน ทําใหด ินบรเิ วณรอบ ๆ เกดิ การอัดตวั แนนรบั น้าํ หนักได มากขน้ึ ดงั รปู ที่ 3.3 จากรูปที่ 3.3 จะเห็นไดว า ระดับนาํ้ ใตดนิ ช้นั ดนิ ออ นจะอยลู ึกลงไปจากผิวดินประมาณ 1000-1500 มิลลเิ มตร จึงกําหนดใหฐ านรากอยลู ึกจากผิวดินลงไปประมาณ 1500 มลิ ลเิ มตร เพ่อื ใหเสาเขม็ (ทีเ่ ปนไม) อยตู ํ่ากวาระดบั นาํ้ ใตดนิ จะไดไ มผ แุ ละปอ งกันปลวกไมใ หท ําลายเสาเขม็ อกี ดว ย 2) เสาเขม็ ยาว ใชใ นกรณีทอ่ี าคารมีขนาดใหญรับนาํ้ หนักบรรทุกมากและลักษณะชั้นดินออน ดังรูปท่ี 3.3 เสาเขม็ ชนิดนี้จะชว ยรับนา้ํ หนกั ไดมาก เพราะนอกจากจะถายนาํ้ หนกั จากฐานรากลงไปยงั ข้นั ดนิ แขง็ ประมาณ 80% แลว ยงั ทาํ ใหดินโดยรอบบรเิ วณมีความสามารถในการรบั น้ําหนักสวนท่ีเหลอื อกี 20% ได เน่อื งจากการอดั ตวั ของ ดนิ รอบ ๆ เสาเข็ม วสั ดทุ ใ่ี ชเปน เสาเขม็ ยาวจะเปนเสาคอนกรตี อดั แรง มีราคาคอนขา งแพงทงั้ กรรมวธิ กี ารตอกและ ราคาเสาเขม็ เอง (สมสุข บญุ ญะบญั ชาและคณะ, ม.ป.ป.6) จากสวนของโครงสรางใตด นิ น้ี นํามาเขียนเปน แบบโครงสรางไดใ นลกั ษณะของผงั ฐานรากโดยเขยี นจาก ผังพนื้ ดังรปู ที่ 3.4

รปู ท่ี 3.3 แสดงฐานรากชนิดมเี สาเข็มเปนทร่ี องรบั รปู ท่ี 3.4 แสดงผังพื้นและผงั ฐานราก 3.4 สวนประกอบของโครงสรางอาคารสว นทอ่ี ยเู หนอื ดิน ถา ศึกษาโครงสรางตง้ั แตฐ านรากจนถงึ หลงั คาตามลาํ ดับ จะมีลักษณะการถา ยน้ําหนกั ตามประโยชนใชส อย ดงั น้ี 3.4.1 เสา วัสดทุ ่ใี ชทําเสาของอาคารพักอาศยั นิยมใชท ้งั เสาไมและเสาคอนกรตี เสริมเหลก็

รปู ที่ 3.5 แสดงเสาไมแ ละเสาคอนกรตี เสริมเหล็ก เสาทาํ หนาทีเ่ ปนแกนรับน้าํ หนกั ในแนวด่งิ จากโครงสรา งสวนอืน่ ๆ แลว ถา ยน้ําหนกั ของอาคารทง้ั หมดลงสูฐานราก เนือ่ งจากเสาเปนแกนรบั นํา้ หนกั ทส่ี ําคญั ดังน้ัน การพิจารณาวางตาํ แหนง เสาจึงตอ งคาํ นงึ ถึงประโยชนใชส อย (เชน ขนาดหอง) รว มกับความสามารถรับนาํ้ หนกั ของวสั ดุทใ่ี ขทาํ เสาดวย โครงสรางรบั นํา้ หนกั สวนอ่ืน ๆ ท่ถี ายน้าํ หนกั ลงสเู สาโดยตรง เชน คาน ตง อเส อกไก จันทัน ฯลฯ จะมขี นาด หนา ตัดใหญห รือเลก็ ข้นึ อยูกับความถ่ีหรอื หา งของชว งเสา กลาวคอื ถา วางตําแหนง เสา (ชวงเสา) ถ่มี ากก็จะทาํ ใหขนาด หนา ตัดของโครงสรา งที่รับพื้นและหลงั คาเลก็ ลงได แตจ ะมผี ลใหเ ปลอื งฐานรากและเสาเพม่ิ ขึ้น เมื่อตองการจัดหอง กวา ง ๆ ก็จะมีเสาเกะกะ แตถ ากําหนดใหชว งเสาหางกนั มาก กจ็ ะเกดิ ปญหาในทางกลบั กัน กลา วคือ ประหยดั จํานวน เสาและฐานราก แตข นาดของโครงสรา งตอ งใหญข้นึ ทั้งหมด บา นไมโ ดยทว่ั ไปใชช ว งเสาอยรู ะหวา ง 2000-4 000 มลิ ลเิ มตร ซ่ึงเปน ชว งเสาทส่ี ามารถจะใชไม โครงสรา งขนาดตาง ๆ ทมี่ ีขายอยทู ั่วไป ทงั้ นข้ี นาดหนา ตัดของเสาไมท ขี่ ายตามทองตลาดมขี นาด 4\" x 4\" 5\" x 5\"และ 6\" x 6\" สําหรับบา นทโี่ ครงสรางสว นใหญเ ปนคอนกรตี เสริมเหลก็ จะมคี วามสามารถรบั น้ําหนักไดมากกวา เสาไม มกั ใช ชวงเสาไมเ กิน 6000 มลิ ลเิ มตร เพราะเปน ชว งเสาทส่ี รา งไดโดยประหยดั และไมต องใชเ ทคนคิ พเิ ศษ

3.4.2 พน้ื เปนสวนของโครงสรางท่ีทําหนาทรี่ บั น้ําหนักเนอ่ื งจากการอยอู าศยั ไดแ ก น้ําหนกั ตัวของผูอยูอาศัยเอง เครอ่ื ง เรือน อุปกรณ สมั ภาระ ฯลฯ แลวถายนํ้าหนักทงั้ หมดลงไปใหเสา พืน้ เปนโครงสรา งสว นทีน่ าํ มาชีบ้ อกลักษณะของอาคาร เชน อาคารบา นพักอาศยั สองช้นั กห็ มายถึง บานมีพืน้ 2 ชน้ั เปน ตน โครงสรา งของพื้นท่ีใชกบั บานพักอาศัยโดยทั่ววไป แบงตามประเภทของวัสดไุ ด 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแ กโ ครงสราง พน้ื ไมและโครงสรา งพืน้ คอนกรตี เสรมิ เหล็ก ซ่ึงจะกลาวโดยละเอยี ดในขอ 3.5 และ 3.6 3.4.3 หลงั คา เปน สวนทอี่ ยูบนสดุ ของอาคาร ทาํ หนาที่กนั แดด ลม ฝนใหกบั ตัวอาคาร โครงสรางหลังคาทําหนา ทรี่ ับนาํ้ หนกั ของวัสดุมุง ไดแก กระเบ้อื งชนดิ ตา ง ๆ และแรงลม ฝน และ นํ้าหนกั จรจากตวั ผขู ึน้ ไปกอสราง รวมทง้ั นํา้ หนกั ฝาเพดาน ในประเทศไทยมีภมู อิ ากาศรอนชนื้ มฝี นตกชุก ลักษณะของหลังคาสวนใหญทใ่ี ชจึงมคี วามลาดเอยี ง ซ่งึ จะลาดเอยี งมากหรอื นอ ยข้นึ อยกู ับขนาดและน้ําหนกั ของวสั ดมุ งุ แบบของหลังคาทน่ี ิยมใชในประเทศไทย แยกไดเปนประเภทใหญ ๆ ตามลกั ษณะ รปู รา ง และการใชง าน ดังน้ี 1. หลงั คาทรงจวั่ (Gable Roof) หลงั คาแบบนีเ้ ปน ทีน่ ิยมท้ังในประเทศรอนและหนาว ในประเทศรอ นก็กัน ฝนและสะทอนแสงแดดออกไปไดด ี ในประเทศหนาวถา มหี ิมะตกกส็ ามารถไหลลงไปไดด ี ไมส ะสมเพ่ิมน้ําหนักอยูบน หลงั คาอีกเชน กัน ปกติแลว อาคารสว นใหญใ นประเทศไทยจะใชหลังคาทรงจั่วนมี้ าก เพราะประหยดั สรางงาย และ กันแดด ฝนไดด ีถายน่ื ชายคาออกมามาก ๆ ความลาดชั้นของหลงั คาขนึ้ อยกู บั ความสวยงาม ชนิดของวัสดมุ งุ และ ประโยชนใชส อย

รปู ที่ 3.6 แสดงรูปรางลกั ษณะของหลังคาจัว่ และผังหลังคา 2. หลงั คาเพงิ แหงน (Lean-To Roof) เดมิ ในประเทศไทยใชมุงกบั อาคารเลก็ ๆ เชน เพิงตามทงุ นา และ อาคารชวั่ คราว เชน เพิงขายของ เปนตน เพราะโครงสรา งงา ย รือ้ แลว นาํ ไปใชประโยชนไ ดอกี ปจ จบุ นั สถาปนกิ นําโครงสรางหลงั คาแบบนมี้ าดดั แปลงใหม ีความลาดชนั มากขน้ึ โดยแบงซอยเพงิ ไมใ หก วา ง เกนิ ไป เพอ่ื ใหไ ดรูปแบบแปลกตาขนึ้ โดยหาวิธปี องกันไมใหน า้ํ ฝนรวั่ ตรงจุดเพงิ แหงน ตามตัวอยางในรปู ท่ี 3.7 หลังคาเพง่ิ แหงนธรรมดา นาํ มาประกอบกันเขาตามลักษณะการออกแบบ เลนระดับภายใน นาํ หลังคาเพงิ มาประกอบกันเปน ลกั ษณะปก ผเี สอื้ มขี อ เสยี ตรงทม่ี ีรางนํา้ อยกู ลาง มโี อกาสรว่ั ไดง าย รปู ที่ 3.7 แสดงหลงั คาเพิงแหงนและลกั ษณะการนาํ มาใชป ระกอบกัน

3. หลังคาแบน (Flat Roof) มลี ักษณะแบนราบเหมาะสาํ หรบั อาคารสูงหลาย ๆ ชัน้ ซ่งึ เทศบญั ญตั ิ กรุงเทพมหานคร เร่ือง ควบคมุ การกอสรางอาคาร พ.ศ.2522 กาํ หนดใหอาคารสงู ต้ังแต 7 ช้ันข้ึนไป ตอ งมลี านสําหรบั จอดเฮลคิ อปเตอร เพือ่ ประโยชนในดา นการปองกันอัคคีภัย หรอื อาคารทต่ี องการใชประโยชนจ ากชนั้ ดาดฟา เชน ทําเปน สวนจอดรถขนของสําหรบั ศูนยก ารคา หรือทําเปน รา นอาหารเปดใหช มววิ รมิ นํา้ หรือชายทะเล โดยชัน้ ลา งของอาคารใช ประโยชนไ ดด ว ย เปน ตน โครงสรา งของหลงั คาชนิดน้ีเปนคอนกรตี เสริมเหล็ก โดยมีวสั ดกุ ันซมึ ซงึ่ เปน ผลิตภณั ฑข องตางประเทศ ปูทับดา นบนอกี 2-3 ช้นั เพอ่ื แกปญหาเร่ืองการซึม รัว่ และลดความรอนไปไดบาง โดยตอ งทาํ ใหห ลังคามคี วามลาดเอียง อยา งนอย 1:200 โดยใหล าดเทเปน รูปหลังเตา เพ่ือไมใ หน ้าํ ขงั บนหลงั คาเมอื่ ฝนตก นอกจากน้ี สว นของอาคารขนาดเลก็ บางแหง เชน โรงจอดรถ อาจใชก ระเบือ้ งรางวางใหม คี วามลาด 1:100 ก็ทําใหด ูลกั ษณะเปนหลังคาแบนไดเ ชน กัน รูปท่ี 3.8 แสดงลกั ษณะการใชห ลงั คาแบนประกอบกบั อาคารบา นพกั อาศัย 4. หลงั คาทรงปนหยา (Hip Roof) มลี กั ษณะลาดลงท้งั 4 ดานของอาคาร ทําใหก ันแดดและฝน โดยรอบ โดยแตล ะระนาบของหลงั คาจะตดั เปนมุม 45 องศา เมือ่ มองในผัง ถาผังเปน รูปสี่เหลย่ี มจตั รุ สั กจ็ ะมี ลกั ษณะเดยี วกบั รูปพีระมิด

