เรือง สามัคคเี ภทคาํ ฉันท์ ผู้จัดทํา เลขที ๗ ๑.นายธนกฤษ จงรักษ์ ๒.นางสาวกนกพร ทองเชือ เลขที ๑๘ ๓.นางสาวกัลยวดี หนีภัย เลขที ๒๐ ๔.นางสาวธิติญา เฝอเม่น เลขที ๒๕ ๕.นางสาวยิษฐา คํานาเเซง เลขที๒๙ ชันมัธยมศึกษาปที ๖ห้อง๘ เสนอ คุณครู ณัฐยา อาจมังกร รายงานเล่มนีเปนส่วนหนึงของ การเรียนวิชา ภาษาไทย ภาคเรียนที ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม
เรือง สามคั คีเภทคําฉันท์ ผู้จัดทํา ๑.นายธนกฤษ จงรักษ์ เลขที ๗ ๒.นางสาวกนกพร ทองเชือ เลขที ๑๘ ๓.นางสาวกัลยวดี หนีภัย เลขที ๒๐ ๔.นางสาวธิติญา เฝอเม่น เลขที ๒๕ ๕.นางสาวยิษฐา คํานาเเซง เลขที๒๙ ชันมัธยมศึกษาปที ๖ห้อง๘ เสนอ คุณครู ณัฐยา อาจมังกร รายงานเล่มนีเปนส่วนหนึงของ การเรียนวิชา ภาษาไทย ภาคเรียนที ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม
คาํ นํา รายงานฉบบั น้เี ปนสว นหน่ึงของวชิ าภาษาไทย ท ๓๓๑๐๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๖ โดยมีจดุ ประสงค เพอ่ื การศกึ ษาความรูและวเิ คราะหท ไี่ ดจากวรรณคดไี ทย เรือ่ งสามคั คเี ภทคําฉันท ท้งั ดา นการพิจารณาเนื้อหาและกลวธิ ีในการแตง การใชภาษา ตลอดจนการประยกุ ตใ ชว รรณคดเี พ่อื ใหเกิดความเขาใจกันอยา งทัว่ ถึง ประโยชนห รอื คณุ คาในวรรณคดีและวรรณกรรม และไดศ ึกษาอยางเขาใจ เพ่อื เปน ประโยชนตอ การเรียน คณะผูจัดทาํ หวังวารายงานเลมน้ีจะมีประโยชนตอผูอานหรือนักเรียน นักศึกษาที่หาขอมูลในเรื่องน้ีหากมีขอแนะนาํ หรือขอผิดพลาดประการใด คณะผูจัดทําขอนอมรับและขออภัยไว ณ ท่ีนี้ดวย
สารบัญ เรือง หน้า - ประวัติผูแตง ๑ ๒ - จุดประสงคในการแตง ๓ ๔ - ท่ีมาของเรื่อง ๕ ๖ - ลักษณะคําประพันธ ๗ ๘-๑๐ - อินทรวิเชียรฉันท ๑๑-๔๙ ๕๐-๕๓ - วิชชุมมาลาฉันท ๕๔-๕๘ ๕๙ - เรื่องยอกอนเรียน - เรื่องยอของวัสสการพราหนณ - ถอดคําประพันธ - อธิบายคําศัพทยาก - คุณคาทางวรรณคดี - บรรณานุกรม
ประวัติผู้แต่ง ๑ นายชติ บุรทตั เปนผูมคี วามสามารถในการแตงคาํ ประพนั ธร อ ยกรอง โดย เฉพาะฉันท เปนกวที มี่ ีชอื่ เสยี งในสมยั รัชกาลที่ 6 สมรสกบั นางจ่นั แตไ มมบี ตุ รธิดาเขา ศึกษาเบ้ืองตน ทโ่ี รงเรยี นวดั ราชบพธิ และเขาศึกษาจนจบช้นั มัธยมบรบิ ูรณ ท่ีโรงเรียน- วดั สทุ ัศน เม่อื อายไุ ด 15 ป บิดาจึงใหบวชเปนสามเณร ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมา- รามบวชไดไ มน านก็ลาสิกขานายชติ มคี วามสนใจการอา นเขยี น และมีความเช่ยี วชาญใน ภาษาไทย มีความรูภาษาบาลี และยังฝก ฝนภาษาอังกฤษอยใู นเกณฑใ ชได และเริม่ การประพันธเ ม่อื อายไุ ด 18 ป นายชติ กลบั มาบวชสามเณรอกี ครงั้ ณ วดั บวรนเิ วศ วหิ าร ในฐานะเปน ศษิ ยสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา วชิรญาณวโรรส ไดเ ขียนงานประพนั ธครั้งแรก โดยใชน ามปากกา \"เอกชน\" จนเปนที่รจู ัก กันดีในเวลานน้ั ขณะบวชนนั้ สามเณรชติ ไดรบั อาราธนาจากองคส ภานายกหอพระสมุด วชริ ญาณ ใหเขารว มแตง ฉันทสมโภชพระมหเศวตฉตั ร ในงานพระราชพิธฉี ัตรมงคล รชั กาลท่ี 6 เมอ่ื พ.ศ. 2454 ดวยครนั้ เมือ่ พ.ศ. 2458 นายชิต บุรทตั ซง่ึ ลาสิกขาแลว
๒ จุดประสงค์ จุดประสงค เพอื่ มุงช้คี วามสาํ คัญของการรวมเปน หมคู ณะ เปน นํ้าหนงึ่ ใจ เดียวกนั เพื่อปองกนั รกั ษาบานเมอื งใหม ีความเปนปกแผน สามัคคีเภทคาํ ฉันท เปน กวนี ิทานสุภาษติ วาดวย “โทษแหง การแตกสามคั คี” ภายหลงั ไดร ับการ ยกยองเปนตําราเรยี นวรรณกรรมไทยทสี่ ําคญั เลม หนึ่งทง้ั ในอดีตและปจ จุบนั
๓ ทมี า ทมี่ า : ในสมัยรชั กาลท่ี ๖ เกดิ วิกฤตการณทั้งภายในและภายนอกประเทศ เชน เกิดสงครามโลกครัง้ ท่ี ๑ เกดิ กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ซึ่งสง ผลกระทบตอ ความม่นั คง ของบา นเมอื ง นายชิต บรุ ทัต จงึ ไดแตง เร่ืองสามคั คเี ภทคําฉนั ทข ึ้น ในป พ.ศ. ๒๔๕๗ เพอ่ื มงุ ชี้ความสําคัญของการรวมกันเปน หมูคณะ เรื่องสามคั คีเภทคาํ ฉันทเ ปน นทิ าน สภุ าษติ ในมหาปรินพิ พานสตู ร และอรรถกถาสมุ งั คลวลิ าสนิ ีทีฆนกิ ายมหาวรรค 4 ลงพิมพในหนังสือธรรมจกั ษุ ของมหามกุฎราชวิทยาลัย โดยเรียบเรียงเปนภาษาบาลี
๔ ลกั ษณะคาํ ประพันธ์ คาํ ประพนั ธท่ใี ชแ ตงสามัคคีเภทคําฉนั ทน ั้นใชฉ นั ทและกาพยส ลบั กนั จึงเรยี กวา คาํ ฉันท โดยมฉี นั ทถ ึง 20 ชนิดดวยกัน นบั วาเปน วรรณคดีคาํ ฉันท เลม หน่ึงท่ีอนชุ นรุนหลงั ยกยองและนับถอื เปน แบบเรื่อยมา โดยเนนจังหวะ ลหุ คือเสยี งเบาอยางเครง ครดั กาํ หนดเปนสระเสียงสนั้ ไมมตี ัวสะกดเสมอ สามคั คีเภทคําฉันท แตงดว ยคาํ ประพันธป ระเภทฉันท ๑๙ ชนดิ กาพย ๑ ชนิด คอื ๑.สัททุลวิกกีฬติ ฉนั ท ๑๙, ๒. วสันตดลิ กฉนั ท ๑๔, ๓. อุปชาตฉิ ันท ๑๑, ๔. อที สิ งั ฉันท ๒๑, ๕. อินทรวิเชยี รฉนั ท ๑๑, ๖. วิชชุมมาลาฉนั ท ๘, ๗. อินทรวงศ- ฉนั ท ๑๒, ๘. วังสฏั ฐฉนั ท ๑๒, ๙. มาลินีฉันท ๑๕, ๑๐. ภุชงคประยาตฉันท ๑๒, ๑๑. มาณวกฉนั ท ๘, ๑๒. อเุ ปนทรวิเชยี รฉันท ๑๑, ๑๓. สัทธราฉนั ท ๒๑, ๑๔. สาลินีฉันท ๑๑, ๑๕. อปุ ฏฐติ าฉันท ๑๑, ๑๖. โตฏกฉนั ท ๑๒, ๑๗. กมลฉนั ท ๑๒, ๑๘. จติ รปทาฉนั ท ๘, ๑๙. สรุ างคนางคฉ ันท ๒๘, ๒๐. กาพยฉ บัง ๑๖