โครงสรางหลงั คายุงยากและสิน้ เปลืองกวาแบบอื่น ๆ และเปลืองกระเบอ้ื งมากกวาหลงั คาชนดิ อ่นื ๆ ดว ย รายละเอยี ดของแบบจะไดศ กึ ษาอยางละเอยี ดในหวั ขอ ท่ี 3.7.4 ผงั หลังคาของอาคารรปู สี่เหลยี่ มผนื ผา ผงั หลงั คาของอาคารรูปสี่เหล่ียมจตั รุ สั รูปท่ี 3.9 แสดงลักษณะของหลงั คาทรงปน หยารูปรางตาง ๆ ผงั หลงั คาทรงปนหยาของอาคารรูปตวั L รปู ท่ี 3.9 (ตอ )

นอกจากนี้ ยงั มีหลังคาทน่ี ําเอารูปทรงของหลงั คา 2 - 3 แบบมาผสมรวมกันอกี เชน หลงั คาทรงไทย ท่ีมีพาไลรอบ ตามรปู ท่ี 3.10 เปนตน รูปที่ 3.10 แสดงหลังคาทรงไทย โครงสรา งของหลงั คาทกุ แบบกเ็ ชน เดียวกับโครงสรา งพื้นคือ จะถายนํ้าหนกั ใหกับเสา ซง่ึ จะกลา วโดยละเอยี ด ในหวั ขอที่ 3.7 3.5 โครงสรางพน้ื ไม โครงสรางพ้นื ไมจ ะมนี ้าํ หนักเบา นยิ มใชทําพื้นช้ันที่สองของตวั บา น แตถ า เปนพืน้ ช้นั ลางก็ควรยกสูงจากระดบั ดนิ ประมาณ 900 มิลลเิ มตรขึ้นไป และถา กอผนงั อิฐลอ มรอบตอ งเวน ชอ งไวใหระบายอากาศใตพ นื้ ได เพอ่ื ปอ งกนั ความ อบั ช้นื จากพ้นื ดนิ และควรทานา้ํ มนั ปองกนั ปลวก ราทําลายเนื้อไม หรอื ใชไมอัดน้าํ ยา ไมท ใี่ ชท ําโครงสรางใชไมเ นอ้ื แข็งไดแก ไมเต็ง ไมร ัง เนือ่ งจากรบั นา้ํ หนกั ไดดี สวนประกอบของโครงสราง พน้ื ไมไดแ ก

3.5.1 พน้ื ไม นยิ มใชไ มมะคา ไมแ ดง เนื่องจากมีสีและลายสวยงาม แตมรี าคาแพงกวา ไมเ ตง็ และไมรงั ลกั ษณะเปนแผนแบน มคี วามหนา 1\" กวา ง 4\" และ 6\" ปขู วางไปบนตงไม ทําหนา ทร่ี ับน้ําหนักแผก ระจายและถายนา้ํ หนักใหตงชวยรับไปอีก ขั้นหน่ึง ท้งั นไ้ี มโ ครงสรา งทีใ่ ชต องผานการอบแหง (มีความช้ืนอยปู ระมาณ 12-15%) เพอื่ ปองกันการหดและบดิ ตวั ภายหลงั รอยตอ ของพื้นไมในอาคาร มักใชว ิธีเขารางลน้ิ ในตัว เพ่อื ใหร อยตออดั เขา ดวยกันแนนสนทิ ไมม ีรอ งทีฝ่ นุ จะ เกาะคางอยูวิธเี ขา รางลิน้ คอื การเซาะรอ งตามความหนาของพื้นดา นยาวตลอดเปนรางรอ งดานหนงึ่ และเปน ลน้ิ (เดือย) ดา นหน่งึ โดยเขา รางลิน้ มาจากโรงคา ไม (ดงั รูปที่ 3.11) ถาเปนการใชไมพื้นส้นั คือ มคี วามยาวประมาณแผน ละ 500 มลิ ลเิ มตร หรอื 1 000 เมตร กจ็ ะเขา รางล้นิ รอบตวั คอื เขา รางล้ินทั้งดานกวางและดา นยาวทัง้ 4 ดา นของแผนพ้ืน ทกุ แผน สลบั กนั ดังรูปที่ 3.12 รปู ที่ 3.11 แสดงแผนพนื้ เขา ลิ้นเซาะรองบนตง รปู ที่ 3.12 แสดงไมพ้ืนชนิดรางล้ินรอบตวั

การปพู ื้นจะใหหวั ไมพ ืน้ อยเู สมอแนวเสาดานนอกอาคาร โดยปเู รยี งจากดานใดดา นหนึง่ และอดั รอ งรางลน้ิ ให เขา กนั สนิทดว ยแมแรงอดั ไม แลวตอกตะปซู อ นไวกบั หลังล้นิ โดยตอกเอยี งยดึ ตดิ กับหลงั ตงกอ นปพู ืน้ แผน ตอ ไป จะทาํ ให ไมเห็นหัวตะปู ยกเวนแผนแรกและแผนสดุ ทา ยทต่ี อ งการความแข็งแรงใหตอกบนหลงั พื้น เทคนคิ การอดั ไมตองใชค วาม ชํานาญของชา งไมพ ิจารณาวา ถาเปน ไมอบแหง ใหอัดพอชน มฉิ ะนน้ั เม่อื ไมถูกความชื้นจะขยายตัวดนั โกงข้นึ มาตามรอย ชนของไม และในทางกลับกันถาอดั ไมส นทิ เมอื่ ถึงฤดแู ลง จะทําใหพน้ื ไมหดตวั เกิดรอ งที่รอยตอ ของพ้ืนไมขึน้ อีก การตอ ไมพ้ืนตามความยาว ถาซอ้ื ไมพื้นไดย าวตลอดหองไดกจ็ ะสวยงามดี แตไมจ ากโรงคา ไมม ักจะมคี วามสนั้ ยาวไมพ อดกี บั ความยาวของหอ ง ท่วั ไปไมพนื้ มกั ยาวต้งั แต 1 500 มิลลเิ มตร ถึง 3 000 มลิ ลเิ มตร จงึ ควรตอไมพ น้ื ส้ันและ ยาวสลับกนั ไมใ หรอยตอ ของหวั ไมพ้นื อยูใ นแนวเดยี วกนั จะทําใหล ดความแข็งแรงและมองดไู มสวยงาม สวนไมพ ้ืนส้ันชนดิ รางลิน้ รอบตัวนยิ มใชปูทบั บนพนื้ คอนกรีตเสริมเหล็ก เปนสว นตกแตง ผวิ พืน้ แตถา นาํ มาใช ปบู นโครงสรา งไมต อ งระมดั ระวังใหร อยตอของไมต ามความยาวอยูบนหลังตง เพ่อื ความแขง็ แรงของพื้น ถา เปนรอยตอของพ้ืนไมท่ปี ูนอกอาคาร เชน ระเบียง ซงึ่ ตอ งถูกแดดฝน พนื้ ไมทป่ี ูใชแผนพ้นื เรียบ โดยอาจปู ชนธรรมดาหรอื ปูเวนรองประมาณ 5 - 10 มิลลิเมตร เพื่อกนั การผกุ รอนเนอื่ งจากนาํ้ ฝน 3.5.2 ตง นิยมใชไมเต็ง ไมร งั เนื่องจากมีความแขง็ แรงและราคาไมส ูงนกั เม่ือเทยี บกบั ไมมะคา ไมแ ดง ลักษณะหนาตดั เปนสีเ่ หลย่ี มผนื ผา ขนาดท่ีใชข นึ้ อยูก ับความกวางของชว งคานและนา้ํ หนักท่ีรับ จากพื้น หนาตดั ตงทใี่ ชท่ัวไปมขี นาด 1/,\" x 6\" และ 2\" x 6\" เมือ่ ขนาดชว งยาว 2500 - 3000 มลิ ลิเมตร และขนาด 11/2\" x 8\" เม่อื ใชพาดชวงยาว 3000 - 4.000 มิลลิเมตร วางใหห นา ตดั ดานแคบตงั้ พาดบนหลงั คานเพือ่ ให แข็งแรงและรับนา้ํ หนักจากพนื้ ไดด ี โดยมรี ะยะหางกนั ประมาณ 400 - 500 มลิ ลเิ มตร ถา วางถิ่มากกวา น้จี ะทําให พ้ืนแนนและมคี วามแข็งแรงมากขนึ้ แตจะสิ้นเปลอื งเกนิ ความจําเปน ถา วางตงหางกวาน้ีจะทาํ ใหพ ้ืนไมแข็งแรงพอ โดยตงทาํ หนาท่ชี ว ยรบั นาํ้ หนักจากพ้ืนแลวแผกระจายลงไปใหกบั คาน ตงตวั ทอ่ี ยูริมเสาจะวางแนบเสา จากนั้นจึงแบงระยะหา งของตงในชวงเสาใหห างเทา ๆ กัน ดังรูปที่ 3.13 หวั ตงจะวางเสมอริมเสาดา นนอก โดยทาํ การตัดหัวตงที่ย่นื ออกนอกแนวริมเสาภายหลงั การวาง และมไี มป ดหวั ตงขนาด หนาตดั เทา กบั ตงหรือหนานอยกวา หนาตัดตง 1/,\" เพื่อยดึ หวั ตงใหอยใู นแนวเดยี วกัน เพื่อกันไมใ หห ัวตงกระเดิดและกัน หนา ตดั ตงผกุ รอ นจากฝนอกี ดว ย และมไี มปด ขางตงเพอื่ รับหวั พ้ืนและความสวยงาม

การออกแบบอาคารที่ดตี อ งศึกษาพิจารณาถงึ ขนาดหนา ตดั และความยาวของไมทมี่ ีจาํ หนา ยท่ัวไป เพอ่ื นาํ มา ใชอยางประหยัด ปกติความยาวของไมแปรรูปทมี่ ีจําหนายจะมขี นาดความยาวจาํ กดั เชน 2.50 เมตร 3.00 เมตร 3.50 เมตร ความยาวจะเพมิ่ ทลี ะ 0.50 เมตร จนถงึ 6.00 เมตร ถา ยาวเกนิ 6.00 เมตรไป ราคาตอ ลูกบาศกฟตุ จะแพง ข้นึ และถาสน้ั กวา 2.50 เมตรลงไป ราคาตอ ลกู บาศกฟุตจะถูกลง รูปที่ 3.13 แสดงการวางตงบนคานไม การจดั ระยะหา งของตง จากรปู ที่ 3.13 ชว งเสายาว 3300 มลิ ลเิ มตร (ระยะจากก่ึงกลางถึงกง่ึ กลางเสา) ถา ขนาดเสาเปน 6\" x 6\" (150 x 150 มิลลิเมตร) ความยาวของตงท่ีใชกต็ องใชเปน 3 450 มิลลเิ มตร นน่ั คือ ซอ้ื ตงไมขนาด 2\" x 6\" ยาว 3.50 เมตร นน่ั เอง แตต งชวงท่พี าดเลยคานออกมารบั พื้นย่นื นนั้ ระบุไววายาวชว งเดียวตลอดเพ่อื ความแข็งแรง จงึ ตอ ง ใชต งยาว 4 450 มิลลิเมตร คอื ตอ งซือ้ ตงขนาด 2\" x 6\" ยาว 4.50 เมตร และในรูปยงั ระบุวา ตงมรี ะยะหา ง 456 มลิ ลิเมตร กโ็ ดยพิจารณาจากชวงเสา 3 800 มลิ ลเิ มตร ถาคดิ คราว ๆ วาจะใชต งหาง 500 มลิ ลิเมตร ก็เอา 500 หาร 3 800 จะได ประมาณ 8 ชวง แตเน่อื งจากการวางตงตวั แรกและตวั สดุ ทายอยูชดิ รมิ ในของเสา ดงั น้นั ระยะหา งระหวางรมิ ดานใน ของเสาจงึ เปน 3 650 (เอาหนา ตดั ของเสา 150 ลบออกจาก 3 800 มิลลเิ มตร) แลว จงึ เอา 8 มาหาร 3 650 กจ็ ะได ระยะหา งของตงเปน 456 มลิ ลิเมตร นอกจากนี้ ในอาคารท่ัว ๆ ไปจะมหี ลายชว งเสา ดังน้นั จึงตอ งตอตง ซงึ่ ตองตอบนหลงั คาน โดยมวี ิธตี อดงั น้ี 1. ตอทาบ การตอตงวิธีนี้นิยมใชกนั มาก ถาไมต อ งการโชวแ นวตง เนื่องจากไมต อ งตัดปลายไมทง้ิ และม่นั คง แข็งแรงดี โดยตอ ตงใหท าบกัน มรี ะยะทาบไมตํ่ากวา 2 เทาของความลึกตง เชน กรณที ี่หนาตัดตงเปน 2\" x 6\" ระยะ ทาบตองไมนอ ยกวา 300 มลิ ลเิ มตร เปนตน ดงั รปู ท่ี 3.14

2. การตอ ชนมีไมป ระกบั 2 ขา ง ใชไมประกับ 2 ดา นของรอยตอชน ขนาดความหนาเทา หรอื นอยกวา ตง 1/2\" ยาวไมตา่ํ กวา 2 เทา ของความลกึ ตง ยึดแนนดว ยสลกั เกลียวขนาดเสน ผา นศูนยกลาง 1/2\" ยาว 5 1/2 \" (ถา ความ หนาของไมป ระกับเปน 11/2\") 3. การตอชนมีเหล็กประกบั 2 ขา ง ถา ไมต องการใหร อยตอ มีความหนาเทอะทะก็อาจใชแ ผน เหลก็ ประกบั หนา 5 มลิ ลเิ มตร ขนาดความกวา งและความยาวเทา ไมป ระกับในขอ 2. แทนก็ได ขนาดความยาว ของสลกั เกลยี วก็ลดลงเปน 3\" (ถา ความหนาของตงเปน 2\") ความแขง็ แรงมากกวาแบบในขอ 2. การตอ ทาบ การตอ ชนมีไมป ระกับ 2 ขาง การตอชนมีเหลก็ ประกบั 2 ขา ง การตอ แบบมขี อเกยี่ วในตวั รูปที่ 3.14 แสดงการตอตงบนหลังคานแบบตาง ๆ

4. การตอแบบมีขอเกี่ยวในตัว โดยการตดั ไมส ว นท่จี ะตอกนั เปน มมุ เฉยี งเอียงรับกัน มขี อเกย่ี วซงึ่ กนั และกันมใิ หเ ลอ่ื นหลดุ ไดงา ย ขนาดของขอเกี่ยวควรฝง ลงในเนอ้ื ไมอกี ทอน ประมาณ 2/3 ของความกวา งไม ความยาว ของรอยบากไมนอ ยกวา 2 เทาของความลกึ การตอ วิธีนี้ใหความแขง็ แรงไมเ ทา 3 แบบขางตน นอกจากนี้ ควรตอในชว งระหวางคคู าน เพอื่ ประหยดั และแข็งแรง โดยตัง้ สนั ตงใหต้งั ไดฉาก แลวใชตะปตู อก ยึดเฉยี งสว นทองตงใหต ดิ กบั คาน หรือจะทาํ พกุ ไมส ามเหลย่ี มตง้ั ฉาก ใหต อกตะปสู วนฐานกวางของพกุ เพ่ือยึดคาน แลว ยึดตงติดกบั พกุ การตอตงบนชวงระหวางคคู าน การยึดตงดว ยพกุ ไม รูปที่ 3.15 แสดงการยดึ ตงดวยพุกไมแ ละการตอตงในชวงระหวางคคู าน 3.5.3 คานไม นยิ มใชไ มเต็ง ไมรังเชน เดยี วกับตง ทาํ หนา ท่รี ับน้ําหนักจากตงถายลงใหเสา คาน เปน โครงสรางแกนสําคญั รอง จากเสา โดยยดึ ติดกบั เสา ขนาดหนา ตดั ของคานมคี วามสมั พนั ธโดยตรงกบั ชว งเสา ถา ชวงเสาหา งมาก คานตองมี ขนาดใหญขนึ้ เพ่ือรบั นํา้ หนกั ใหไ ดม ากขน้ึ กาํ ลังของคานขึน้ อยกู บั ความลกึ ของคาน ในกรณที ต่ี องการใหห อ งขยายกวา งข้ึน โดยมชี ว งเสาแคบ อาจทําไดโดยใชค านย่นื เลยออกไปจากเสา ขนาดของคานไมท วั่ ไปสําหรับชวงเสา 4 000 มลิ ลิเมตร จะเปน 2\" x 8\" และขนาด 2\" x 10\" สําหรบั ชว งเสา 4 500 มลิ ลเิ มตร และคานยน่ื มักย่นื ไมเกนิ 1 500 มิลลเิ มตร คานตวั ริมของอาคาร นยิ มใชคานตวั เดียว เรียกวา คานเดี่ยว คานตวั กลางหรือคานดา นในตัวอน่ื ๆ จะตอ งรับ นา้ํ หนกั เพ่มิ ขนึ้ เปน 2 เทา ของคานตัวรมิ เนื่องจากตองรับนา้ํ หนกั จากตงและพื้นบนหลังคานทัง้ ดานซา ยและดานขวา ดังรูปท่ี 3.16

จากรูปท่ี 3. 13 และรปู ที่ 3.16 แสดงการวางคานชวงยาว (3 800 มลิ ลเิ มตร) เม่ือเปรยี บเทยี บกับชว งตง (3 300 มลิ ลเิ มตร) ขนาดหนา ตัดของคานจะใหญกวา ตง เนอ่ื งจากรับนา้ํ หนกั จากตง และในรปู ดังกลาวใชขนาดหนา ตดั ตง 2\" x 6\" ขนาดหนาตัดคานเปน 2\" x 8\" คานคกู ลางใชค ูขนาด 2-11/2\" x 8\" รูปที่ 3.16 แสดงพ้นื ทก่ี ารรับนํ้าหนักของคานเดยี่ วและคานคู ในทางกลบั กัน ถา เราวางคานในชวงสัน้ (3 300 มลิ ลิเมตร) และวางตงในชวงยาวแทน ก็ควรใชค วามลึกของ ตงเพม่ิ ข้ึนเพอ่ื ใหร บั น้าํ หนกั ไดม ากขึน้ ทงั้ นี้ปริมาตรไมคงที่เชน ขนาดหนา ตัด 2\" x 6\" ยาว 1 000 มลิ ลิเมตร จะมีปรมิ าตร เทากับไม 1 /,\" x 8\" ยาว 1 000 มลิ ลเิ มตร แตคณุ สมบตั ใิ นการรับนาํ้ หนักของไมห นา ตดั ขนาด 11/2\" x 8\" จะดีกวา 2\" x 6\" โดยเราอาจแสดงไดด ังรูปท่ี 3.17 รปู ท่ี 3.17 แสดงการวางตงชว งยาวและพ้นื ที่รับนาํ้ หนกั ของคาน

พื้นท่ีทร่ี บั น้ําหนักของคานก็ยงั เทากบั คานชว งยาว แตค วามยาวของคานสนั ลง และนา้ํ หนักทก่ี ดลงท่ปี ลายขง แตล ะจดุ ก็เพิม่ มากขนึ้ ความสามารถในการรับน้าํ หนักของคานชวงสน้ั จะดีกวาคานชว งยาว ดงั น้ัน ยงั คงใชหนา ตัดของ คานเทาเดมิ สวนตงชวงจะยาวกวา เดิม คือ จาก 3 300 มลิ ลิเมตร มาเปน 3 800 มิลลเิ มตร ถา ใชต ง 2\" x 6\" โอกาสท่ี ตงจะแอนกลางมมี าก จงึ ควรเปลยี่ นมาใชห นา ตัด 11/2\" x 8\" ซงึ่ ใชปริมาตรไมเทากัน แตมคี วามแขง็ แรงมากกวา 1. การตดิ ตง้ั คานไมก ับเสาไม การติดตัง้ คานไมกับเสาไม ตดิ ตั้งไดต ามลกั ษณะการถา ยนา้ํ หนกั ดงั น้ี 1) บากหนา เสาลึกเทา กบั ครึ่งหนงึ่ ของความหนาคาน กวา งเทา ความลกึ ของคาน โดยใหร อยบากไดฉ ากและ ประณตี เพื่อจะไดย ดึ กับคานไดแ นบสนทิ วิธีน้ีเหมาะสมตอการถา ยนา้ํ หนกั จากคานไปสเู สาได โดยเสาทีบ่ ากจะเปน บา รับคาน ทําใหคานไมพลกิ ตวั ออกจากเสางาย แตถาบากเสาลึกมากจะทําใหเสาไมแข็งแรงพอ โดยเฉพาะเมอ่ื ตดิ ตงั้ คาคู ยึดคานกับเสาดว ยสลักเกลยี วทมี่ คี วามยาวมากกวา ความกวา งของคานและเสาทบี่ ากเขาดวยกนั รวมแลว 1/2\" หรือ 1\" โดยใหม ีแหวนรองหัวสลักเกลยี วดว ย ในกรณีทเ่ี สาไมต อกับเสาคอนกรตี เสรมิ เหล็ก มักนยิ มใหเ สาคอนกรีตเสรมิ เหล็กมีขนาดหนา ตดั ใหญก วา เสาไม เพอื่ เสาไมจะถายนาํ้ หนกั ลงสเู สาคอนกรีตเสริมเหลก็ ไดเตม็ หนา ตดั และรับนาํ้ หนักจากคานไดด ี ดังรูปท่ี 3.18 แบบ 1 รปู ท่ี 3.18 แสดงการติดต้ังคานไมโดยบากหนา เสาลึกคร่งึ หน่งึ ของความหนาคาน

2) ยึดคานเขากับเสาไมด ว ยสลกั เกลียวโดยไมต อ งบากเสา ในกรณที ข่ี นาดเสาคอนกรีตเสรมิ เหล็กท่ีรองรับ เสาไมใ หญพ อ หรือถาเปน เสาไมย าวตลอด ใชเม่ือเปน อาคารชว่ั คราวและอาคารขนาดเล็กทร่ี ับนา้ํ หนกั นอย แบบ 2 แบบ 3 รปู ท่ี 3.19 แสดงการติดตงั้ คานไมก บั เสาไมโ ดยไมบ ากเสา 3) ใชพุกรองรับคาน โดยบากพกุ ไมอมความลึกของคาน ยดื พุกไมเ ขา กบั หนาเสา วางคานบนพกุ น้ีเพื่อใหพ กุ ถายนํา้ หนกั จากคานไปที่เสาอกี ทอดหนง่ึ คานจะหยดุ ทเี่ สาเปน ชวง ๆ การตดิ ต้ังลักษณะนใี้ ชใ นกรณที ่ี - ไมสามารถจะบากเสาไดอกี - คานตวั ทล่ี ดระดบั จะซอนกบั คานตัวแรก (เม่ือระดบั พ้นื หองไมเ ทา กนั ) - ไมสามารถเปลย่ี นทศิ ทางของคานไปอีกแนวหนงึ่ ได เชน ชว งเสาที่เหลือหางมาก - พบในเรือนไทยโบราณมาก โดยใชตะปจู นี ยดึ พุกไมเ ขากับเสา สาํ หรบั การตอ คานใชหลักเกณฑเดยี วกบั การตอตง คือตอท่จี ดุ รองรบั สําหรับคานตอที่เสา โดยการตอ ชน แลวใชเหลก็ ประกับ และการตอ แบบมขี อเก่ียวในตวั

3.5.4 การติดตงั้ ตงไมก ับคานคอนกรีตเสริมเหล็ก อาคารพักอาศัยสองข้นั ที่มโี ครงสรา งเปนคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ผนังกอ อฐิ โดยท่วั ไปจะมีคานคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ทําหนา ท่รี ับน้าํ หนกั ผนงั กออิฐและพนื้ หรือในกรณที ่เี ปน ผนงั ไมแตมหี องนา้ํ อยชู นั้ ทสี่ อง กน็ ยิ มใชคาน คอนกรตี เสรมิ เหล็กเพื่อรบั พื้นไมขน้ั ทีส่ อง และพน้ื หองนาํ้ คอนกรีตเสรมิ เหล็ก ดังแสดงในรปู ที่ 3.20 ซึ่งสะดวกกวา การ ตดิ ตง้ั คานไมและใหความมัน่ คงแข็งแรงดกี วา คานไม รูปที่ 3.20 การวางตงไมบนคานคอนกรีตเสริมเหล็กแสดงดวยผังโครงสราง