๕ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ อินทรวิเชียร แปลวา เพชรพระอนิ ทร หรือ สายฟา จากพระอินทร หมายถงึ ฉันทท ่ีมลี ีลาประดจุ เพชรของพระอนิ ทร หรือ สายฟา จากพระอนิ ทร คณะและพยางคอ นิ ทรวเิ ชยี รฉันท จาํ นวน ๑ บท มี ๒ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค ไดแ ก วรรคหนา หรอื วรรคตน มี ๕ คาํ (พยางค) สว นวรรคหลังหรือ วรรคทายมี ๖ คาํ (พยางค) อินทรวเิ ชยี รฉนั ท ๑ บาท มจี ํานวนคํา (พยางค) ๑๑ คํา (พยางค) ดงั นนั้ จึงกําหนดเลข ๑๑ ไวท ายชือ่ ฉนั ท โดยยดึ ตามบาทของฉนั ทน เี่ องครบั สัมผสั ใหสงั เกตสมั ผัสบังคบั (สัมผัสนอก) และบงั คบั คร-ุ ลหุ ในเรือ่ ง ครุ ลหุ คอื ตามผงั ภาพ คาํ ครุ สัญลกั ษณแทนดว ย คาํ ลหุ สญั ลักษณแทนดวย
๖ แผนผงั วิชชมุ มาลาฉันท์ ๘ คณะและพยางค วชิ ชมุ มาลาฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดงั นี้ มี ๔ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรคละ ๔ คํา ๑ บาท นบั จํานวนคาํ ได ๘ คาํ /พยางค ดงั นน้ั จงึ เขยี นเลข ๘ หลงั ชอ่ื วชิ ชุมมาลาฉันทนี่เอง ทัง้ บทมจี าํ นวนคาํ ทัง้ สนิ้ ๓๒ คําสมั ผัส พบวา สมั ผสั วิชชุมมาลาฉันท มีสมั ผัสนอก (ทเี่ ปน สัมผสั ภายในบท) บทจํานวน ๕ แหง ไดแ ก ๑. คาํ สุดทา ยของวรรคที่ ๑ สงสัมผสั กับคาํ ที่ ๒ ของวรรคที่ ๒ ๒. คาํ สุดทา ยของวรรคท่ี ๒ สงสมั ผัสกบั คาํ สุดทา ย ของวรรคท่ี ๓ ๓. คาํ สุดทายของวรรคท่ี ๔ สงสมั ผสั กับคําสุดทา ย ของวรรคที่ ๖ ๔. คําสดุ ทา ยของวรรคท่ี ๕ สง สัมผัสกับคําท่ี ๒ ของวรรคที่ ๖ ๕. คาํ สุดทายของวรรคที่ ๖ สง สมั ผัสกับคําสดุ ทา ย ของวรรคที่ ๗ สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สง สัมผัสกับคาํ สดุ ทา ยของวรรค วรรคท่ี ๔ ในบทตอ ไป คําครุ ลหุ วิชชมุ มาลาฉนั ท ๑ บท มคี ําครุทงั้ หมด ๓๒ คาํ ปราศจากการใชค าํ ลหุ ใหสงั เกตสมั ผัส บงั คบั (สัมผสั นอก) และบงั คบั ครุ-ลหุ ตามผังภาพ คาํ ครุ สัญลกั ษณแ ทนดวย ั คําลหุ สญั ลกั ษณแทนดวย (ซง่ึ ในฉันทป ระเภทนไี้ มใชคําลหุ)
๗ (เรืองยอ่ กอ่ นบทเรียน) พระเจาอชาตศัตรแู หงกรงุ ราชคฤห แควนมคธ ทรงมีวสั สการ พราหมณผ ูฉลาดและรอบรู ศิลปศาสตรเปนที่ปรกึ ษา มพี ระประสงคจะขยายอาณาจักร ไปยงั แควนวัชชีของเหลากษตั ริยล จิ ฉวี ซง่ึ ปกครองแควนโดยยดึ ม่นั ในอปริหานิยธรรม (ธรรมอนั ไมเปนที่ตงั้ แหงความเส่อื ม) เนน สามัคคธี รรมเปนหลัก การโจมตีแควนน้ีใหไ ดจ ะตอ งทําลาย ความสามคั คีน้ี ใหไดเ สยี กอน วสั สการพราหมณปุโรหติ ทีป่ รกึ ษา จึงอาสาเปนไสศกึ ไปยุแหยใ หกษตั ริยล จิ ฉวีแตกความ สามคั คี โดยทาํ เปน อุบายกราบทูลทดั ทานการไปตแี ควนวัชชี พระเจาอชาตศัตรูแสรง กร้วิ รบั ส่งั ลงโทษ ใหเฆี่ยนวัสสการ พราหมณ อยางรนุ แรงแลว เนรเทศไปขาวของวัสสการพราหมณไ ปถงึ นครเวสารี เมืองหลวงของแควนวชั ชี กษัตริยล ิจฉวีรบั สั่งใหว สั สการพราหมณเขารบั ราชการกับกษตั รยิ ลจิ ฉวี ดว ยเหตทุ ่ีเปน ผมู ีสติปญ ญา มีวาทศิลปดี มคี วามรอบรใู นศลิ ปะวทิ ยาการ ทําใหกษตั รยิ ล ิจฉวีรับไวใ น พระราชสาํ นัก ใหพิจารณาคดีความและสอนหนังสือพระโอรส วสั สการพราหมณไดท ําหนา ทอี่ ยา งเตม็ ความรูความสามารถ จนกษัตรยิ ล ิจฉวไี วว างพระทัย กด็ าํ เนินอุบายขัน้ ตอไป คอื สรา งความคลางแคลง ใจในหมพู ระโอรส แลว ลุกลามไปถงึ พระบดิ า ซึ่งตา งก็เช่ือพระโอรส ทาํ ใหข ุนเคอื งกันไปท่วั เวลาผานไป ๓ ป เหลากษตั รยิ ลจิ ฉวีก็แตกความสามัคคีกันหมด แมวสั สการ พราหมณต ีกลองนัดประชุม กไ็ มมพี ระองคใ ดมารวม ประชมุ วสั สการพราหมณจึงลอบสง ขาวไปยังพระเจา อชาตศตั รู ใหท รงยกทัพมาตแี ควนวชั ชไี ดอ ยา ง งา ยดาย
๘ สามัคคเี ภทคาํ ฉันท์ เรืองของกษัตริย์ลจิ ฉวี สามคั คเี ภทคาํ ฉันท เรอ่ื งของกษัตรยิ ลิจฉวี กษตั รยิ ลจิ ฉวี กรงุ เวสาลี แหงแควน วัชชี ถูกวัสสการพราหมณ มหาอาํ มาตย ของพระเจาอชาตศัตรู กรงุ ราชคฤหแหง แควน มคธ เขาไปทาํ ลายความสามัคคีจนเสียเมือง เรอ่ื งนม้ี มี าในมหาปรินิพพานสูตรและอรรถกถาสมุ งั ควิลาสนิ ี นายชิต บุรทัต ไดอ าศัย เคา คาํ แปลเร่อื งนี้เปน โครงรา งในการประพนั ธ ไดต อ เติมเสรมิ ความตามลลี าแหงฉนั ทเ มื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ ในคร้ังพทุ ธกาลแควนมคธมกี รงุ ราชคฤหเปนเมอื งหลวง เปนมหาอาณาจักรบนลุมแมนาํ้ คงคา พระเจาพิมพิสารทรงเปนพระมหากษตั รยิ ปกครองโดยระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าช มีพระราชโอรสองคใหญทรงพระนามวา อชาตศัตรู เจา ชายอชาตศตั รนู ี้นบั ถอื ศาสนาเชน มไิ ดน บั ถือพุทธศาสนาเหมือนพระราชบิดา จึงถูกพระเทวทตั ยุใหกบฏชิงราชสมบตั ิ อยูมาวันหนง่ึ เจาชายเหน็บกริชลอบเขาไปหมายจะสังหารพระราชบดิ า เมื่อถูกจบั ไดก ็สารภาพ วา จะสังหารเพ่อื ใหไ ดร าชสมบัติ พระเจาพมิ พิสารไดพระราชทานอภยั โทษและยกราชสมบตั ิ ใหพระราชโอรสเม่ือกอนพุทธปรนิ ิพพาน ๘ ป หรือกอ น พ.ศ. ๙ ป แตทวา พระเจา อชาตศัตรู หวาดระแวงวาพระราชบิดาจะเปลี่ยนพระทยั จึงส่ังใหอาํ มาตยจ ับพระราชบดิ าไปขงั ไวบนภเู ขา คิชฌกฎู และทรมานจนสวรรคต แควนวัชชีเปน สหพนั ธรัฐต้ังอยบู นฝง แมน าํ้ คันธกะ แควหนง่ึ แหงแมน ํ้าคงคา มีกรงุ เวสาลี เปนเมอื งหลวง และมีพรมแดนติดตอกบั แควนมคธ กษตั รยิ ล จิ ฉวีผลดั เปลย่ี นกนั ปกครองโดย ระบอบสามัคคีธรรม มีรฐั สภาเปนทป่ี รกึ ษาราชการแผนดิน และมวี ฒั นธรรมประจําชาติซงึ่ ยึดถอื ปฏิบัตอิ ยางมั่นคง ๗ ประการ เรยี กวา อปริหานยิ ธรรม ฉะน้นั แมแ ควน วัชชจี ะเล็กกวา แควน มคธ กม็ ีความเจรญิ รงุ เรอื งและสามัคคีกนั ไมน อยกวาแควน มคธ
๙ พระเจา อชาตศตั รูมีกรณพี ิพาทเปน ประจาํ กับกษัตรยิ ล ิจฉวี เรือ่ งแยงเครอ่ื งเทศอนั มคี า ท่เี ชงิ ภเู ขา พรมแดนหา งจากแมน้าํ คงคาประมาณ ๘ โยชน พระองคจงึ ทรงวางแผนสงครามโดยใช ใหมหาอํามาตยสุนธิ ะกับปุโรหติ ผเู ฉลยี วฉลาดนามวา วสั สการพราหมณใ หไปสรา งบา น ปาฏลคิ ามขน้ึ เปนเมือง ณ รมิ ฝง แมนาํ้ คงคาใกลป ากนาํ้ คันธกะ ทางเขา สแู ควนวชั ชีเมืองน้ี เพียบพรอมดว ยคา ยคปู ระตหู อรบ เพอ่ื ใชเปนฐานทพั เขาโจมตแี ควน วัชชี แตถ ึงอยา งไรก็ดี พระเจาอชาตศตั รูก็ยงั ไมกลา จะหักหาญ เพราะเกรงอิทธิพลของกษตั ริยลิจฉวอี ยู เมอ่ื พระเจา อชาตศัตรูเสวยราชยไ ด ๗ ป หรอื กอนพุทธปรนิ พิ พาน ๑ ป ทรงใช วสั สการพราหมณใ หไปเฝาพระพทุ ธเจา แทนพระองคบนเขาคิชฌกูฎ ใหทูลถามถึงความทุกข สขุ กอ น แลว ใหก ราบทลู ถงึ พระราชดาํ รขิ องพระองคท ีจ่ ะโจมตแี ควน วชั ชี และเมือ่ พระพทุ ธ องคร ับสง่ั อยา งไร กใ็ หจ าํ มากราบทลู อยา งนนั้ วสั สการพราหมณไ ปเฝากราบทูลตามพระราชบญั ชา พระพุทธเจาจงึ ตรสั ถามพระอานนทว า ชาววัชชียงั ประพฤติวฒั นธรรม (อปริหานิยธรรม) ๗ ประการอยหู รือ พระอานนท กก็ ราบทลู วา ไดยนิ วา เขายงั ประพฤตกิ ันอยู พระพุทธองคจ งึ ตรัสตอ ไปวา ไดท รงแสดง ธรรมท้งั ๗ น้แี กกษตั รยิ ล ิจฉวคี รง้ั หนึง่ เมือ่ เสดจ็ ไปประทับท่ีสารนั ทเจดยี กรุงเวสาลี วาเปน ความเจรญิ ฝายเดยี ว ไมม ีความเส่ือม วัสสการพราหมณไ ดฟ งดังนั้นจงึ กราบทลู วา แมเพยี งขอ เดยี วเทานนั้ ก็มีความเจรญิ ฝา ย เดียวไมมคี วามเสื่อมเลย ไมต องกลา วถงึ ๗ ขอ เพราะฉะนน้ั พระเจาอชาตศัตรูจงึ ไมควร ทําการรบกับพวกวัชชี นอกเสยี จากการรอมชอม หรอื การทําลายสามัคคขี องกษตั ริยล จิ ฉวี เสียกอ น เม่อื กราบทลู ความคดิ เหน็ อยางนี้แลวก็ทูลลากลับไป
๑๐ เม่ือวสั สการพราหมณก ลบั ไปแลว พระพุทธองคจงึ ทรงเรยี กประชมุ สงฆแสดงภกิ ขุ อปรหิ านยิ ธรรมสตู ร ซงึ่ มีลกั ษณะคลา ยวัชชอี ปริหานยิ ธรรมสตู ร เม่อื ประทบั อยูท ่ภี เู ขา คชิ ฌกูฎเปนเวลาพอสมควรแลว จึงเสด็จผา นบา นปาฏลคิ ามที่สรางข้นึ เปน เมอื งปาฏลบี ตุ ร แลว รอนแรมไปโดยลาํ ดับจนถงึ กรุงเวสาลี ประทับจาํ พรรษาสดุ ทา ยทน่ี ่ัน ตอจากนัน้ ก็เสดจ็ ไปปรินิพพานที่อทุ ยานสาลวัน แขวงกรงุ กสุ ินารา แควนมลั ละ พระเจาอชาตศตั รไู ดท รงทราบดงั นน้ั จงึ ไมก ลา โจมตีแควน วชั ชี แตท รงปรึกษากบั วัสสการพราหมณออกอุบายทําลายความสามัคคขี องกษัตริยล ิจฉวี โดยแกลง ลงโทษ วัสสการ พราหมณแ ลวเนรเทศใหไปอยูแ ควน วชั ชี วสั สการรพราหมณดาํ เนนิ การบอ นทาํ ลาย ความสามคั คีอยู ๓ ป จงึ เปน ผลสาํ เรจ็ พระเจา อชาตศตั รไู ดท รงทราบแลว ก็กรธี าทพั เขาไปยดึ ครองแควน วัชชีโดยไมมกี ารสูรบ ภายหลังพทุ ธปรนิ พิ พาน ๒ ป หรือกอน พ.ศ. ๓ แควน วัชชกี ต็ กอยูภายใตการปกครองของ พระเจา อชาตศัตรู
๑๑ ถอดคาํ ประพันธ์ ภุชงคประยาต ฉันท์ฯ บทประพันธ์ คะเนกลคะนงึ การ ระวงั เหอื ดระแวงหาย ทชิ งคช าตฉิ ลาดยล ปวัตนวญั จโนบาย สมคั รสนธ์สิ โมสร กษัตริยลิจฉววี าร เหมาะแกการณจะเสกสรร มลางเหตพุ เิ ฉทสาย ถอดความไดว้ า่ พราหมณผ ฉู ลาดคาดคะเนวา กษตั ริยล จิ ฉววี างใจคลายความหวาดระแวง เปน โอกาสเหมาะทจ่ี ะเรม่ิ ดําเนินการตามกลอบุ ายทําลายความสามคั คี บทประพันธ์ ลศกึ ษาพชิ ากร เสดจ็ พรอ มประชมุ กัน ณ วันหนึ่งลถุ ึงกา สถานราชเรยี นพลัน กมุ ารลิจฉวีวร สนทิ หนึง่ พระองคไป ตระบดั วัสสการมา ธแกลง เชญิ กุมารฉนั ถอดความไดว้ า่ วนั หนึ่งเม่ือถงึ โอกาสทีจ่ ะสอนวิชา กุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพรอ มเพรียง- กัน ทนั ใดวัสสการพราหมณก ็มาถงึ และแกลงเชญิ พระกุมารพระองคท ่สี นทิ สนม เขา ไปพบ