การตดิ ตงั้ ตงไมกับคานคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ทําไดหลายลักษณะ ดังนี้ 1. วางตงพาดไปบนคานคอนกรตี เสริมเหลก็ ในกรณที ่ีไมจ ํากดั ความสูงของพ้นื หอง โดยมพี กุ ยดึ ระหวา งตง ดว ยพุกไม หรือกอ อิฐแลว แตค วามประสงคข องผูอ อกแบบ 2. การวางตงไมบนคานหชู า ง การติดตง้ั วิธนี ้ตี องเตรยี มหลอ คานคอนกรตี เสริมเหล็กไวใ นลกั ษณะยน่ื เพ่ือรับ ทอ งตง เรยี กวา คานหูชาง ใชใ นกรณที ี่ตอ งการไมใ หร ะดบั อยสู ูงกวาระดับหลงั คานคอนกรตี เสรมิ เหล็ก รปู ที่ 3.21 แสดงการใชพ ุกไมแ ละการกอ อิฐยึดระหวางตง รปู ท่ี 3.22 แสดงการวางตงเสมอระดับหลังคานคอนกรีตเสรมิ เหลก็ 3. การวางตงบนพกุ ไมทยี่ ึดติดกับคาน เพอ่ื ใหท องตงนง่ั บนพกุ ไม ซงึ่ ทาํ หนา ท่ีถายน้าํ หนกั ตงลงบนคาน คอนกรตี เสริมเหลก็ อกี ทีหนึ่ง ดังรปู ท่ี 3.22 4. ในกรณีทีต่ องการลดระดบั พ้ืน อาจบากหัวตงใหอ มหลังคานหรอื พกุ กไ็ ด แตก ารบากตงจะทําใหต งลด ความแข็งแรงลง (ดูรปู ท่ี 3.23) โครงสรางคาน ตง พนื้ ไม นาํ มาเขยี นเปนแบบโครงสรา งไดใ นลักษณะของผังคาน ตง พ้นื โดยเขียนจากผงั พ้นื ชั้นทสี่ อง ดงั รปู ที่ 3.20

รูปท่ี 3.23 แสดงการลดระดบั ตงดว ยการบากหัวตง 3.6 โครงสรา งพืน้ คอนกรตี เสริมเหล็ก พ้นื คอนกรตี เสรมิ เหลก็ ทใ่ี ชกบั อาคารพักอาศยั ปจ จบุ ันแยกไดเ ปน พ้ืนคอนกรตี สําเร็จรูปและพ้นื คอนกรีต ชนิดหลอกับท่ี ซง่ึ แยกตามลกั ษณะโครงสรา งไดด ังนี้ 3.6.1 แผน พนื้ วางบนดิน (Slab on Ground) พ้นื ประเภทนมี้ ักใชกบั พ้นื อาคารชัน้ ลา ง ถนนภายใน หรอื ทางเทา โดยใหแ ผนพื้นคอนกรตี เสรมิ เหล็กน้ถี า ย น้ําหนกั โดยตรงไปทด่ี ินอดั แนนใตพ ืน้ ขอดีของแผนพื้นประเภทนี้คือ ชวยลดขนาดของคาน ไมใหต อ งรบั นํ้าหนักจากพนื้ แตถา บดอดั พื้นดินที่จะรองรับพื้นคอนกรตี เสรมิ เหล็กไมแนน พอ พนื้ ชนิดนจ้ี ะทรุดตัวตามลงไปดว ย จงึ ตอ งมคี านคอดนิ (Ground Beam) อยูล อมรอบพ้นื ที่ เพื่อทาํ หนา ทช่ี ว ยกันดนิ ทรายใตพ้นื ไมใ หไ หลออกดานนอก อันจะเปนสาเหตุให เกิดชองวา งใตพ ้ืน และพืน้ ขาดสว นท่จี ะรบั นาํ้ หนักทาํ ใหเกดิ แตกรา วได ทัง้ น้โี ดยหลอคานคอดินเสียกอ นทาํ การบดอดั ดินภายในใหแ นน แลว ถมทรายอดั แนน ข้นึ มาจนถึงระดบั ตา่ํ กวา คานคอดิน 100 มิลลเิ มตร (เทา ความหนาของพ้ืนทีจ่ ะเท) จากนน้ั จงึ วางเหล็กตะแกรงใหอยกู รอบในของคานคอดิน แลว จึงเทพ้ืนใหห นาเสมอระดบั หลังคาน (ดรู ูปท่ี 3.24) รูปท่ี 3.24 แสดงแผนพน้ื วางบนดนิ และคานคอดินโดยรอบ

ลักษณะการถายนํา้ หนกั ของแผน พ้นื ขนิดน้ี เปน การถา ยนาํ้ หนกั ไปยงั ดนิ โดยตรง จึงไมควรเทพ้นื ทบั ไปบนหลัง คาน เนอ่ื งจากถา พนื้ ทรดุ ตัวเน่ืองจากบดอดั ดนิ ไมแ นน พอจะทาํ ใหเ กิดการแตกราว ดงั รปู ที่ 3.25 รปู ที่ 3.25 แสดงการตัดขาดระหวางพ้ืนกับคานคอดนิ 3.6.2 แผน พ้ืนวางบนคาน (Slab on Beam) เปน พื้นคอนกรตี เสรมิ เหล็กทอ่ี ยูส งู จากระดบั พื้นดิน จึงตองใหแผน พื้นถายนาํ้ หนักลงใหค านคอนกรตี เสรมิ เหล็ก โดยหลอ พน้ื ตดิ เปน เน้อื เดียวกับคาน ซงึ่ จะทําใหต องเพม่ิ เหลก็ ทง้ั ในพ้นื และคาน เนอ่ื งจากพน้ื ตองรับนํ้าหนกั ตวั ของมันเอง นํา้ หนักจร แลวจงึ ถายนํ้าหนักใหค าน คานกต็ อ งรบั น้ําหนักตวั เอง นา้ํ หนกั ผนัง และนํ้าหนกั ท้ังหมดจากพ้ืน แลวจงึ ถายน้าํ หนักลงเสาตามลําดบั รปู ที่ 3.26 แสดงผังโครงสรางและรปู ตัดของแผน พื้นวางบนคาน 3.6.3 แผนพนื้ คอนกรตี สําเร็จรปู แผน พ้ืนคอนกรตี สาํ เรจ็ รปู เปน แผน คอนกรตี อดั แรงหลอสาํ เร็จมาจากโรงงานทําใหป ระหยดั เวลาและแบบหลอ ปจจุบันจึงนยิ มกันมากขึ้น และมผี ลิตออกมาจําหนา ยหลายรปู แบบ สาํ หรบั อาคารที่มีชว งพาดยาวสูงสดุ ถงึ 4.00 เมตร นิยมใชแ ผนพน้ื คอนกรตี อัดแรงแผน ตนั แบบทองเรยี บ (Plank) แบบลอนเหลยี่ ม แบบพ้ืนกลวง (Hollow Core) ดังรูปที่ 3.27 โดยบริษทั ผูผลติ จะกาํ หนดขนาดหนาตดั จํานวนเหลก็ อัดแรง รวมทงั้ ความยาวแผน พนื้ ตามตารางรับนํา้ หนกั

รปู ท่ี 3.27 แสดงแผนพ้ืนคอนกรีตสําเร็จรูปแบบพน้ื กลวง แผน พน้ื ตน แบบทอ งเรยี บและลอนเหลย่ี ม หลงั จากปแู ผนพนื้ สําเรจ็ รปู ใหเ รียงชดิ ติดกนั แลว จะเทคอนกรตี ทบั หนา (Concrete Topping) หนาประมา 40 - 50 มลิ ลเิ มตร พรอมเหลก็ เสริม 8 6 มิลลิเมตร หรอื เหลก็ ตะแกรง (Wire Mesh) ซ 4 มลิ ลิเมตร ระยะหาง 20 เซนติเมตร 3.7 โครงสรา งหลังคาบา นพักอาศัย หลังคาประกอบดว ยสวนทเี่ ปน วัสดุมุงและโครงสรางซ่งึ ทาํ หนาทีร่ ับนาํ้ หนกั คงท่ี ไดแ ก นาํ้ หนกั ของวัสดุมงตวั โครงสรา งหลังคา ฝา เพดาน และนา้ํ หนักจร ไดแ ก ลม ฝน และน้าํ หนักตัวผขู ึ้นไปประกอบขณะกอ สราง หรือเม่ือมกี าร ซอมแซม รวมท้ังการสน่ั สะเทือนและแรงลมอกี ดว ย 3.7.1 วัสดมุ ุง ทาํ หนา ทีก่ นั ลม แดด ฝน และควรปองกนั ไฟไดดวย มหี ลายชนดิ ซงึ่ มีคณุ สมบตั ิแตกตา งกัน ดังน้ี 1. กระเบ้อื งดินเผามงุ หลงั คา เปนกระเบอ้ื งแผนเล็ก ๆ เชน กระเบอื้ งวาว กระเบ้ืองหางมน กระเบอ้ื งดนิ ขอ รองรบั ดว ยระแนงขนาด 1\" x 1\" วางหางกนั ประมาณ 120 มลิ ลิเมตร เม่อื มงุ แลวซอ นทบั กนั เกือบเปน 2 ชัน้ นาํ้ หนักไม มากนกั ปจ จุบันไมนิยมใชกับบา นพกั อาศยั เนอ่ื งจากตองใหห ลงั คาลาดชนั มาก เปลอื งระแนงท่ีรับกระเบ้อื งและร่วั งาย มกั ใชก บั อาคารเกา ทต่ี อ งการอนรุ กั ษต ามแบบเดิม หรือใชกับอาคารทางศาสนา เชน โบสถ ซ่งึ ตองออกแบบกนั นํา้ ฝนใต หลังคาไวด ว ย ขอ ดีของกระเบอื้ งประเภทนี้คอื สวยงามตามลักษณะของทองถ่ิน 2. วัสดุมงุ ตามธรรมชาติ ไดแก แปน เกลด็ ไมส ัก ซึง่ ใชกับอาคารทางภาคเหนอื ลกั ษณะเปน ไมแ ผน บางขนาด ใกลเคยี งกับกระเบ้อื งดินขอ ใชกับระแนง 1\" x 1\" เชนกัน แตป จจุบันไมม ีการทาํ แลว เนอ่ื งจากมอี ายใุ ชง านจาํ กดั ร่ัวงาย ไมทนไฟ และราคาแพงมาก

นอกจากนี้ยังมวี ัสดทุ ไี่ ดจ ากใบไม คือ จาก ซึง่ นิยมใชก บั อาคารชวั่ คราว เชน หา งนา บา นในชนบทหา งไกล เมือ่ งจากหาไดง าย ราคาถูก นาํ หนักเบา ทําใหไ มเ ปลอื งโครงสรา ง ขาวบานคน เคย มงงา ย ใชก บั โครงสรา งไมไผไดดี แตไ มนยิ มใชในเมืองเน่ืองจากเปนเชอ้ื ไฟไดด ี รั่วงา ย ผเุ รว็ 3. สงั กะสี เปนวสั ดุทีม่ รี าคาถูก นาํ้ หนักเบา ลกั ษณะเปน แผน ใหญ ทําใหป ระหยดั โครงสรางหลงั คา มีขอเสยี ทเี่ ปน ตวั นาํ ความรอนสงู มาก ทาํ ใหกระจายความรอนมาสอู าคารไดดี เปนสนมิ งา ย เปนเหตใุ หเ กดิ รรู วั่ ทาํ ให มอี ายุใชงานจาํ กดั และเนือ่ งจากมนี าํ้ หนักเบามาก ถา ไมมฝี าเพดานจะทําใหเสยี หายไดม าก เมอ่ื เกดิ ลมพายแุ รง ๆ หลังคา จะปลิวไปไดงา ย ปจ จบุ ันกระเบือ้ งทน่ี ิยมใชก บั อาคารพักอาศยั ทว่ั ๆ ไปนน้ั บรษิ ัทผูผลติ หลายบรษิ ทั ไดผ ลติ อุปกรณป ระกอบ การมุงหลงั คา ทาํ ใหทาํ งานไดส ะดวกขึน้ ใชไ ดท้ังกบั โครงสรางไมแ ละเหลก็ พรอ มทั้งเผยแพรคําแนะนาํ การใช ทาํ ใหลด ปญ หาการร่วั ของหลังคาไปไดม าก วสั ดดุ งั กลาวไดแ ก 4. กระเบื้องลอน เปน ท่นี ิยมใชในปจ จุบนั ผลติ จากไฟเบอรซ เี มนต จึงมนี ้ําหนักคอนขางเบา เปน แผน ใหญ ทําใหล ดรอยตอ ของวัสดมุ งุ ลงและไมสิน้ เปลืองโครงสรา ง แบงออกเปนกระเบอื้ งลอนชนิดตาง ๆ เชน กระเบ้อื งลอนคู กระเบอ้ื งสามลอนรนุ พรีมาของตราชา ง สว นกระเบ้อื งไตรลอนตราหา หว ง มีขนาดกวา ง 50 ซม. ยาว 120, 130 และ 150 ชม. และอุปกรณประกอบการมงุ หลังคาของกระเบื้องลอนแตล ะชนดิ ดังรปู ที่ 3.28