๑๒ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ลหุ อ งหบั รโหฐาน กถ็ ามการณ ณ ทนั ใด มลิ ้ลี บั อะไรใน กถาเชน ธปจุ ฉา จะถกู ผดิ กระไรอยู มนษุ ยผ กู ระทาํ นา และคโู คกจ็ งู มา ประเทียบไถมิใชห รือ ถอดความไดว้ า่ เมือ่ เขาไปพบในหองสว นตัว แลว ก็ทูลถามเรื่องท่ีไมใชค วามลบั แต ประการใด ดังเชน ถามวา ชาวนาจงู โคมาคหู น่ึงเพอ่ื เทียมไถใชหรอื ไม บทประพันธ์ กร็ ับอรรถออออื กมุ ารลจิ ฉวขี ตั ตยิ กสกิ เขากระทาํ คือ ประดจุ คําพระอาจารย ก็เทาน้นั ธเชญิ ให นวิ ัตในมชิ านาน ประสทิ ธ์ศิ ิลปประศาสนส าร สมัยเลกิ ลุเวลา ถอดความไดว้ า่ พระกุมารลจิ ฉวีกร็ บั สัง่ เห็นดวยวาชาวนากค็ งจะกระทําดงั คาํ ของ พระอาจารย ถามเพียงเทานน้ั พราหมณก เ็ ชิญใหเ สดจ็ กลบั ออกไป ครน้ั ถึงเวลาเลิกเรียน
๑๓ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ อรุ สลิจฉวีสรร พชวนกนั เสดจ็ มา และตางซกั กมุ ารรา ชองคน ัน้ จะเอาความ พระอาจารยส เิ รียกไป ณขา งในธไตถาม อะไรเธอเสนอตาม วจสี ตั ยกะสํ่าเรา ถอดความไดว้ า่ เหลาโอรสลจิ ฉวีกพ็ ากนั มาซกั ไซพ ระกมุ ารวา พระอาจารยเ รยี กเขา ไปขางใน ไดไตถ ามอะไรบา ง ขอใหบ อกมาตามความจริง บทประพันธ์ รวากยวาทตามเลา วภาพโดยคดมี า กุมารน้ันสนองสา มเิ ชอื่ ในพระวาจา เฉลยพจนกะครเู สา และตางองคก็พาที กมุ ารอืน่ ก็สงสัย สหายราชธพรรณนา ถอดความไดว้ า่ พระกมุ ารพระองคน้นั ก็เลาเรือ่ งราวที่พระอาจารยเรยี กไปถาม แตเหลากมุ ารสงสยั ไมเชอื่ คําพดู ของพระสหาย ตา งองคก ว็ ิจารณ
๑๔ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ไฉนเลยพระครูเรา จะพูดเปลาประโยชนมี เลอะเหลวนักละลว นนี รผลเห็นบเปน ไป เถอะถึงถาจะจรงิ แม ธพดู แทก ็ทาํ ไม แนะชวนเขา ณขา งใน จะถามนอกบยากเยน็ ถอดความไดว้ า่ วจิ ารณวา พระอาจารยจะพูดเร่อื งเหลวไหลไรส าระเชน นี้เปนไปไมได และหากวา จะพดู จริงเหตใุ ดจะตอ งเรยี กเขาไปถามขางในหอ ง ถามขา งนอกหอ งก็ได บทประพันธ์ ธคิดอานกะทา นเปน ละแนชดั ถนดั ความ ชะรอยวาทิชาจารย มกิ ลาอาจจะบอกตา รหัสเหตุประเภทเห็น ไถลแสรงแถลงสาร และทานมามุสาวาท พจจี ริงพยายาม ถอดความไดว้ า่ สงสัยวาทานอาจารยก บั พระกมุ ารตองมีความลบั อยา งแนนอน แลว กม็ าพูดโกหก ไมก ลาบอกตามความเปนจริง แกลง พูดไปตางๆ นานา
๑๕ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ กส็ อดคลอ งและแคลงดาล กุมารราชมิตรผอง พโิ รธกาจวิวาทการณ อุบัติข้นึ เพราะขนุ เคอื ง พิพิธพนั ธไมตรี ประดามนี ิรนั ดรเ นือง กะองคน น้ั ก็พลันเปลอื ง มลายปลาตพินาศปลงฯ ถอดความไดว้ า่ กมุ ารลจิ ฉวีท้งั หลายเห็นสอดคลองกนั ก็เกดิ ความโกรธเคอื ง การทะเลาะ- ววิ าทก็เกิดขนึ้ เพราะความขนุ เคืองใจ ความสัมพันธอ ันดีทเ่ี คยมีมาตลอดก็ ถูกทาํ ลายยอยยับลง มาณวก ฉันท์๘ บทประพันธ์ กาลอนกุ รม ลว งลปุ ระมาณ หน่ึงณนยิ ม ทานทวชิ งค เมอื่ จะประสิทธ์ิ วิทยะยง เชญิ วรองค เอกกมุ าร ถอดความไดว้ า่ เวลาผา นไปตามลําดับ เมอื่ ถงึ คราวทจี่ ะสอนวชิ ากจ็ ะเชญิ พระกมุ าร- พระองคหน่ึง
ถอดคาํ ประพันธ์ ๑๖ บทประพันธ์ พราหมณไป หอ งรหุฐาน เธอจรตาม ความพิสดา โดยเฉพาะใน โทษะและไข จงึ่ พฤฒิถาม. ขอธประทาน ถอดความไดว้ า่ พระกุมารกต็ ามพราหมณเ ขาไปในหองเฉพาะ พราหมณจึงถามเน้ือความ- แปลก ๆ วา ขออภยั ชวยตอบดวย บทประพันธ์ ครจู ะเฉลย ภัตกะอะไร อยา ตแิ ละหลู ดีฤไฉน เธอนะเสวย ยิง่ ละกระมัง ในทนิ นี่ พอหฤทัย อถยอาดหคาววาาตมําไหดนว้ ิหา่ รือลบหลู ครูขอถามวาวันน้ีพระกุมารเสวยพระกระยาหาร- อะไร รสชาตดิ ีหรอื ไม พอพระทัยมากหรอื ไม
ถอดคาํ ประพันธ์ ๑๗ บทประพันธ์ เคาณประโยค ราชธก็เลา ตนบรโิ ภค แลว ขณะหลงั วาทะประเทือง เรือ่ งสิประทงั อาคมยงั สิกขสภา ถอดความไดว้ า่ กิน พระกมุ ารกเ็ ลาเรอ่ื งเกีย่ วกบั พระกระยาหารทีเ่ สวย หลังจากน้นั กส็ นทนา เรื่องทั่วไป แลว ก็เสดจ็ กลับออกมายงั หองเรียน บทประพันธ์ ราชอุรส เสร็จอนศุ าสน ลิจฉวหิ มด ตา งธกม็ า ถามนยมาน ทา นพฤฒิอา จารยปรา รภกระไร ถอดความไดว้ า่ แลวกเ็ สด็จกลบั ออกมายงั หอ งเรียน เมอ่ื เสรจ็ ส้นิ การสอนราชกุมารลิจฉวี ท้ังหมดกม็ าถามเรือ่ งราวท่ีมมี าวา ทา นอาจารยไดพูดเรอ่ื งอะไรบาง
๑๘ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ แจง ระบุมวล เธอกแ็ ถลง ความเฉพาะลว น จริงหฤทัย ตา งบมิเช่อื เมอื่ ตรไิ ฉน จึ่งผลใน เหตุบมิสม ถอดความไดว้ า่ พระกมุ ารกต็ อบตามความจรงิ แตเหลา กุมารตา งไมเชือ่ เพราะคดิ แลว ไม- สมเหตสุ มผล บทประพันธ์ เร่ืองนฤสาร ขนุ มนเคอื ง เชนกะกมุ าร กอนกร็ ะ เลกิ สละแยก แตกคณะกล เกลยี วบนยิ ม คบดุจเดิม ถอดความไดว้ า่ ตา งขนุ เคอื งใจดวยเร่ืองไรส าระเชนเดยี วกบั พระกุมารพระองคก อ น และเกิดความแตกแยกไมค บกันอยางกลมเกลยี วเหมอื นเดมิ
๑๙ ถอดคาํ ประพันธ์ อุเปนทรวิเชียร ฉันท์ ๑๑ บทประพันธ์ กลหเหตยุ ุยงเสรมิ ทิชงคเจาะจงเจตน กระหน่ําและซ้ําเติม นฤพัทธกอ การณ ละครั้งระหวางครา ทนิ วารนานนาน เหมาะทาทชิ าจารย ธก็เชญิ เสด็จไป ถอดความไดว้ า่ ราหมณเจตนาหาเหตยุ ุแหยซ้าํ เตมิ อยูเสมอ ๆ แตละครั้ง แตละวนั นานนานครัง้ เหน็ โอกาสเหมาะก็จะเชญิ พระกุมารเสด็จไป บทประพันธ์ รฤหาประโยชนไร เสาะแสดงธแสรง ถาม บ หอ นจะมีสา นะ แนะขาสดบั ตาม กระนัน้ เสมอนยั พจแจงกระจายมา และบา งกพ็ ูดวา ยบุ ลระบิลความ ถอดความไดว้ า่ ไมม สี ารประโยชนอนั ใด แลวกแ็ กลง ทูลถาม บางครงั้ ก็พดู วา นแี่ นะ ขา - พระองคไ ดยินขา วเลา ลอื กันทั่วไป
๒๐ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ละเมดิ ติเตียนทาน กเ็ พราะทานสแิ สนสา รพัดทลิทภา วและสุดจะขดั สน จะแนมแิ นเ หลือ พเิ คราะหเ ชอื่ เพราะยากยล ณท่บี มคี น ธก็ควรขยายความ ถอดความไดว้ า่ เขานินทาพระกุมารวาพระองคแสนจะยากจนและขดั สน จะเปนเชนน้ันแน หรอื พเิ คราะหแลว ไมน าเชอื่ ณ ทน่ี ีไ้ มมผี ูใ ด ขอใหท รงเลา มาเถิด บทประพันธ์ นะแนะขาจะขอถาม วจลือระบอื มา และบา งกก็ ลาววา กเ็ พราะทานสแิ สนสา เพราะทราบคดตี าม ยพลิ กึ ประหลาดเปน ติฉินเยาะหมิน่ ทาน รพนั พกิ ลกา ถอดความไดว้ า่ บางครงั้ ก็พดู วา ขา พระองคขอทูลถามพระกมุ าร เพราะไดย ินเขาเลาลอื กัน ทัว่ ไปเยาะเยย ดหู ม่ินทาน วาทา นนี้มรี างกายผิดประหลาดตาง ๆ นานาจะ เปนจริงหรือไม
ถอดคาํ ประพันธ์ ๒๑ บทประพันธ์ มนเช่อื เพราะไปเ หน็ ธกค็ วรขยายความ จะจรงิ มจิ รงิ เหลอื วนเคา คดีตาม ผิขอบลําเค็ญ นยสดุ จะสงสัย กมุ ารองคเ สา กระทูพระครถู าม ถอดความไดว้ า่ ใจไมอยากเชื่อเลยเพราะไมเ หน็ ถาหากมสี งิ่ ใดท่ลี ําบากยากแคนกต็ รัสมา- เถิด พระกมุ ารไดท รงฟง เร่ืองที่พระอาจารยถ ามก็ตรัสถามกลับวา สงสยั เหลือเกนิ บทประพันธ์ ครุ ทุ า นจะถามไย ระบแุ จง กะอาจารย กค็ าํ มคิ วรการณ พระกุมารโนนขาน ธซกั เสาะสบื ใคร เฉพาะอยกู ะกันสอง ทวิชแถลงวา ยุบลกะตกู าล ถอดความไดว้ า่ เร่อื งไมส มควรเชน น้ที า นอาจารยจะถามทําไม แลว กซ็ ักไซว าใครเปน ผมู าบอก กบั อาจารย พราหมณกต็ อบวาพระกมุ ารพระองคโนน ตรสั บอกเมอื่ อยูกนั เพยี งสองตอสอง
ถอดคาํ ประพันธ์ ๒๒ บทประพันธ์ ธมิทนั จะไตรต รอง มารพระองคน้นั ก็เช่อื ณคําของ พฤฒคิ รูและวูวาม พโิ รธกุมารองค เหมาะเจาะจงพยายาม ยุครเู พราะเอาความ บมดิ ีประเดตน ถอดความไดว้ า่ กมุ ารพระองคน ้ันไมท นั ไดไ ตรตรอง กท็ รงเชอ่ื ในคําพูดของอาจารย ดว ยความววู ามกก็ ร้ิวพระกมุ ารที่ยุพระอาจารยใสความตน บทประพันธ์ ทรุ ทฐิ ิมานจน ก็พอและตอ พษิ ลโุ ทสะสืบสน ธิพพิ าทเสมอมา และฝายกมุ ารผู ทิชครูมเิ รยี กหา กแ็ หนงประดารา ชกมุ ารทชิ งคเชิญ ถอดความไดว้ า่ จึงตดั พอ ตอวา กนั ขน้ึ เกดิ ความโกรธเคอื งทะเลาะวิวาทกนั อยเู สมอ ฝายพระกุมารทีพ่ ราหมณไมเ คยเรียกเขา ไปหาก็ไมพ อพระทยั พระกมุ ารท่ี พราหมณเชญิ ไปพบ
ถอดคาํ ประพันธ์ ๒๓ บทประพันธ์ ฉวมิ ิตรจติ เมิน คณะหางกต็ า งถอื พระราชบุตรลจิ พลลนเถลงิ ลือ ณกันและกนั เหิน มนฮกึ บนกึ ขามฯ ทะนงชนกตน ก็หาญกระเหมิ ฮือ ถอดความไดว้ า่ พระกมุ ารลิจฉวหี มางใจและเหินหางกัน ตางองคทะนงวาพระบิดาของตนมี อาํ นาจลนเหลือ จงึ มใี จกําเรบิ ไมเกรงกลวั กนั บทประพันธ์ ทรุ ทฐิ มิ านจน ธิพิพาทเสมอมา กพ็ อและตอ พษิ ทิชครมู เิ รยี กหา ลโุ ทสะสบื สน ชกมุ ารทชิ งคเชิญ และฝา ยกมุ ารผู ก็แหนงประดารา ถอดความไดว้ า่ จึงตดั พอ ตอ วากนั ขนึ้ เกดิ ความโกรธเคอื งทะเลาะวิวาทกันอยูเ สมอ ฝา ยพระกมุ ารทพี่ ราหมณไ มเ คยเรียกเขา ไปหาก็ไมพอพระทัยพระกุมารที่ พราหมณเ ชิญไปพบ
ถอดคาํ ประพันธ์ ๒๔ บทประพันธ์ ฉวิมิตรจิตเมิน คณะหา งกต็ างถอื พระราชบุตรลิจ พลลน เถลงิ ลอื ณกันและกันเหิน มนฮึกบนกึ ขามฯ ทะนงชนกตน กห็ าญกระเหิมฮอื ถอดความไดว้ า่ พระกมุ ารลจิ ฉวีหมางใจและเหนิ หางกัน ตางองคทะนงวา พระบดิ าของตนมี อํานาจลนเหลอื จงึ มีใจกําเรบิ ไมเกรงกลัวกนั สั ทธรา ฉันท์ฯ บทประพันธ์ ธก็ยุศิษยตาม ฉงนงาํ ลาํ ดบั นนั้ วัสสการพราหมณ ริณวิรุธกส็ ํา แตงอบุ ายงาม ธเสกสรร ปวงโอรสลิจฉวีดํา คัญประดจุ คาํ ถอดความไดว้ า่ ในขณะนั้นวสั สการพราหมณกค็ อยยุลูกศษิ ย แตง กลอุบายใหเกดิ ความ แคลงใจ พระโอรสกษัตรยิ ล ิจฉวที ัง้ หลายไตรตรองในอาการนา สงสยั ก็ เขา ใจวา เปนจริงดังถอยคําท่ีอาจารยป น เรอ่ื งขนึ้
ถอดคาํ ประพันธ์ ๒๕ บทประพันธ์ มิละปย ะสหฉันท ก็อาดูร ไปเ หลอื เลยสกั พระองคอนั พระชนกอดศิ รู ขาดสมัครพันธ ปวตั ติค์ วาม ตา งองคน ําความมงิ ามทลู แหง ธโดยมูล ถอดความไดว้ า่ ไมม เี หลือเลยสกั พระองคเดียวที่จะมีความรักใครก ลมเกลยี ว ตา งขาด- ความสัมพนั ธ เกิดความเดือดรอ นใจ แตละองคน ําเร่อื งไมด ที ี่เกดิ ขนึ้ ไป ทลู พระบิดาของตน บทประพันธ์ ลวุ รบิดรลาม แตกราวกา วรายกป็ ายปาม ทีละนอยตาม ณเหตุผล ฟนเฝอ เช่ือนัยดนยั ตน นฤวเิ คราะหเสาะสน สืบจะหมองมล เพราะหมายใด ถอดความไดว้ า่ ความแตกแยกก็คอย ๆ ลุกลามไปสูพระบิดา เนอ่ื งจากความหลงเช่อื โอรสของตน ปราศจากการใครค รวญเกดิ ความผดิ พอ งหมองใจกันขึ้น