กระเบอ้ื งลอนคู ขอ มลู เทคนคิ รายละเอียด ขนาด : กวาง x ยาว (ซม.) 50 x 120 50 x 150 หนา (มม.) 5.5 5.5 นํา้ หนัก (กก./แผน ) 6.7 8.4 จาํ นวนแผน /ตร.ม. 2.2 1.7 ความชนั หลงั คา\" (องศา) 15 - 40 15 - 40 ระยะแป (ซม.) 100 130 มาตรฐานผลติ ภณั ฑอุตสาหกรรม มอก. 1407 - 2540 *หลงั คาทีม่ คี วามชัน 15 องศา ใชไดเฉพาะครอบปรบั มุม และครอบองศาเทา นั้น รูปที่ 3.28 แสดงรายละเอียดของกระเบื้องลอนคแู ละกระเบือ้ งสามลอนรุน พรมี า กระเบื้องสามลอน ขอมลู เทคนคิ ขนาด รายละเอยี ด 55 x 65 กวาง x ยาว (ซม.) หนา (มม.) 5 นาํ้ หนกั (กก./แผน) 3.9 จํานวนแผน /ตร.ม. 3.9 ความชันหลงั คา (องศา) 20 - 45 ระยะแป (ซม.) 50 มาตรฐานผลติ ภณั ฑอุตสาหกรรม มอก. 1407 - 2540 รปู ท่ี 3.28 (ตอ)

ชุดครอบโคง ตราชาง ใชไดกบั ความชนั หลังคา 20 - 40 องศา ครอบสนั โคง ครอบโคง ตะเข ครอบโคงปดปลาย ครอบโคง 3 ทาง ใชป ดหนาจ่วั สําหรบั หลังคา ใชปดตลอดแนวสันตะเข ใชปดตลอดแนวสนั หลงั คา ใชปด บรเิ วณทส่ี นั หลังคา (2.2 แผน /สันหลังคา 1 ม.) (2.5 แผน/สันตะเข 1 ม.) ทรงจ่วั หรือปดที่ชาย บรรจบสนั ตะเขส ําหรับสนั ของสันตะเข หลังคาแบบปน หยา ครอบโคง 4 ทาง ครอบขาง ครอบขา งปดชาย ครอบชนผนงั ใชปด ทับสนั ตะเขท ั้ง 4 ขาง ท่มี าบรรจบกันสําหรบั ใชปดบรเิ วณปน ลมของ ใชต อ จากครอบขา งตวั ใชป ด ที่ปลายกระเบอื้ งสว น หลงั คาแบบปน หยา หลังคาทรงจ่ัว (2 แผน/ สดุ ทา ยบริเวณปน ลมของ ทีม่ าชนกบั ฝาผนัง ปน ลม 1 ม.) หลงั คาทรงจ่ัว (2.2 แผน/ผนงั 1 ม.) รูปที่ 3.29 ชุดครอบโคงและครอบปรับมุมของกระเบอ้ื งลอนคู

ชดุ ครอบมุม ตราชา ง ใชไ ดก บั ความชนั่ หลังคา 15 - 40 องศา ครอบสนั ปรับมุม ครอบปด จ่ัวปรับมมุ ครอบส่นั 15 และ 20 องศา ใชปด ทสี่ นั หลังคา สาํ หรบั หลงั คาที่มี ใชป ด หนา จ่ัว สําหรับหลังคาทรงจวั่ ใชป ด ท่สี ันหลงั คา สาํ หรบั หลังคาที่มี ความชันตัง้ แต 15 - 40 องศา ความชั่น 15 และ 20 องศา (มีเฉพาะสเี ทาซีเมนต) รปู ที่ 3.29 (ตอ) ทีม : คูม ือการติดตง้ั หลงั คาตราชา งรุนลอนคู พมิ พค ร้งั ท่ี 1 : ม.ี ค. 2557 รูปท่ี 3.30 การตดิ ตง้ั หลังคาลอนคดู ว ยแปไม

รูปท่ี 3.30 (ตอ) สาํ หรับการตดิ ต้งั หลงั คาลอนคู และสามลอน บนแปกลั วาไนซ หรือแปเหลก็ สามารถศึกษาเพม่ิ เตมิ ไดจาก คมู ือการตดิ ต้ังหลังคาตราชางรุนลอนคทู ีเ่ ปน ฉบบั ลาสุดไดที่ www.trachang.co.th 5. กระเบอ้ื งราง ทําจากซีเมนตใ ยหนิ (ปจจบุ ันเลิกผลติ ) มรี ปู รา งเปน รองรางลกึ เม่อื มุงแลว จงึ มลี ักษณะคลา ย หลังคาแผน พบั (Folded Plate) กระเบอ้ื งแตล ะแผน มีความหนา 8 มลิ ลเิ มตร กวา ง 980 มลิ ลเิ มตร ยาว 5000 มลิ ลเิ มตร เมอ่ื มุงชอนทบั ดา นขา งแลว จะเหลอื ความกวาง 900 มิลลเิ มตร ตอ 1 แผน กระเบื้องชนิดนม้ี คี วามหนาและ แข็งแรงพอทีจ่ ะวางพาดอยบู นคาน หรอื ส่งิ รองรบั ท่ีปลายทง้ั 2 ขา งได (จะแข็งแรงมากขน้ึ ถาจดุ รองรบั รน จากปลาย กระเบอ้ื งเขา มาดานละ 750 มิลลเิ มตร) โดยไมต อ งชว ยรองรับที่กลางแผน กระเบอื้ งทําใหประหยัดโครงสรางแปและจนั ทัน ไปได และสามารถตดิ ตงั้ ในทที่ ล่ี มแรงไดดี เน่อื งจากมีน้ําหนกั แผนละ 82 กโิ ลกรมั ลักษณะการมุง สามารถวางไดใ นแนวราบโดยมคี วามลาดเอยี งประมาณ 1:100 เพ่อื ใหนาํ้ ฝนไหลลงไดส ะดวก นยิ มใชม งุ หลังคาโรงรถ โดยการกาํ หนดขนาดเสาไมท ใ่ี ชร บั โครงหลงั คาตองไมเลก็ กวา 5\" x 5\" คานตอ งได ระดบั ไมโ กงงอ อปุ กรณย ดึ กระเบอื้ งราง ถาเปน คานไม ควรยึดดวยตะปเู กลียวสาํ หรับมุงกระเบอื้ งโดยยดึ ทลี่ อนกลางของแผน กระเบอื้ ง ถา เปนคานเหล็กควรยดึ ดวยสลกั เกลยี ว โดยเจาะรูกระเบอื้ งรางเพ่อื ใสส ลกั เกลยี วใหม รี ูโตกวา เสน ผา นศนู ยกลาง ของสลักเกลยี ว 1/16\" 6. กระเบอ้ื งคอนกรตี มุงหลงั คา เปนกระเบือ้ งที่ทาํ จากคอนกรตี จงึ มีความหนา ทาํ ใหกันความรอนไดด ี ขนาด ใหญกวากระเบือ้ งดนิ ขอ จัดเปนกระเบ้ืองขนาดกลาง มหี ลายบรษิ ัทผลติ เชน กระเบอื้ ง ว-ี คอน กระเบอ้ื งซแี พคโมเนยี กระเบื้องดอนญานา เปนตน

ปจ จุบนั ไดร บั ความนยิ มใชกบั อาคารพักอาศยั ทที่ รงหลังคาลาดชนั เพอ่ื ตอ งการโชวว สั ดุมงุ หลงั คา มหี ลายสี และกันความรอนไดดี ทั้ง ๆ ทีร่ าคาคอนขางสงู เปลืองโครงสราง ระแนง และโครงสรางหลังคาอ่นื ๆ เนื่องจากตอ งรบั น้ําหนักมาก และหลังคาตอ งลาดไมนอยกวา 17 องศา ตวั กระเบื้องซีแพคโมเนยี มีขนาดกวา ง 330 มิลลเิ มตร ยาว 420 มลิ ลิเมตร ตอนหวั กระเบ้อื งมีที่ยึดเกาะระแนง และเจาะรไู วส าํ หรบั ตอกตะปูยดึ ไมร ะแนง ปลายกระเบื้องทาํ เปน ขอบบัวกันน้ําไหลยอนเขา ดา นขา งมรี างลน้ิ สองแนว ควํ่าดานหนงึ่ หงายดา นหน่งึ เพื่อซอ นกนั ไดแนบสนิท เมอื่ ซอนทับดา นขา งแลว จะเหลือความกวาง 295 มลิ ลเิ มตร ดาน ยาวซอนทบั กันอยา งนอย 75 มิลลเิ มตร โดยบรษิ ัทผผู ลติ ไดผ ลติ กระเบอื้ งครอบมมุ ขนิดตา ง ๆ มีรายละเอียดดงั รูปที่ 3.31 ลกั ษณะกระเบื้อง รูปที่ 3.31 แสดงรายละเอียดของกระเบื้องซแี พคโมเนียและอปุ กรณประกอบการมงุ หลงั คา

ครอบและอปุ กรณป ระกอบ ครอบโคงซีแพคโมเนยี รปู ท่ี 3.31 (ตอ )

7. หลังคาเหลก็ รดี ลอน (Metal sheet) ผลติ จากแผนเหลก็ คุณภาพสูง ทเี่ คลอื บผิวดว ยโลหะผสมสังกะสี และอะลมู เิ นยี ม และเคลอื บอบสพี ิเศษ เพ่อื ใหท นตอสภาวะอากาศ มรี ูปลอนหลายแบบ และไมจํากดั ความยาว ทําใหลด การซอนทับของแผน และมีแบบครอบมาตรฐาน (Flashing Detail) การติดตง้ั ใชอ ุปกรณล อ็ กลอนทจ่ี ุดรองรับ (ตามรูป) และใชสกรเู กลยี วปลอยทมี่ ีแหวนยางยงิ แผน ท้ังนค้ี วรทํา ตามคําแนะนาํ ของบริษัทผูผ ลติ PP SK-RIB 38 Section performance Unit weight kg/m kg/m2 Sheet 3.09 4.22 thickness (mm) 3.87 5.16 0.4 4.58 6.10 0.5 6.02 8.03 0.6 0.8 ท่มี า : www.premier_products.co.th (Rev. 05-2013) รูปที่ 3.32 รายละเอยี ดของหลังคาเหล็กรดี ลอนขังโกแ ละแบบครอบ

PP W-600 PP W-650 BL รปู ท่ี 3.32 (ตอ )