ถอดคาํ ประพันธ์ ๒๖ บทประพันธ์ กษณะตริเหมาะไฉน สะดวกดาย แทท านวัสสการใน พจนยปุ ริยาย เสรมิ เสมอไป บเวน ครา หลายอยา งตางกลธขวนขวาย วัญจโนบาย ถอดความไดว้ า่ ฝายวสั สการพราหมณครน้ั เห็นโอกาสเหมาะสมกค็ อยยแุ หยอยา งงายดาย ทาํ กลอบุ ายตาง ๆ พูดยุยงตามกลอุบายตลอดเวลา บทประพันธ์ สหกรณประดา ชทั้งหลาย ครัน้ ลว งสามปป ระมาณมา มติ รภทิ นะกระจาย ลิจฉวรี า ก็เปนไป สามัคคีธรรมทาํ ลาย สรรพเสื่อมหายน ถอดความไดว้ า่ เวลาผานไปประมาณ ๓ ป ความรว มมือกันระหวา งกษัตริยล ิจฉวีทั้ง หลายและความสามคั คีถูกทาํ ลายลงสิน้ ความเปนมิตรแตกแยก ความเส่อื ม ความหายนะก็บังเกดิ ข้ึน
ถอดคาํ ประพันธ์ ๒๗ บทประพันธ์ สหกรณป ระดา ชท้งั หลาย คร้นั ลว งสามปป ระมาณมา มิตรภทิ นะกระจาย ลิจฉวรี า กเ็ ปนไป มคั คธี รรมทาํ ลาย ทรพั ยเ สือ่ มหายน ถอดความไดว้ า่ เวลาผานไปประมาณ ๓ ป ความรว มมอื กนั ระหวา งกษัตริยล ิจฉวที ั้ง หลายและความสามัคคีถกู ทาํ ลายลงส้นิ ความเปนมิตรแตกแยก ความเสื่อม ความหายนะก็บงั เกดิ ข้ึน สาลนิ ี ฉันท์ ๑๑ บทประพันธ์ ตระหนักเหตถุ นัดครัน พจักสูพินาศสม พราหมณครรู สู ังเกต จะสมั ฤทธิม์ นารมณ ราชาวัชชสี รร และอุตสาหแหงตน ยนิ ดีบัดนกี้ จิ เริ่มมาดว ยปรากรม ถอดความไดว้ า่ พราหมณผ ูเปนครสู ังเกตเหน็ ดังน้ัน ก็รวู า เหลา กษตั รยิ ล จิ ฉวี กาํ ลังจะประสบความพนิ าศ จงึ ยินดีมากทภี่ ารกจิ ประสบผลสําเร็จสมดังใจ หลงั จากเริ่มตนดว ยความบากบั่นและความอดทนของตน
๒๘ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ใหลองตกี ลองนดั ประชุมขัตติยมณฑล เชญิ ซงึ่ สา่ํ สากล กษัตริยส ูส ภาคาร วชั ชภี ูมีผอง สดับกลองกระหึมขาน ทุกไทไปเอาภาร ณกิจเพ่อื เสด็จไป ถอดความไดว้ า่ จงึ ใหล องตีกลองนดั ประชมุ กษตั รยิ ฉวี เชิญทุกพระองคเสด็จมายัง ทป่ี ระชุม ฝายกษตั รยิ ว ชั ชที ั้งหลายทรงสดับเสียงกลองดงั กึกกอง ทกุ พระองคไมท รงเปน ธุระในการเสดจ็ ไป บทประพันธ์ จะเรยี กหาประชมุ ไย ก็ขลาดกลวั บกลาหาญ ตางทรงรับส่งั วา และกลาใครมิเปรียบปาน เราใชเปน ใหญใ จ ประชมุ ชอบกเ็ ชญิ เขา ทานใดท่เี ปน ใหญ พอใจใครใ นการ ถอดความไดว้ า่ ตางองคร บั สั่งวาจะเรยี กประชมุ ดวยเหตุใด เราไมไ ดเปน ใหญ ใจก็ขลาด ไมก ลา หาญ ผใู ดเปน ใหญ มคี วามกลา หาญไมม ีผใู ดเปรียบได พอใจจะเสดจ็ ไปรวมประชุมก็เชิญเขาเถิด
๒๙ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ปรกึ ษาหารอื กัน ไฉนนั้นกท็ ําเนา จักเรียกประชมุ เรา บแลเห็นประโยชนเ ลย รับสั่งผลกั ไสสง และทกุ องคธ เพิกเฉย ไปไดไ ปดั่งเคย สมคั รเขาสมาคมฯ ถอดความไดว้ า่ จะปรกึ ษาหารอื กนั ประการใดก็ชางเถิด จะเรยี กเราไปประชมุ มองไมเ ห็น ประโยชนป ระการใดเลย รบั สั่งใหพนตวั ไป และทุกพระองคก ็ทรงเพกิ เฉย ไมเ สดจ็ ไปเขารวมการประชุมเหมือนเคย อุปฎฐติ า ฉันท์๑๑ บทประพันธ์ ชนะคลอ งประสบสม ธก็ลอบแถลงการณ เหน็ เชงิ พเิ คราะหชอ ง คมดลประเทศฐาน พราหมณเวทอดุ ม ภเิ ผา มคธไกร ใหว ัลลภชน กราบทลู นฤบาล ถอดความไดว้ า่ ม่ือพิจารณาเหน็ ชอ งทางที่จะไดช ัยชนะอยา งงา ยดาย พราหมณผรู อบรู พระเวทก็ลอบสงขาว ใหคนสนทิ เดนิ ทางกลบั ไปยงั บานเมือง กราบทลู กษัตรยิ แ หงแควน มคธอนั ยงิ่ ใหญ
๓๐ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ แจง ลกั ษณสา สนวากษัตรยิ ใน วัชชีบรุ ไกร วลหลาตลอดกัน บดั น้สี กิ แ็ ตก คณะแผกและแยกพรรค ไปเ ปนสหฉัน ทเสมือนเสมอมา ถอดความไดว้ า่ แจงวา กษัตรยิ วัชชที กุ พระองคขณะนี้เกิดความแตกแยก แบง พรรคแบง พวก ไมสามัคคกี นั เหมือนแตเ ดมิ บทประพันธ์ ขณะไหนประหนงึ่ ครา กบ็ ไดส ะดวกดี อกาสเหมาะสมยั พยุหย าตรเสดจ็ กรี น้ีหากผิจะหา ริยยุทธโดยไวฯ ขอเชิญวรบาท ธาทัพพลพี ถอดความไดว้ า่ จะหาโอกาสอันเหมาะสมครง้ั ใดเหมอื นดังครง้ั นค้ี งจะไมมอี กี แลว ขอทลู เชิญพระองคย กกองทัพอนั ยิง่ ใหญมาทําสงครามโดยเร็ว เถิด
๓๑ ถอดคาํ ประพันธ์ วิชชมุ มาลาฉันท์ ๘ บทประพันธ์ ทราบถึงบดั ดล ชาวเวสาลี ขา วเศิกเอิกองึ ชนบทบูรี ในหมูผูคน หวาดกลัวท่ัวไป แทบทกุ ถิน่ หมด อกส่นั ขวญั หนี ถอดความไดว้ า่ ขา วศกึ แพรไ ปจนรูถึงชาวเมืองเวสาลี แทบทกุ คนในเมอื งตางตกใจ และหวาดกลัวกนั ไปทั่ว บทประพันธ์ หมดเลือดส่ันกาย วุนหวน่ั พรัน่ ใจ ตนื่ ตาหนาเผือด ซอนตัวแตกภยั หลบลีห้ นีตาย ทิ้งยานบานตน ซกุ ครอกซอกครวั เขาดงพงไพร ถอดความไดว้ า่ หนาตาตน่ื หนา ซีดไมมสี เี ลอื ด ตวั สัน่ พากันหนตี ายวุนวาย พากนั อพยพ ครอบครัวหนภี ยั ทิ้งบานเรอื นไปซมุ ซอ นตัวเสียในปา
ถอดคาํ ประพันธ์ ๓๒ บทประพันธ์ ชาวคามลาลาด ขนุ ดา นตาํ บล เหลอื จกั หามปราม คดิ ผนั ผอนปรน พันหวั หนา ราษฎร มาคธขามมา หารอื แกกนั จักไมใหพ ล ถอดความไดว้ า่ ไมส ามารถหามปรามชาวบานได หัวหนาราษฎรและนายดานตําบลตา ง ๆ ปรกึ ษากนั คิดจะยับยั้งไมใหก องทัพมคธขา มมาได บทประพันธ์ ปา วรอ งทันที รกุ เบยี นบฑี า จงึ่ ใหตีกลอง วชั ชีอาณา แจง ขา วไพรี ปอ งกันฉนั ใด เพือ่ หมภู ูมี ชุมนุมบัญชา ถอดความไดว้ า่ จงึ ตีกลองปา วรอ งแจง ขา วขาศกึ เขา รุกราน เพื่อใหเ หลากษตั ริยแ หงวชั ชี เสดจ็ มาประชุมหาหนทางปองกนั ประการใด
ถอดคาํ ประพันธ์ ๓๓ บทประพันธ์ ไปม ีสักองค เพือ่ จกั เสดจ็ ไป ราชาลจิ ฉวี เรียกนัดทาํ ไม อนั นกึ จํานง กลา หาญเห็นดี ตางองคดาํ รสั ใครเปนใหญใ คร ถอดความไดว้ า่ ไมมกี ษตั รยิ ล จิ ฉวีแมแ ตพระองคเ ดียวคดิ จะเสด็จไป แตล ะพระองคทรง ดํารัสวาจะเรียกประชมุ ดว ยเหตุใด ผใู ดเปน ใหญ ผใู ดกลาหาญ บทประพันธ์ ขัดขอ งขอไหน ตามเรือ่ งตามที เชิญเทอญทานตอง เปนใหญยงั มี ปรึกษาปราศรัย รกุ ปราศอาจหาญ สว นเราเลา ใช ใจอยางผภู ี ถอดความไดว้ า่ เห็นดปี ระการใดกเ็ ชิญเถดิ จะปรกึ ษาหารืออยา งไรก็ตามแตใ จ ตัวของเรา นั้นไมไดม อี าํ นาจยิง่ ใหญ จติ ใจก็ข้ีขลาด ไมอ งอาจกลาหาญ
ถอดคาํ ประพันธ์ ๓๔ บทประพันธ์ ความแขงอาํ นาจ แกง แยง โดยมาน ตางทรงสําแดง วชั ชีรัฐบาล สามัคคีขาด แมแตส ักองคฯ ภูมิศลจิ ฉวี บช มุ นมุ สมาน ถอดความไดว้ า่ แตล ะพระองคต า งแสดงอาการเพกิ เฉย ปราศจากความสามคั คีปรองดอง ในจิตใจ กษตั ริยลจิ ฉวีแหง วัชชไี มเ สดจ็ มาประชมุ กนั แมแ ตพระองคเ ดียว บทประพันธ์ ตยิ รชั ธํารง นคเรศวสิ าลี ปน เขตมคธขตั พิเคราะหเ หตณุ ธานี ยง้ั ทัพประทบั ตรง ขณะเศกิ ประชิดแดน ภธู รธสงั เกต แหง ราชวชั ชี ถอดความไดว้ า่ จอมกษัตริยแ หง แควนมคธหยุดทพั ตรงหนาเมอื งเวสาลี พระองคท รง สงั เกตวเิ คราะหเหตุการณท างเมืองวชั ชีในขณะที่ขาศกึ มาประชิดเมือง
๓๕ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ และมินกึ จะเกรงแกลน รณทัพระงับภยั เฉยดบู รสู กึ บมิทาํ ประการใด ฤๅคดิ จะตอบแทน บุรวา งและรา งคน นง่ิ เงียบสงบงาํ ปรากฏประหนึง่ ใน ถอดความไดว้ า่ ดูน่ิงเฉยไมรสู ึกเกรงกลัว หรือคดิ จะทําส่งิ ใดโตต อบระงับเหตรุ าย กลับอยอู ยา งสงบเงยี บไมทําการสงิ่ ใด มองดูราวกับเปน เมอื งรา ง ปราศจากผูคน บทประพันธ์ สยคงกระทบกล ลุกระนถี้ นัดตา แนโ ดยมพิ ักสง คิยพรรคพระราชา ทานวัสสการจน รจะพอ งอนัตถภ ัย ภนิ ทพัทธสามคั ชาวลจิ ฉววี า ถอดความไดว้ า่ แนนอนไมตองสงสัยเลยวาคงจะถกู กลอุบายของวัสสการพราหมณจ น เปน เชน น้ี ความสามัคคีผูกพนั แหงกษัตรยิ ล ิจฉวถี ูกทําลายลงและจะ ประสบกับภยั พบิ ตั ิ
๓๖ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ลกู ขางประดาทา รกกาลขวา งไป หมุนเลน สนุกไฉน ดุจกันฉะนน้ั หนอ ครูวัสสการแส กลแหยย ุดีพอ ปน ปว นบเหลอื หลอ จะมิรา วมิรานกัน ถอดความไดว้ า่ ลกู ขา งที่เดก็ ขวางเลนไดสนุกฉนั ใด วัสสการพราหมณกส็ ามารถยแุ หยให เหลา กษตั รยิ ลิจฉวแี ตกความสามัคคไี ดตามใจชอบและคิดทจ่ี ะสนกุ ฉนั น้นั บทประพันธ์ ธุระจบธจง่ึ บญั พทแกลวทหารหาญ ครัน้ ทรงพระปรารภ ฬคุ ะเนกะเกณฑการ ชานายนิกายสรร จรเขานครบร เรง ทําอฬุ มุ ปเ ว เพือ่ ขามนทีธาร ถอดความไดว้ า่ ครน้ั ทรงคดิ ไดด ังนั้นจึงมพี ระราชบญั ชาแกเหลาทหารหาญใหรบี สรา งแพไมไ ผ เพอื่ ขามแมน า้ํ จะเขา เมืองของฝายศัตรู พวกทหารรบั ราชโองการแลวก็ ปฏิบัติภารกิจที่ไดร บั
๓๗ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ อดศิ ูรบดศี ร ทิวรงุ สฤษฎ เขารบั พระบัณฑูร พยหุ าธทิ พั ขนั ธ ภาโรปกรณต อน พลขามณคงคา จอมนาถพระยาตรา โดยแพและพว งปน ถอดความไดว้ า่ ในตอนเชา งานนั้นกเ็ สรจ็ ทนั ที จอมกษัตรยิ เ คลอ่ื นกองทพั อันมีกําลังพล มากมายลงในแพทีต่ ิดกนั นํากาํ ลงั ขา มแมน้ํา บทประพันธ์ พศิ เนอื งขนดั คลา ลิบุเรศสะดวกดาย จนหมดพหลเน่อื ง ขนึ้ ฝง ลุเวสา ถอดความไดว้ า่ จนกองทัพหมดสิ้น มองดูแนนขนัด ขึน้ ฝงเมอื งเวสาลอี ยา งสะดวกสบาย
๓๘ ถอดคาํ ประพันธ์ จิตรปทาฉันท์ ๘ บทประพันธ์ นิวสิ าลี พลมากมาย นาครธา กล็ พุ นหมาย เห็นรปิ ุมี พระนครตน ขามตริ ชล มงุ จะทลาย ถอดความไดว้ า่ ฝายเมอื งเวสาลีมองเหน็ ขาศึกจาํ นวนมากขา มแมน ํ้ามาเพื่อจะทําลายลาง- บา นเมืองของตน บทประพันธ์ มนอกเตน ตะละผคู น ตา งกต็ ระหนก มจลาจล ต่ืนบมิเวน อลเวงไป ท่วั บุรคา เสียงอลวน ถอดความไดว้ า่ ตางกต็ ระหนกตกใจกนั ถว นหนา ในเมืองเกิดจลาจลวุนวายไปทว่ั เมือง
ถอดคาํ ประพันธ์ ๓๙ บทประพันธ์ มขุ มนตรี รกุ เภทภัย สรรพสกล ทรปราศรยั ตรอมมนภี ขณะนหี้ นอ บางคณะอา ยงั มิกระไร ถอดความไดว้ า่ ไขาราชการชั้นผูใหญตา งหวาดกลวั ภัย บางพวกกพ็ ูดวา ขณะน้ียังไมเปนไรหรอก บทประพันธ์ พระทวารม่นั ควรบรบิ าล ตานปะทะกัน อรกิ อ นพอ ขตั ตยิ รา ชสภารอ ดาํ ริจะขอ วรโองการ ถอดความไดว้ า่ ควรจะปอ งกนั ประตเู มืองเอาไวใหม นั่ คง ตา นทานขา ศึกเอาไวก อน รอใหท ปี่ ระชมุ เหลา กษัตริยมีความเหน็ วาจะทรงทาํ ประการใด
๔๐ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ ก็จะไดทํา ทรงตริไฉน โดยนยดํา รสั ภบู าล เสวกผอง กเ็ คาะกลองขาน อาณัตปิ าน ดุจกลองพัง ถอดความไดว้ า่ ก็จะไดด ําเนินการตามพระบญั ชาของพระองคเ หลาขา ราชการทง้ั หลายก็ ตีกลองสญั ญาณขึน้ ราวกบั กลองจะพัง บทประพันธ์ ประลโุ สตทาว ศัพทอุโฆษ ลจิ ฉวดี าว ขณะทรงฟง ตา งธก็เฉย และละเลยดงั ไทม อิ ินัง ธุระกบั ใคร ถอดความไดว้ า่ เสยี งดงั กึกกองไปถึงพระกรรณกษัตริยล ิจฉวตี างองคท รงเพกิ เฉยราวกับ ไมเอาใจใสในเรื่องราวของผูใด
ถอดคาํ ประพันธ์ ๔๑ บทประพันธ์ ณสภาคา ตา งก็บคลา แม้พระทวาร บรุ ทว่ั ไป รอบทศิ ดาน และทวารใด เหน็ นรไหน สิจะปด มี ถอดความไดว้ า่ ตา งองคไมเสด็จไปทป่ี ระชุม แมแตประตเู มืองรอบทศิ ทกุ บานกไ็ มม ผี ูใดปด สั ททูลวิกกี ิตฉันท์ ๑๙ บทประพันธ์ จอมทพั มาคธราษฎรธยาตรพยุหกรี ธาสูว สิ าลี นคร โดยทางอนั พระทวารเปดนรนิกร ฤๅรอตอรอน อะไร ถอดความไดว้ า่ จอมทัพแหงแควน มคธกรีธาทพั เขา เมืองเวสาลีทางประตเู มอื งที่เปดอยโู ดย ไมม ีผคู นหรือทหารตอสปู ระการใด
๔๒ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ เบื้องนน้ั ทา นครุ วุ ัสสการทชิ กไ็ ป นาํ ทัพชเนนทรไท มคธฃ เขาปราบลจิ ฉวขิ ัตตยิ รฐั ชนบท สูเ ง้ือมพระหตั ถหมด และโดย ถอดความไดว้ า่ ขณะนนั้ วัสสการพราหมณผ เู ปน อาจารยก ็ไปนาํ ทพั ของกษัตรยิ แ หง มคธเขา มาปราบกษัตริยลิจฉวี อาณาจักรทัง้ หมดก็ตกอยูในเงือ้ มพระหัตถ บทประพันธ์ ประยทุ ธ ณเดิม ไปพักตอ งจะกะเกณฑนกิ ายพหลโรย แรงเปลอื งระดมโปรย ราบคาบเสร็จธเสด็จลุราชคฤหอตุ คมเขตบเุ รศดจุ ถอดความไดว้ า่ โดยท่ีกองทพั ไมต อ งเปลืองแรงในการตอ สู ปราบราบคาบแลว เสด็จยงั ราชคฤหเมอื งย่ิงใหญดงั เดมิ
ถอดคาํ ประพันธ์ ๔๓ บทประพันธ์ ประสงค ตรดิ ู เรื่องตนยกุ ติกแ็ ตจะตอ พจนเติม ภาษิตลขิ ติ เสริม ปรุงโสตเปน คตสิ นุ ทราภรณจง จบั ขอ ประโยชนต รง ถอดความไดว้ า่ เนอื้ เรอื่ งแตเดมิ จบลงเพยี งน้ี แตประสงคจะแตง สภุ าษติ เพ่มิ เติมใหไดรบั ฟง เพอ่ื เปน คติอันทรงคณุ คา นําไปคดิ ไตรต รอง อินทรวิเชียร ฉันท์๑๑ บทประพันธ์ ชอชาตศตั รู อันภบู ดรี า ไดลจิ ฉวภี ู วประเทศสะดวกดี แลสรรพบรรดา วรราชวัชชี ถึงซ่ึงพบิ ัติบี ฑอนัตถพ ินาศหนา ถอดความไดว้ า่ พระเจาอชาตศัตรูไดแ ผน ดนิ วัชชีอยางสะดวก และกษตั ริยลิจฉวีทง้ั หลาย กถ็ งึ ซงึ่ ความพนิ าศลมจม
ถอดคาํ ประพันธ์ ๔๔ บทประพันธ์ คณะแตกและตางมา หสโทษพิโรธจอง เหย้ี มนนั้ เพราะผนั แผก ทนส้นิ บปรองดอง ถอื ทฐิ มิ านสา ตรมิ ลักประจักษเจือ แยกพรรคสมรรคภนิ ขาดญาณพจิ ารณตรอง ถอดความไดว้ า่ เหตุเพราะความแตกแยกกัน ตางกม็ คี วามยดึ มน่ั ในความคดิ ของตน ผูกโกรธซ่งึ กันและกัน ตา งแยกพรรค แตกสามคั คกี ัน ไมป รองดองกนั ขาดปญญาที่จะพิจารณาไตรตรอง บทประพันธ์ รสเลา กง็ า ยเหลอื คติโมหเปนมลู เชอ่ื อรรถยุบลเอา ยนภาวอาดูร เหตุหากธมากเมอื ยศศกั ดเิ สื่อมนาม จง่ึ ดาลประการหา เสยี แดนไผทสูญ ถอดความไดว้ า่ เชอื่ ถอยความของบรรดาพระโอรสอยา งงา ยดาย เหตุท่ีเปน เชนน้นั เพราะ กษตั รยิ แตล ะพระองคทรงมากไปดวยความหลง จงึ ทาํ ใหถ งึ ซึ่งความฉิบหาย มภี าวะความเปนอยอู ันทุกขระทม เสยี ทั้งแผน ดิน เกยี รติยศ และชอื่ เสยี งที่ เคยมีอยู
๔๕ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ คุรุวสั สการพราหมณ กลงาํ กระทาํ มา ควรชมนยิ มจดั พิเคราะหค ิดพินจิ ปรา เปนเอกอุบายงาม ธสุ มคั รภาพผล พุทธาทบิ ัณฑติ รภสรรเสรญิ สา ถอดความไดว้ า่ สวนวัสสการพราหมณนัน้ นาช่ืนชมอยางยงิ่ เพราะเปนเลศิ ในการกระทาํ กลอบุ ายผูรูท ้ังหลายมีพระพุทธเจา เปน ตน ไดใครค รวญพิจารณากลา ว สรรเสริญวา ชอบแลวในเรอ่ื งผลแหง ความพรอ มเพรียงกัน บทประพันธ์ สกุ ภาวมาดล บนริ าศนริ นั ดร วาอาจจะอวยผา คยพรรคสโมสร ดสี ูณหมตู น คณุ ไรไ ฉนดล หมใู ดผสิ ามคั ไปป ราศนิราศรอน ถอดความไดว้ า่ ความสามัคคอี าจอาํ นวยใหถ งึ ซึ่งสภาพแหงความผาสกุ ณ หมูของตนไม เสื่อมคลายตลอดไป หากหมูใดมีความสามคั คีรว มชมุ นุมกัน ไมห า งเหนิ กัน สง่ิ ท่ีไรป ระโยชนจะมาสไู ดอ ยางไร
๔๖ ถอดคาํ ประพันธ์ บทประพันธ์ พรอ มเพรยี งประเสริฐครัน เพราะฉะนั้นแหละบุคคล ผหู วังเจรญิ ตน ธรุ ะเกยี่ วกะหมูเขา พึงหมายสมัครเปน มขุ เปน ประธานเอา ธูรทวั่ ณตัวเรา บมิเห็นณฝา ยเดยี ว ถอดความไดว้ า่ ความพรอมเพรยี งนัน้ ประเสรฐิ ย่งิ นัก เพราะฉะน้ันบคุ คลใดหวังทจ่ี ะได รับความเจริญแหง ตนและมีกิจธุระอันเปน สว นรวม กพ็ งึ ตั้งใจเปน หัวหนาเอาเปนธุระดว ยตวั ของเราเองโดยมิเหน็ ประโยชนตนแตฝ า ยเดยี ว บทประพันธ์ นรอื่นก็แล มติ รภาพผดงุ ครอง ควรยกประโยชนย่ืน ทมผอ นผจงจอง ดูบา งและกลมเกลยี ว มนเมอื่ จะทําใด ยงั้ ทิฐมิ านหยอ น อารมี ิมีหมอง ถอดความไดว้ า่ ควรยกประโยชนใหบคุ คลอื่นบา ง นกึ ถงึ ผอู น่ื บาง ตอ งกลมเกลียว มคี วาม เปนมติ รกนั ไว ตอ งลดทิฐิมานะ รูจ กั ขม ใจ จะทาํ สงิ่ ใดก็เออ้ื เฟอ กันไมม ี ความบาดหมางใจ
Search