รปู ที่ 3.32 (ตอ ) สวนท่ีเปน โครงสรางหลงั คาสําหรบั บา นพกั อาศยั โดยทวั่ ไปนยิ มใชโครงสรา งไมร ับกระเบอ้ื งแผน ใหญ นํ้าหนัก เบา เชน กระเบอ้ื งลอนชนิดตา ง ๆ สวนโครงสรา งหลังคาท่ีรับกระเบอื้ งขนาดกลางทีม่ นี ํา้ หนกั คอ นขา งมาก เชน กระเบือ้ งซีแพคโมเนีย นยิ มใชท ง้ั โครงสรางไมล วน ไมผ สมคอนกรตี เสรมิ เหล็ก เหล็กผสมคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ทั้งนี้ข้นึ อยูกับองคประกอบหลายอยา งไดแ ก นํา้ หนกั ของวัสดมุ งุ โครงสรางหลกั ของอาคารวาเปน คอนกรตี เสริม เหลก็ หรือไม ความกวา งของชวงเสา และรูปลกั ษณะรวมของอาคารอีกดวย แบงโครงสรางตามชนิดหลงั คา ดงั น้ี 3.7.2 โครงสรางหลังคาเพิงแหงน เปน โครงสรา งท่งี า ยที่สดุ มกั นยิ มใชก ับอาคารสว นทีม่ ีความกวางชวงเสาเดียว เชน สว นทเี่ ปนโรงรถ หรือเรือน ครวั ดงั รูปที่ 3.33

รูปที่ 3.33 แสดงโครงสรางหลงั คาเพิงแหงน จากรปู ท่ี 3.33 เปนโครงสรางหลังคาไม ถาพจิ ารณาจากรูปตดั ตามขวาง ก-ก จะเห็นตัวไมบนสุดซ่งึ เรียกวา แป ทาํ หนา ทร่ี บั นํา้ หนักกระเบอ้ื งและถา ยนาํ้ หนักใหกบั โครงสรา งทรี่ องรับแปอยู คือ จันทนั ซง่ึ วางพาดอยบู นตัวไมท ยี่ ึด ตดิ กบั เสาท่เี รยี กวา อเส อกี ทหี นึ่ง ท้ังนีก้ ารถา ยนํา้ หนักของโครงสรา งหลังคากจ็ ะเปนไปตามลําดบั ตัง้ แต แปถา ยนํา้ หนกั ไปยงั จันทัน จนั ทนั ถา ยเทไปสอู เส และอเสถายนํา้ หนกั ใหก ับเสาในท่สี ุด (ดูจากพน้ื ทีข่ องหลังคาที่จนั ทนั แตล ะตัวรบั ประกอบกบั พ้ืนที่ของหลงั คาที่อเสแตละตัวรบั ) 1. แป (Perlin) นิยมใชแปขนาดหนาตดั 2\" x 3\" สําหรับรับกระเบ้อื งลอน เชน กระเบือ้ งลอนคู การวางแปตองวางใหหนาตัดของแปตัง้ ฉากกบั จันทนั ดังรูปท่ี 3.34 โดยใหหนาตดั ของแปดา นความลกึ 3\" วางตั้งเพอื่ ชว ยใหรับนํา้ หนกั ไดด ี ทาํ ใหจ ัดระยะหางจนั ทันไดกวา งขึ้น เชน ในรปู ระยะหางของจันทนั เปน 1 600 มลิ ลเิ มตร ใขพกุ ไมช วยในการยดึ แปตดิ กบั จนั ทนั ใหม ่นั คงข้ึน มิฉะน้ัน แปอาจพลกิ ไดงา ย เนอ่ื งจากหลังคาลาดเอยี ง (ในรูปท่ี 3.33 หลงั คา มีความเอียงลาด 15 องศา) ขนาดความยาวของแปพิจารณาจากความยาวของไมแ ปรรูปที่ขายตามทอ งตลาดและรอยตอของแปถาดูจาก รปู ที่ 3.33 ควรตอ แปบนหลงั จนั ทนั ตรงตําแหนงจนั ทนั ท่ีวางพาดเหนือเสาแถวที่ 2 ความยาวของแปคดิ ตามระยะยนื 600 มิลลเิ มตร + ชว งเสาแถว 1-2 อกี 3 200 มลิ ลเิ มตร เปนความยาวรวม 3 800 มิลลิเบตร ดังนน้ั จงึ ตอ งสง่ั ซือ้ แป ขนาดหนา ตัด 2\" x 3\" ยาว 4 000 มลิ ลเิ มตร เปน ตน

รูปที่ 3.34 แสดงลกั ษณะการยึดแปกับจนั ทนั การวางแปนอกจากตอ งใหตง้ั ไดฉากกบั หลังจนั ทันในแนวต้งั แลว ยังสามารถวางแปยดึ ตดิ กับจันทนั โดยวางใน แนวนอน ดงั รปู ที่ 3.34 ไดโดยไมต อ งใชพ กุ ยึด เน่ืองจากตัวแปเองสามารถยดึ ตดิ กับจันทันไดม ั่นคงแขง็ แรงดอี ยแู ลว ซง่ึ การวางแปลกั ษณะน้ที ําเม่อื ระยะหา งของจนั ทันไมเ กิน 1000 มลิ ลิเมตร ดังนั้น ขนาดหนาตดั ของแปลกั ษณะการวางแปและระยะหา งของจนั ทัน จึงตอ งนาํ มาพจิ ารณารวมกนั ไมเปน ขอ กําหนดตายตัว ระยะหา งของแปขน้ึ อยกู บั ขนาดความยาวของกระเบอื้ งและระยะซอ นทบั กันของกระเบ้ือง ดังรูปที่ 3.38 เปนกระเบ้อื งลอนคู ความยาว 1 200 มิลลเิ มตร มงุ ซอนทบั กนั 200 มิลลเิ มตร เพ่ือกันรั่ว ดังน้ัน ระยะหางของแปจึงเปน 1 000 มลิ ลิเมตร 2. จนั ทนั (Rafter) เปน สวนโครงสรางท่รี ับนา้ํ หนกั หลังคาจากแปมพี ืน้ ที่รับหลังคา ดงั รปู ที่ 3.33 ซึง่ ผอู อกแบบ จะพิจารณาขนาดหนา ตดั ของจนั ทนั จากพื้นที่รบั หลังคา และนาํ้ หนักของกระเบื้องแตล ะชนดิ ท่ีใช จันทนั จะวางพาด ระหวางอเสเพ่อื ถายนาํ้ หนักท่ีจนั ทนั รับใหอเส โดยท่ัวไปขนาดหนาตดั ที่ใชไดแก 11/2\" x 6\", 2\" x 6\", 11/2\" x 8\", 2\" x 8\" เปน ตน โดยยดึ กบั อเสดว ยตะปูตอกเฉียงหรอื เหลก็ ฉาก ความยาวของจันทนั ตอ งวัดตามแนวลาดเอยี งของหลงั คา คือ วัดจากรปู ตัดตามขวาง เน่อื งจากหลงั คายิ่งลาด เอยี งมากเทา ใด ความยาวของจันทันจะเพม่ิ มากข้นึ จากแนวราบเทานนั้ ดงั รูปที่ 3.35 ความยาวของจนั ทนั คอื ดาน AC ของสามเหลย่ี มมมุ ฉาก ABC ยาวเทากับ 5 800 มลิ ลิเมตร เมอื่ ระยะหา งของอเสรวมกับแนวย่ืนทางราบรวมเปน 5 600 มิลลเิ มตร และหลงั คาเอยี งลาด 15 องศา ระยะทางด่งิ สงู 1 500 มิลลิเมตร เมือ่ เขยี นรปู ดวยการเขา Scale และใชฉ าก ปรบั มุมชวยกไ็ มตอ งคํานวณ สามารถวดั ความยาวของจนั ทันจากรูป เพอื่ แบงชวงแปไดเ ลย

รปู ที่ 3.35 แสดงการคํานวณหาความยาวของจันทันจากระยะราบและดิ่ง นอกจากจันทนั จะรบั กระเบอ้ื งจากแปแลว ยงั รับนาํ้ หนักฝาเพดานรว มกับอเส หรอื ขื่อ (ถา ม)ี อีกดวย โดยจะ ยดึ โครงครา วฝา กบั จนั ทัน เพอื่ ปองกนั ฝา เพดานตกทองชา ง ดงั รูปที่ 3.36 รปู ที่ 3.36 แสดงการยดึ โครงฝา เพดานกบั จันทนั 3. เชิงชายและปน ลม (Eave) เชิงชายเปนไมส าํ หรับปด ปลายจันทนั ดา นชายคามปี ระโยชนใ นดา นกนั น้าํ ฝน ไมใ หโดนหวั จันทันซง่ึ จะทําใหโครงสรางผงุ าย และแลดสู วยงาม โดยเปนตวั ปรับแนวชายคายึดหัวจันทันใหเปน แนวตรง ท้ังยงั ปดชอ งวางระหวา งจันทันไมใ หน ก หนู แมลงเขา ไปในชอ งระหวางหลังคากับฝาเพดานไดดวย โดยใชไมขนาดความ หนา 1\" ความกวา งตามหนาตดั ของจันทนั รวมกบั ความลกึ ของแป เชน จนั ทันขนาด 2\" x 6\" แปขนาด 2\" x 3\" ก็ใช เชิงชายขนาด 1\" x 8\" โดยใหความลกึ ของเชิงชายเลยจนั ทันลงมา 1\" กันนา้ํ ฝนไหลยอยเชงิ ชายดวย ดงั รปู ที่ 3.37 รูปที่ 3.37 แสดงตาํ แหนง ของเชิงชายและไมป ด ลอนกระเบือ้ ง

เหนือเชิงชายข้นึ ไปใชไมห นา 3/4\" - 1\" เซาะตามรปู ลอนของกระเบอ้ื ง ดงั แสดงในรปู ที่ 3.37 เปนกระเบอ้ื ง ลอนคู มคี วามลกึ ของรอ งลอนเทา กบั 500 มลิ ลิเมตร จงึ ใชไ มขนาด 3/4\" x 4\" เพื่อปดลอนกระเบ้ืองไดส นิทและขอนทับ เชงิ ชายเพื่อยึดใหแ ขง็ แรง เรียกตามลักษณะการใชง านคือ ไมปด ลอนกระเบือ้ ง ไมเ ชิงชายเมอื่ นาํ มาปดทางดานขางของหลงั คาเพิง หรือทางดานหนาจ่วั ของหลงั คาทรงมะนลิ า จะเรียกชื่ออกี อยา งหนึ่งวา ปน ลม ซ่งึ ทําหนาที่ปด หัวแปและดานขางของจนั ทนั และไมป ดลอนกท็ ําหนา ที่ปดดา นขางของกระเบอ้ื ง เชน เดียวกนั ความยาวของไมเ ชงิ ชาย พยายามใชไ มยาวท่สี ดุ เทาทจ่ี ะหาได เน่ืองจากเม่ือมองดา นขางจะสวยงามกวา ไมท ม่ี ี รอยตอมาก ๆ 4. อเส (Beam) ทําหนาทย่ี ึดปลายเสาตอนบน เพื่อใหโครงสรา งแขง็ แรงขึ้นและถา ยนํ้าหนกั ของโครงหลงั คา ลงสูเสา ขนาดหนาตัดของอเสคํานวณตามความยาวของเสาและพืน้ ทหี่ ลังคาทรี่ บั น้าํ หนัก ชว งเสาไมทีใ่ ชโ ดยท่วั ไปไมค วรเกิน 4 000 มิลลิเมตร ดังนัน้ ขนาดหนา ตัดของอเสท่ใี ชก ็คอื 2\" x 8\", 2\" x 6\" เปน ตน การยึดอเสกับเสาไม ยดึ ดว ยสลักเกลียวลกั ษณะเดยี วกับการยดึ คานไมกับเสาไม (ในหวั ขอท่ี 3.5.3 รปู ท่ี 3.18 นนั่ เอง) 3.7.3 โครงสรางหลังคาจ่ัว (หรือเรยี กอกี ชือ่ หนึง่ วา ทรงมะนิลา) เปนลกั ษณะของโครงสรา งท่เี หมอื นเอาโครงหลงั คาเพงิ มาขนกนั โดยสวนท่ชี นกนั สงู ขึน้ เปน สนั หลังคา รูปตดั ขวาง ก-ก รปู ที่ 3.38 แสดงโครงสรางหลงั คาจั่วรับกระเบอ้ื งลอนคู

รปู ที่ 3.38 (ตอ ) จากรปู ที่ 3.38 โครงสรา งหลงั คาจว่ั รบั กระเบอื้ งลอนประกอบดว ย 1. แป ขนาด 2\" x 3\" ระยะหาง 1000 มลิ ลเิ มตร 2. จันทนั เอก (Rafter) ขนาด 2\" x 6\" ตําแหนง ของจนั ทนั เอก คอื จนั ทนั ท่วี างพาดบนอเสท่ีหวั เสา ซง่ึ มีตวั ไม เพมิ่ ขึน้ คอื ชอ่ื ดั้ง อกไก ประกอบกนั เปนโครงรปู สามเหลี่ยมเพื่อใหเ ปน ท่ีตั้งของอกไก (แสดงในรูปตดั ก-ก) 3. จันทนั พราง (Common Rafter) เปน จันทันทวี่ างพาดอยูบนอกไกและอเสในระหวางชว งเสา (ดูผงั โครง หลังคาประกอบ) ขนาด 1/,\" x 6\" ระยะหา ง 1 000 มิลลิเมตร 4. อกไก (Ridge) เปนโครงสรา งทว่ี างในแนวขนานกับอเส เพ่ือทําหนา ทรี่ บั ปลายจันทนั ดา นบนของจว่ั โดยอเสรบั ปลายจันทนั ชว งลา ง จะใชเดี่ยวหรือคขู ้ึนอยูก บั นํา้ หนกั ทีก่ ดลงบนอกไกจะมากหรอื นอ ย ขนาดไมท ใ่ี ช 2\" x6, 11/2\" x 8\", 2\" x 8\" 5. ต้งั (King Post) เปน ตวั โครงสรา งทท่ี าํ หนาท่รี องรบั อกไกในกรณที ีไ่ มมีเสาขนึ้ มาชวงกลางตรงสนั จวั่ ขนาด หนาตัดนิยมใช 2\" x 6\" ถา เปน ด้งั เดย่ี วจะวางอยบู นขื่อ ถาเปน ด้งั คูก จ็ ะประกับสองขางของขื่อ ยึดดว ยสลักเกลยี ว 6. ข่อื (Tie Beam) ทําหนา ที่รับดง้ั ยึดหัวเสาทางดา นจว่ั และถา ยนาํ้ หนักของโครงหลงั คาลงสเู สา เชน เดียว กับอเส ทงั้ น้ขี อื่ อาจจะวางพาดบนอเส หรอื จะอยรู ะดับเดยี วกับอเสกไ็ ด

รูปท่ี 3.39 แสดงโครงหลังคาจัว่ ชว งกวางข้นึ ในกรณที ่คี วามยาวของจันทนั ที่พาดระหวางอกไกแ ละอเสยาวมากขน้ึ เนอ่ื งจากมีชวงเสากวางขึ้นหรอื มหี ลายชว งเสา ดังรูปที่ 3.39 จะมตี ัวโครงสรา งไมเพมิ่ ขึน้ อกี คอื 7. ไมรบั ทอ งจันทัน ขนาดหนา ตดั เทา กบั อเส อาจเปนเดย่ี วหรือคู ขนึ้ อยกู ับพ้ืนทห่ี ลงั คาทร่ี ับนํ้าหนกั 8. ค้ํายนั (Bracing) ทาํ หนาทีช่ วยยดึ ไมร บั ทองจนั ทนั และถายนา้ํ หนกั บางสวนมาที่ขอ่ื 9. ตุกตาหรือดง้ั โท (Queen Post) ทาํ หนา ทเ่ี ปนดงั้ รองรบั ไมรับทอ งจนั ทนั แลวถา ยน้ําหนักมาทีข่ ื่ออีกทหี น่ึง 10. ช่อื คดั ทําหนาที่ชว ยรองรบั ไมร ับทอ งจันทัน โดยยดึ ตดิ กบั คา้ํ ยนั และจนั ทันเอก ขนาดหนาตดั ของคา้ํ ยนั ตกุ ตา และชอ่ื คดั มกั ใชไมข นาดเดียวกันคือ 11/2\" x 6- 2\" x 6\" จากรูปทรงของหลงั คา ดงั รูปที่ 3.33 ถึงรปู ท่ี 3.39 จะเหน็ ไดว า ความเอยี งลาดของหลังคาไมมากนกั เน่อื งจาก เปนกระเบอ้ื งลอนขนาดแผนใหญ มีรอยตอ ระหวา งแผน นอย และระยะหา งของแปเปน 1000 มลิ ลิเมตร ตามความยาว ของกระเบ้อื งที่หกั ระยะซอนทับกระเบอ้ื งออกเปน 200 มิลลเิ มตร ถา โครงหลงั คาชนิดเดียวกนั นเ้ี ปลยี่ นวัสดมุ งุ เปนกระเบอ้ื งซแี พคโมเนยี จะตอ งใชแ ปถี่ขึ้น และขนาดหนา ตัด เล็กลง เนือ่ งจากขนาดของกระเบอื้ งเลก็ ลง เราเรียกแปทร่ี ับกระเบอื้ งที่มีระยะถ่ีนว้ี า ระแนง และองศาความลาดของ หลังคาควรจะมากขน้ึ เนอื่ งจากรอยตอของวสั ดมุ ุงหลังคามีมากขน้ึ นํา้ ฝนจะไดไ หลลงอยางรวดเรว็ ทงั้ นคี้ วามลาดของ หลงั คาทม่ี ุงดว ยกระเบ้อื งซแี พคโมเนียไมค วรนอยกวา 17 องศา ดังรูปท่ี 3.40

รปู ท่ี 3.40 แสดงโครงสรางหลังคาจ่วั ที่ใชก ระเบื้องซแี พคโมเนยี เปน วสั ดมุ งุ

ทง้ั นีก้ ารกําหนดระยะหางของระแนง คิดจากขนาดของกระเบือ้ งซีแพคโมเนยี คือ กวา ง 330 ยาว 420 มิลลิเมตร โดยบรษิ ทั ผผู ลติ กาํ หนดใหมุงซอนทับกนั ดา นยาวไมนอยกวา 75 มิลลิเมตร ดังน้ัน ระยะหา งของระแนงจงึ ไมค วรนอย กวา 420-75 = 345 มลิ ลเิ มตร และบรษิ ทั ผผู ลติ แนะนาํ ใหใชระยะระหวา ง 320-340 มิลลิเมตร เพือ่ กันการรวั และ กระเบื้องดานขางจะมลี ิน้ รางคว่าํ ดานหน่งึ หงายดา นหนงึ่ ทกุ แผน เมอื่ มุงขอ นทบั กนั ดานขา งแลว กระเบื้องจะเหลอื กวาง 295 มลิ ลเิ มตร โดยมลี าํ ดบั ข้นั การแบงชวงระแนง ดงั รปู ท่ี 3.41 รปู ท่ี 3.41 แสดงการกาํ หนดระยะหา งของระแนงตัวบนสดุ เชงิ ชาย และระแนงตัวลางสุด กอ นการหาระยะชว งระแนงเฉลีย่ จากรูปท่ี 3.41 สามารถวัดความยาวของจนั ทนั ทีเ่ หลือเพ่อื หาระยะชว งระแนงเฉลีย่ ไดด ังนี้  วดั ความยาวของจนั ทันท้ังหมดได 3400 มิลลเิ มตร  กาํ หนดระแนงตัวบนสดุ ใหห ัวระแนงท้ัง 2 ขา งหา งกนั ประมาณ 40 มิลลเิ มตร  ระแนงตวั ลางสุดใหว ดั จากปลายนอกของเชงิ ชายถึงหลงั ระแนง ไดเ ทากับ 345 มิลลิเมตร โดยใหหนาตดั ระแนงตัง้ ฉากกบั จันทัน ดังนัน้ จันทนั ชวงทีเ่ หลอื ยาว = 3400-345 = 3055 มลิ ลิเมตร  ระแนงชว งทเ่ี หลอื ใหเฉล่ยี ระยะหา งเทา ๆ กัน โดยหา งกันประมาณ 320-340 มิลลเิ มตร ลองเอา 320 หาร จะได = 3.055 - 320 = 9.5 ชวง ปดเปน 9 ชวง 3055 - 9 = 339 มลิ ลเิ มตร น้ันคอื แบง ชว งจันทันทเี่ หลือยาว 3055 มิลลิเมตร ออกไดเ ปน 9 ชวงระแนง ระยะหางชวงละ 339 มลิ ลเิ มตร (เปน ระยะที่อยูระหวา ง 320-340 มิลลเิ มตร) การตอระแนงใหตอ ที่จดุ กง่ี กลางจนั ทนั หัวระแนงทั้งคตู องอยชู ิดกัน ไมควรใหร อยตอ อยตู รงกนั ทกุ แถว การทป่ี ลายนอกของเชิงชายยกสูงจากระดบั หลังระแนง 1\" เพอ่ื กันชายกระเบ้ืองแถวสุดทา ยกระเดดิ โดยใช เชิงชายทาํ หนาท่เี ปน ระแนงตวั หนง่ึ ดวย ถา พจิ ารณาขอแตกตางของโครงสรา งหลงั คาจว่ั ในรปู ที่ 3.38 และรปู ท่ี 3,40 ซ่ึงมีชวงเสา ดานกวางและดา น ยาวเทากนั แตว ัสดมุ ุงเปน กระเบ้ืองลอนคูซง่ึ มขี นาด 500 x 1 200 มลิ ลเิ มตร น้ําหนัก 6 กโิ ลกรมั ตอ แผน (13.33 กโิ ลกรัม

ตอ 1 ตารางเมตร) กบั วสั ดมุ งุ เปนกระเบือ้ งซแี พคโมเนีย ซึง่ มีขนาด 330 x 420 มิลลเิ มตร นํ้าหนกั แผน ละ 4 .4 กโิ ลกรมั ใน 1 ตารางเมตร จะตอ งใชก ระเบอื้ ง 14 แผน (61.6 กโิ ลกรมั ตอ 1 ตารางเมตร) จะเปรยี บเทยี บไดดงั ตารางท่ี 3.2 ตารางที่ 3.2 แสดงขอแตกตา งของขนาดหนาตดั และลกั ษณะโครงสรา งไม เมอื่ มุงดวยกระเบื้องลอนคูและกระเบ้อื งซีแพค โมเนีย ลําดับ ลกั ษณะโครงสรา ง กระเบอื้ งลอนคู กระเบ้อื งซแี พคโมเนยี 1 ขนาดของแปกับระแนง 11/2\" x 11/2\" 2 ระยะหางของแป (ระแนง) 2\" x 3\" 339 มม. 3 ขนาดของจนั ทันเอก, จนั ทนั พราง 1 000 มม. 2\" x 6\",11/2\" x 6\" 4 ระยะหางของจนั ทัน 2\" x 6\",11/2\" x 6\" 600 มม. 5 จาํ นวนของจันทัน 1 000 มม. 6 ระยะยน่ื ของชายคา 16 ทอน 26 ทอ น 7 ระยะยน่ื หนา จว่ั 1 300 มม. 8 อกไก 1 000 มม. 750 มม. 9 ดั้ง 2\" x 6\" 600 มม. 10 ขื่อ 2\" x 6\" 11 อเส 2\" x 6\" 2-2\" x 8\" 2\" x 6\" 6\" x 6\" 2-2\" x 6\" 2\" x 8\" ทม่ี า : เปรียบเทยี บจากรปู ที่ 3.38 และรปู ที่ 3.40 จากตารางที่ 3.2 พอจะสรปุ ไดวา น้ําหนักและขนาดของวัสดุมุงมผี ลตอ โครงสรา งหลังคาอยา งมาก สาํ หรบั ขนาดของระแนงที่รบั กระเบื้องซีแพคโมเนีย กส็ ามารถใชห นา ตดั ขนาดอ่ืน เชน 11/2\" x 2\" หรอื 11/2\" x 3\" ได โดยการกาํ หนดขนาดหนา ตดั ของระแนงจะสัมพนั ธกบั ระยะหางของจนั ทนั และขนาดหนาตัดของจนั ทนั จะขึ้นอยูกบั ความยาว ความเอียงลาดของหลงั คา และระยะหา งของจนั ทนั ดงั ตารางที่ 3.3 และ 3.4

ตารางท่ี 3.3 ขนาดของจนั ทันและระแนงไมร บั กระเบื้องซแี พคโมเนีย โครงหลังคาไมเ นอื้ แข็ง ขนาดของจนั ทนั ความยาว ระยะหางของจนั ทนั (ซม.) ของจนั ทัน 17\" 60-90 45\" 17\" 90-120 45\" (ม.) 11/2\" x 6\" 11/2\" x 6\" 2\" x 6\" 30\" 3.00 11/2\" x 8\" 30\" 11/2\" x 8\" 11/2\" x 8\" 2\" x 6\" 2\" x 6\" 11/2\" x 6\" 11/2\" x 8\" 3.50 2\" x 6\" 11/2\" x 8\" 2\" x 6\" 2\" x 8\" 11/2\" x 8\" 2\" x 6\" 11/2\" x 8\" 2\" x 6\" 11/2\" x 8\" 2(11/2\" x 8\") 11/2\" x 8\" 4.00 11/2\" x 8\" 11/2\" x 8\" 11/2\" x 8\" 4.50 2\" x 8\" 2(11/2\" x 8\") 2\" x 8\" 2\" x 8\" ตารางท่ี 3.3 (ตอ) ความยาว ระยะหางของจันทนั (ซม.) ของจนั ทนั 17\" 60-90 45\" 17\" 90-120 (ม.) 2(11/2\" x 8\") 2(2\" x 8\") 30\" 45\" 5.00 2(2\" x 8\") 30\" 2\" x 8\" 5.50 2(11/2\" x 8\") 2(11/2\" x 8\") \" 2(2\" x 8\") 2(11/2\" x 8\") 6.00 2(2\" x 8\") 2(11/2\" x 8\") 2(2\" x 8\") \" 2(2\" x 8\") 2(2\" x 8\") 6.50 2(2\" x 8\") \" \" 2(2\" x 8\") \"\" \" \"\" * ควรใชโครงถกั (Truss) ขนาดของระแนง ขนาดของระแนง 60-80 ระยะหางของจนั ทัน (ซม.) 100-120 11/2\" x 11/2\" 80-100 11/2\" x 3\" โครงหลังคาไม ใชไ มร ะแนง 11/2\" x 2\" ทีม่ า : บรษิ ัท ปนู ซิเมนตไ ทย ม.ป.ป.

ตารางที่ 3.4 แสดงขนาดของจันทันและระแนงเหลก็ รับกระเบ้อื งซแี พคโมเนยี โครงหลังคาเหลก็ ขนาดของจันทนั ความยาว ระยะหา งของจันทัน (ซม.) ของจนั ทัน (ม.) 60-90 90-120 3.00 75x75x2.3 5.14 kg/m 100x50x2.3 5.14 kg/m 3.50 75x45x15x2.3 3.25 kg/m 75x45x15x2.3 3.25 kg/m 4.00 100x50x50x2.3 3.47 kg/m 100x50x50x2.3 3.47 kg/m 4.50 100x50x2.3 5.14 kg/m 125x75x2.3 6.95 kg/m 125x50x20x2.3 4.51 kg/m 125x50x20x2.3 4.51 kg/m 150x50x50x2.3 4.38 kg/m 150x50x50x2.3 4.38 kg/m 125x75x2.3 6.95 kg/m 125x75x2.3 6.95 kg/m 125x50x20x2.3 4.51 kg/m 125x50x20x2.3 4.51 kg/m 150x50x50x2.3 4.38 kg/m 150x50x50x2.3 4.38 kg/m 125x75x2.3 6.95 kg/m 125x75x3.2 9.52 kg/m 150x65x20x2.3 4.96 kg/m 150x65x20x2.3 6.50 kg/m 150x50x20x3.2 6.02 kg/m 150x50x20x3.2 6.02 kg/m ตารางท่ี 3.4 (ตอ) ความยาว ระยะหา งของจนั ทนั (ซม.) ของจนั ทนั (ม.) 60-90 90-120 5.00 125x75x2.3 9.52 kg/m 150x75x3.2 10.8 kg/m 5.50 6.00 150x65x20x2.3 6.50 kg/m 125x65x20x3.2 7.51 kg/m 150x50x50x3.2 6.02 kg/m 150x50x50x4.5 3.31 kg/m 150x75x3.2 10.8 kg/m 150x100x3.2 12.0 kg/m 150x75x20x3.2 8.01 kg/m 150x100x3.2 12.0 kg/m 150x100x4.5 16.6 kg/m

ขนาดของระแนง 60-80 ระยะหางของจนั ทัน (ซม.) 100-120 80-100 โครงหลังคาเหลก็ 1\"x1\"x0.063\" 1.178kg/m 3/4\"x3/4\"x0.063\" 0.86kg/m 40 x 40 x 3 1.77 kg/m ใชเ หลก็ 3/4\"x3/4\"x0.063\" 0.86kg/m 25 x 25 x 3 1.12 kg/m 50 x 25 x 2.3 1.40 kg/m 50 x 25 x 2.3 1.4.0 kg/m ใชเหลก็ 25 x 25 x 3 1.12 kg/m 35x35 * * ใชไดแตไมป ระหยดั ใชเ หลก็ 40 x 20 x 1.6 0.739 kg/m ใช Galvanized * Steel ที่มา : บรษิ ัท ปนู ซิเมนตไ ทย ม.ป.ป. 3.7.4 โครงหลังคาปนหยา เนื่องจากลกั ษณะของหลังคาทลี่ าดออกจากกนั ทงั้ 4 ดาน ทําใหเ กิดสันหลงั คาเพิม่ ขึ้นตามมุมของผังหลังคา จงึ ตอ งใชต วั โครงสรา งท่ีเรียกวา ตะเขสัน วางทาํ มมุ 45 องศากับอเสในแนวราบ และยกขนึ้ เทาองศาความลาดของหลงั คา โดยจดุ ท่ีตะเขส นั มาพบกันจะมีตงั้ หรอื เสา (ถามี) รองรบั ตวั อยา งของโครงหลังคาทรงปน หยาตามรูปที่ 3.42 เปน โครงสราง ของหลังคาปน หยารปู ตัว L ตรงมมุ ดา นในของตวั L ลกั ษณะของลาดหลังคามาชนกันเปน รองราง ตะเขท่อี ยูตําแหนงน้ี จึงเรียกวา ตะเขราง ทั้งหมดนแ้ี สดงในผังโครงสราง เมอ่ื ดทู ่ีรปู ตดั จะเห็นวา ความเอยี งลาดของหลงั คาเปน 30 องศา และระดบั ของหลังตะเขต องอยใู นระดบั เดียว กบั หลังจันทันทกุ ตัว เพอื่ ใหแ ปวางพาดไดโ ดยรอบ

รปู ที่ 3.42 แสดงผงั โครงสรางหลังคาและรูปตดั แนว ก-ก

จากรปู ท่ี 3.42 แสดงโครงสรา งหลงั คาปนหยาตามลาํ ดบั ดังน้ี  อเสขนาด 2\" x 6\" ยดึ ตดิ กบั เสาโดยรอบ  ติดต้งั ชอ ด้ัง ค้าํ ยนั ที่จนั ทนั เอก เพื่อรบั อกไก  ตะเขลันขนาด 2\" x 6\" ปลายบนพาดอยทู ต่ี ้งั เหนอื อกไก ปลายลางพาดทเ่ี สาตรงมมุ อาคารทกุ มมุ ด้งั หรือ เสากลางจะอยสู งู กวา เสาตน รมิ 1 600 มิลลิเมตร (ลาดหลงั คา 30 องศา) ทกุ มมุ  ตดิ ตงั้ จันทนั ขนาด 2\" x 6\" ระยะหา ง 750 มลิ ลเิ มตร ปลายดานบนพาดอยบู นอกไก เพ่ือใหหลงั จนั ทนั อยู ระดบั เดียวกบั หลงั ตะเขสนั ปลายลา งพาดบนอเส ตามรปู สว นจันทนั ระหวางชว งเสารมิ นัน้ ปลายบนยดึ กบั ตะเขสันให หลังตะเขส ันและหลงั จันทนั อยรู ะดบั เดยี วกัน จันทนั ชวงตะเขรางนั้น ปลายบนพาดบนอกไก ปลายลา งยดึ ตดิ ระดบั เสมอกับตะเขราง  ยดึ ปลายจนั ทนั ดว ยเชงิ ชาย ขนาด 1\" x 10\" โดยรอบ  ติดตั้งระแนงขนาด 11/2\" x 11/2\" วางพาดขวางบนจันทันและตะเข โดยเร่มิ จากระแนงตัวบนและตัวลา ง จากเชงิ ชาย ระยะ 345 มลิ ลเิ มตร จากนนั้ แบง ชวงระแนงตามลาํ ดบั (ดรู ูปที่ 3.41) โดยรอบทง้ั 6 ดาน ปลายของระแนงท้ัง 6 ดา นจะมาบรรจบกนั เปนกรอบบนหลงั ตะเขส นั และตะเขร างทุกแถว โดยระแนงแตล ะ แถวมรี ะยะหา ง 320 มิลลเิ มตร เพ่อื รองรับกระเบือ้ งซีแพคโมเนยี (แนวของระแนงไมไ ดแ สดงในผงั โครงหลงั คา) 3.8 สวนประกอบของแบบโครงสรา ง แบบโครงสรางประกอบดวย 1. ผังโครงสรา ง แสดงโครงสรา งรวมของแตละระดบั ทง้ั โครงสรางใตดินและเหนอื ดนิ ไดแ ก ก. ผังฐานราก ข. ผงั คาน-พ้นื ช้ันที่ 1, 2, 3 ฯลฯ ค. ผังโครงหลงั คา 2. แบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม 3. ตารางรายละเอยี ดทางวิศวกรรม

3.9 การอา นแบบผังโครงสรา งอาคารบานพกั อาศัยสองช้ัน 3.9.1 ผังฐานราก คานคอดนิ ผังฐานรากจะแสดงตาํ แหนง ของฐานรากและเสาตอมอ ซ่งึ ถา ยนํา้ หนักจากเสารับอาคารลงสฐู านราก โดย ตําแหนงของเสาตอมอ และฐานรากกาํ หนดไดจ ากผังพน้ื ชนั้ ลา งของอาคาร ดังรปู ที่ 3.4 นอกจากนี้ ผงั ฐานรากอาจจะแสดงตาํ แหนงของคานคอดิน แผนพ้ืนวางบนดนิ และสวนทอ่ี ยใู ตด ิน ไดแ ก ตาํ แหนง บอเกรอะ-บอซมึ (ถาม)ี ดงั ตวั อยางรปู ท่ี 3.43 โดยมีชือ่ ตวั ยอ ของโครงสรา งอาคารเขยี นกาํ กบั ไวด ังนี้ ฐานราก แทนดว ย F ตอมอ แทนดว ย GC คานคอดิน แทนดว ย GB พนื้ วางบนดนิ แทนดวย GS ท้งั นี้ถาขนาดของโครงสราง เชน ฐานรากมีขนาดตางกันกใ็ สห มายเลขกาํ กับ เชน F1, F2 เปน ตน จากรูปท่ี 3.43 จะเห็นวา F1 มีขนาดใหญ เน่อื งจากรับน้ําหนกั จากเสาแถว B, C, D, F และ 2, 3, 4 ซงึ่ เม่ือดู จากผังพนื้ แลว ก็คอื ตัวบา น 2 ชั้น สวน F2 มีขนาดเลก็ ลงเพราะรับนาํ้ หนกั สวนโครงสรางชัน้ เดยี ว คอื บริเวณโรงรถและ สว นทเ่ี ปนครวั สําหรบั F3 รบั น้ําหนกั เฉพาะเฉลยี งหนา บา น ขนาดของโครงสรา ง สามารถอานขนาดความกวาง x ยาว ไดจ ากตารางแสดงรายละเอยี ดทางวิศวกรรมดงั น้ี ตารางท่ี 3.5 แสดงรายละเอียดฐานราก หมายเลข ขนาดเปนมลิ ลเิ มตร ความหนา ความหนาทราย ขนาด (มม.) เสาเขม็ เหลก็ เสรมิ ฐานราก กวา ง ยาว หนา คอนกรีตหยาบ อัดแนน ตอมอ คอนกรตี อดั แรง ฐานราก 1350 1350 250 100 200x200 5x180x180x6000 5-Ø 12 มม. F1 1000 1000 200 100 100 200x200 4x180x180x6000 7-Ø 9 มม. F2 800 800 200 100 100 150x150 2x180x180x6000 5-Ø 9 มม. F3 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook