Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2561

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2561

Description: รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ปีการศึกษา 2561

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๐ กำหนดให้สถานศกึ ษาจัดสง่ รายงาน ผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด เป็นประจำทุกปีการศึกษา รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี เป็นภาพสะท้อนถึงคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา ท่ีเป็นผลมาจากการดำเนินงาน ทั้งหมดของสถานศึกษา ซึ่งครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามแผนพัฒนาสถานศึกษา และใชเ้ ปน็ แนวทางในการปรบั ปรุงและพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาในปตี อ่ ไป โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต สังกัดเทศบาลนครภูเก็ต ได้ดำเนินการประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน คุณภาพตามรายงานการประเมินตนเองฉบับน้ีมาเพ่ือเป็นข้อมูลในการกำหนดทิศทางและแนวทางในการพัฒนา คณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาในปตี ่อไป โรงเรยี นอนบุ าลเทศบาลนครภเู กต็

สารบัญ หน้า เรื่อง ๑ ๕ บทสรุปสำหรับผบู้ ริหาร ๓๔ ส่วนท่ี ๑ ข้อมลู พ้นื ฐาน ๗๐ ส่วนที่ ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา สว่ นที่ ๓ เอกสารประกอบการพิจารณา Best Practice ภาคผนวก

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 1 บทสรปุ สำหรับผู้บรหิ าร บทนำ ชื่อโรงเรียน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ตสถานท่ีตั้ง เลขที่ 454/2 ถนนภูเก็ต ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จงั หวัดภเู ก็ต รหัสไปรษณีย์ 83000 โทรศพั ท์ 0-7621-7653 โทรสาร 0-7621-7653 ตอ่ ๓ เวบ็ ไซต์ www.phuketkidsschool.ac.th [email protected] ช่อื ผู้อำนวยการสถานศึกษา นางภทั ทิรา สวุ รรณรัฐภมู ิ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๙ – ๘๗๓๕๓๙๔ จำนวนบุคลากร ๔๖ คน จำแนกเป็น ผู้บริหาร ๒ คน ข้าราชการ ๑๗ คน พนักงานจ้าง (ปฏิบัติหน้าที่สอน) ๑๑ คน พนักงานจ้าง (สนับสนุนการสอน) ๔ คน ครูพี่เล้ียง ๔ คน แม่ครัว ๔ คน ภารโรง ๑ คน แม่บ้าน ๑ คน และพนกั งานรกั ษาความปลอดภยั ๒ คน จำนวนนักเรยี น จำแนกเป็น อนบุ าล ๑ (๔ – ๕ ปี) จำนวน ๒๔๒ คน อนบุ าล ๒ (๕ – ๖ ปี) จำนวน ๒๗๕ คน รวมทง้ั ส้ิน จำนวน ๕๑๗ คน สภาพบริบทของโรงเรียน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ต้ังอยู่เลขท่ี 454/2 ถนนภูเก็ต ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต รหัสไปรษณีย์ 83000 โทรศัพท์ 0-7621-7653 มีเน้ือที่ทั้งหมด 2 ไร่ 3 งาน 68.7 ตารางวา สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นชุมชนเมืองค่อนข้างแออัด มีประชากร ประมาณ ๓,๐๐๐ คน บริเวณใกลเ้ คยี งโดยรอบโรงเรยี น ได้แก่ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว และชุมชนซอยต้นโพธ์ิ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษา ๑. ผลการจดั การศกึ ษาตามมาตรฐานสถานศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย มีนักเรียนชั้นอนุบาล ๑ – ๒ จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอ่ืน ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีเลิศ มีผลการดำเนนิ งาน ดงั ต่อไปนี้ เด็กมีพัฒนาการดา้ นร่างกายแข็งแรง มีน้ำหนกั และส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย เคลื่อนไหว ร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้ ใช้มือตาประสานสัมพันธ์กัน มีสุขนิสัยท่ีดี รับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ และด่ืมน้ำสะอาด ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากการใช้ห้องน้ำห้องส้วม นอนพักผ่อนเป็นเวลา ออกกำลังกายเป็นเวลา และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โดยเล่นและทำกิจกรรม อย่างปลอดภัย ผลการประเมินระดับ ๓ จำนวน ๔๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๖๕ สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนด และมีความพร้อมในการศึกษาตอ่ ระดับประถมศกึ ษา เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ โดยเป็นมีสุขภาพจิตดี และมคี วามสุข แสดงอารมณ์ตามความรู้สึกได้ กล้าพูดกล้าแสดงออก แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ ของตนเองและผู้อ่ืน ชื่นชมและแสดงออกผ่านงานศิลปะดนตรีและการเคลื่อนไหว มีคุณธรรมจริยธรรมและจิตใจ ที่ดีงาม ซื่อสัตย์สุจริต มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจช่วยเหลือแบ่งปัน แสดงสีหน้าที่ทางรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น และทำงานท่ีได้รับมอบหมายจนสำเร็จ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ๓ จำนวน ๔๘๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๒๐ สงู กวา่ เป้าหมายทีส่ ถานศกึ ษากำหนด และมคี วามพรอ้ มในการศึกษาตอ่ ระดบั ประถมศกึ ษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม โดยเด็กสามารถ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน แต่งตัวด้วยตนเอง รับประทานอาหารด้วยตนเอง ใช้ห้องน้ำ ห้ องส้วมด้วยตนเอง การมีวินั ย ใน ตนเอง เก็บ ของเล่น ของใช้เข้าที่ เข้าแถวตามลำดับ ก่อน ห ลัง ประหยัดและพอเพียงใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม ท้ิงขยะ ได้ถูกท่ี มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเป็นไทย การปฏิบัติตนตามมารยาท กล่าวคำขอบคุณ และขอโทษ หยุดยืนตรง เมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญพระบารมี อยู่ร่วมกับผู้อ่ืน และปฏิบัติตน เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับผู้อื่น มีส่วนรว่ มสร้างข้อตกลงและปฏิบัติข้อตกลง ปฏิบัติตนเป็นผู้นำ ผู้ตาม และประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ๓ จำนวน จำนวน ๔๙๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๕๕ สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนด และมีความพร้อม ในการศกึ ษาต่อระดับประถมศึกษา มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพ้นื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ เดก็ ใชภ้ าษา สื่อสารได้เหมาะสมกับวัย สามารถสนทนาโต้ตอบ และเล่าเร่ืองให้ผู้อื่นเข้าใจ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ พร้อมท้ังช้ี หรือกวาดตามองตามบรรทัด เขียนคล้ายตัวอักษร เขียนชื่อตนเองตามแบบ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน บอกส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง หรือความสัมพันธ์ของส่ิงต่าง ๆ จากการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส จับคู่เปรียบเทียบความแตกต่างและความเหมือนของส่ิงต่าง ๆ โดยใช้ลักษะที่สังเกตพบเป็นเกณฑ์ จำแนก และจัดกลุ่มส่ิงต่าง ๆ โดยใชต้ ้ังแต่ ๑ ลักษณะขีน้ ไปเปน็ เกณฑ์ เรียงลำดับส่ิงของและเหตุการณ์อย่างนอ้ ย ๕ ลำดับ อธิบายสาเหตุ และผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการกระทำ คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกิดขึ้น หรือมีส่วนร่วมในการ ลงความเห็นจากข้อมูล ตัดสินใจเร่ืองง่าย ๆ และยอมรับผลที่เกิดขึ้น ระบุปัญหาสร้างทางเลือกและวิธีแก้ปัญหา มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่าง ๆ ตามวิธีการของตนเอง ใช้ประโยคคำถาม ว่าเม่ือไร ทำไม อย่างไร ในการค้นหาคำตอบ ผลการประเมินระดับ ๓ จำนวน ๔๕๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๒๐ สูงกว่าเป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนด และมคี วามพรอ้ มในการศกึ ษาต่อระดับประถมศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยได้ดำเนินการ อย่างเป็นระบบโดยตระหนักถึงความสอดคล้องกับปรัชญา หลักการ และเป้าหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้เหมาะสมกับเด็ก สถานศึกษาและสภาพชุมชน บริบทท้องถ่ิน ทำให้สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และบรบิ ทของท้องถนิ่ ด้านการจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้มีการจัดครู ท่ีเหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ครูผู้สอนจบการศึกษาปฐมวัย มีการพัฒนาครูพี่เลี้ยงเกี่ยวกับ การดแู ลเดก็ ปฐมวัยอย่างตอ่ เนื่อง ส่งผลให้มีจำนวนครูเพยี งพอกับชัน้ เรียน ด้านการส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โรงเรียนอนุบาลเทศบาล นครภูเก็ต ได้มีการพัฒนาคุณภาพครูอย่างต่อเนื่อง โดยการส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมเกี่ยว กับปฐมวัย อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ครูมีความรคู้ วามสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการ จัดประสบการณ์และประเมินพัฒนาการเด็ก มีการออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการนิเทศ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PLC ครูนำองค์ความรู้ท่ีได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ ทางวชิ าชีพ PLC ไปใช้ในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 3 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต มีการจัด สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย มีการจัดสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้ มีการจัดให้มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีส่ือการเรียนรู้ สื่อวัสดุธรรมชาติ ส่ือเทคโนโลยี และได้กำหนดเป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา “สะอาดตา นา่ ดู น่าอยู่ นา่ เรยี น” การให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์และพัฒนาครู โดยกำหนดเป็นโครงการจัดซ้ือ จัดหา อุปกรณ์สื่อ เทคโนโลยี เพื่อการบริหารจัดการและการเรียนการสอน ส่งผลให้สถานศึกษามีการอำนวยความสะดวก และให้บริการสื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ วสั ดุ และอปุ กรณ์เพือ่ สนับสนุนการจัดประสบการณ์และพัฒนาครู มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม โรงเรียนอนุบาล เทศบาลนครภูเก็ต มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ท่ีสถานศึกษากำหนด ได้มีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดรับกับมาตรฐาน ที่สถานศึกษากำหนดและดำเนินการตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการติดตามผลการดำเนินและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาสถานศึกษาโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้หน่วยงานตน้ สังกดั ด้านการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ ครูผู้สอนมีการวเิ คราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา จัดประสบการณ์ทสี่ ่งเสรมิ พัฒนาการ เดก็ ครบทุกด้านอยา่ งสมดุล เต็มศักยภาพโดยความรว่ มมือของพ่อแม่และครอบครวั ชุมชนและผู้เก่ียวข้อง การสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข โรงเรียนอนุบาล เทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำกิจกรรม อย่างอิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารรถ ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย เดก็ ได้เลือกเรยี นรู้ ลงมือกระทำและสรา้ งองค์ความรูด้ ้วยตนเอง ในรูปแบบโครงการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ Project Approach นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องท่ีสนใจ อย่างลุม่ ลกึ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย โรงเรียนอนุบาลเทศบาล นครภูเก็ต ได้จัดห้องเรียนสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้ืนที่แสดงผลงานเด็ก พ้ืนที่สำหรับมุมเสริม ประสบการณ์ และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่นการตกแต่งป้ายชื่อมุม การเรียนรู้ เวรประจำวันดูแลความสะอาดของห้องเรียน ครูใช้ส่ือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เช่นคอมพิวเตอร์ เคร่อื งเลน่ วดี ีโอ โทรทศั น์ เปน็ สอื่ ในการจัดการเรียนรู้ การประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต มีการประเมิน พัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย มีการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยผู้ปกครองมีส่วนร่วม เช่นการประเมินแฟ้มสะสมผลงานนักเรียนโดยผู้ปกครอง นำผลการประเมินท่ีได้ ไปปรับปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 4 สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเกต็ ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ตามท่ีโรงเรียนโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๑ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเสนอต่อ สาธารณชน เพอ่ื นำไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพือ่ รองรบั การประเมินคุณภาพภายนอก บัดน้ีการดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรปุ ผลไดด้ งั นี้ ระดับการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก ยอดเย่ยี ม มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคัญ ดีเลศิ สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในระดบั การศึกษาปฐมวัย มรี ะดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 5 สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลพ้นื ฐาน ๑. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ช่อื โรงเรยี น ชื่อโรงเรยี น (ภาษาไทย) โรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ชอ่ื โรงเรยี น (ภาษาองั กฤษ) Phuket Municipal Kindergarten School อักษรย่อประจำโรงเรียน ท.ภก.๖ สถานท่ตี ง้ั เลขที่ 454/2 ถนนภเู ก็ต ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จงั หวดั ภเู ก็ต รหสั ไปรษณีย์ 83000 โทรศัพท์ 0-7621-7653โทรสาร 0-7621-7653 เวบ็ ไซต์ www.phuketkidsschool.ac.th [email protected] สปี ระจำโรงเรยี น ชมพู-เทา สีชมพู หมายถึง ความรัก ความสดชืน่ เบกิ บาน สีเทา หมายถึง สตปิ ญั ญาและความสามารถ สงั กัดเทศบาลนครภูเก็ต อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเก็ต เปดิ สอนระดับปฐมวัย 1.2 ประวตั ขิ องสถานศึกษา ส ภ าเท ศ บ าล น ค รภู เก็ ต ได้ มี ม ติ ใน ก ารป ระ ชุ ม ส มั ย ส ามั ญ ส มั ย ท่ี 1 6 /2 5 4 4 เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 2 สิงหาคม 2544 เห็นชอบให้จัดตั้งโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต (เทศบาล 6) เพอื่ รองรับการศึกษาระดับปฐมวยั (อายุ 3 - 6 ป)ี เมื่อวันท่ี 13 พฤศจิกายน 2549 ได้มีการประกาศจัดต้ังโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ตามประกาศเทศบาลนครภูเก็ตลงวนั ที่ 14 พฤศจกิ ายน 2549 ในปีงบประมาณ 2548 เทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 9,740,000 บาท เพ่ือก่อสร้างอาคารเรียน 1 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ัน 10 ห้องเรียน ส่งมอบอาคารเรียน เมื่อวันท่ี 26 มถิ ุนายน 2550 โรงเรียน อ นุ บ าล เท ศบ าล น ค รภู เก็ต ได้ เปิ ดก ารเรียน การส อน อย่างเป็ น ท างก าร ใน ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 1 เม่ื อ วั น ท่ี 1 2 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 5 1 โด ย ได้ มี ก า ร โอ น ย้ า ย นั ก เรี ย น และบุคลากร ระดับอนุบาลของโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว มาสังกัดโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ในขณะนั้นมีนกั เรยี น 8 ห้องเรียน จำนวน 324 คนครูและบคุ ลากร จำนวน 12 คน โดยมีนายวนิ ัย สุริยปราการ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ปีงบประมาณ 2557 เทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 25,800,000 บาท เพอื่ กอ่ สร้างอาคารเรียน 2 เปน็ อาคารคอนกรีตเสริมเหลก็ 3 ชนั้ ปีงบประมาณ 2558 เทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดสรรงบประมาณเป็นเงิน 33,350,000 บาท เพอ่ื กอ่ สรา้ งอาคารเรียน 3 เปน็ อาคารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก4 ช้นั 20 หอ้ งเรียน ปจั จุบนั มีห้องเรียนจำนวน 1๖ ห้อง นกั เรียนจำนวน ๕๑๗ คน ครแู ละบุคลากรจำนวน 4๖ คน ภายใต้การบริหารงานของ นางภัททิรา สวุ รรณรัฐภมู ิ ผู้อำนวยการสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 6 แผนผังบรเิ วณโรงเรียน แผนผงั ภายในสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 7 ทต่ี ง้ั สถานศกึ ษา โ ร ง เ รี ย น อ นุ บ า ล เ ท ศ บ า ล น ค ร ภู เ ก็ ต ต้ั ง อ ยู่ เ ล ข ที่ 454/2 ถ น น ภู เ ก็ ต ต ำบ ล ต ล าด ให ญ่ อ ำเภ อ เมื อ ง จั งห วัด ภู เก็ ต รหั ส ไป รษ ณี ย์ 83000 โท รศั พ ท์ 0-7621-7653 มีเน้ือท่ีท้ังหมด 2ไร่ 3 งาน 68.7 ตารางวา สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครภูเก็ต จัดการเรียนการสอน ในระดบั ปฐมวยั โดยใช้หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 25๖๐ อาณาเขต ตดิ บา้ นพักขา้ ราชการสำนักงานศลุ กากร จังหวดั ภเู กต็ ทิศเหนือ ห้องสมุดประชาชน เทศบาลนครภูเก็ต ทศิ ตะวนั ออก และศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กเทศบาลนครภูเกต็ 1 ตดิ ชมุ ชนซอยตน้ โพธ์ิ ทิศตะวันตก ติดชมุ ชนซอยต้นโพธิ์ ทศิ ใต้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 8 ขอ้ มูลอาคารเรยี น โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภูเกต็ มีอาคารเรยี นท้งั สิน้ 3 หลัง อาคารเรยี น 1 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น10ห้องเรียนงบประมาณ 9,740,000.- บาท สร้างเม่ือปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 ส่งมอบวันที่ 26 มิถุนายน 2550ใช้งานคร้ังแรกเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2551 ชัน้ ที่ ห้องท่ี ประโยชนใ์ ช้สอย ชนั้ เรียนทีใ่ ชส้ อย ช้นั 1 หอ้ งท่ี 1 (111) ร้านค้าสวัสดิการ อนบุ าล 2 และอนุบาล 3 ห้องท่ี 2 (112) หอ้ งพสั ดุ ชั้น 2 หอ้ งที่ 3 (113) ห้อง Cooking อนบุ าล 2 และอนุบาล 3 หอ้ งที่ 4 (114) หอ้ งเทคโนโลยที างการศึกษา อนบุ าล 2 และอนบุ าล 3 ห้องที่ 5 (115) หอ้ งนาฏศิลป์ อนุบาล 2 และอนุบาล 3 ห้องน้ำหอ้ งส้วม ส้วมชกั โครก 4 ที่ ผปู้ กครอง และบุคคลทวั่ ไป ทป่ี ัสสาวะชาย 1 ท่ี อา่ งลา้ งหนา้ แปรงฟัน ล้างหน้า แปรงฟนั อนุบาล 2 และอนุบาล 3 ก๊อก จำนวน 15 หวั กอ๊ ก หอ้ งท่ี 1 (121) ห้องดนตรี อนุบาล 2 และอนุบาล 3 หอ้ งที่ 2 (122) ห้องมัลติมีเดยี อนุบาล 2 และอนุบาล 3 หอ้ งท่ี 3 (122) หอ้ งวิทยาศาสตร์ อนุบาล 2 และอนบุ าล 3 ห้องท่ี 4 (123) หอ้ งพยาบาล อนบุ าล 2 และอนุบาล 3 หอ้ งที่ 5 (124) ห้องนาฏศลิ ป์โขน อนุบาล 2 และอนบุ าล 3

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 9 อาคารเรียน 2 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ช้ัน10 ห้องเรียนสร้างเมื่อปี พ.ศ.2557 เข้าใช้งาน เมอ่ื วนั ท่ี 9 พฤษภาคม 2558 ชัน้ ท่ี หอ้ งท่ี ประโยชนใ์ ชส้ อย ชัน้ เรียนทใ่ี ช้สอย ชัน้ 1 ห้องท่ี 1 (211) ห้องประกอบอาหาร ช้ัน 2 ห้องที่ 2 (212) ห้องศูนย์การเรียนร้ปู ฐมวยั อนบุ าล 2 และอนุบาล 3 ห้องท่ี 2 (213) หอ้ งสมดุ อนบุ าล 2 และอนุบาล 3 ชนั้ 3 ห้องท่ี 1 (221) หอ้ งเรียน อนบุ าล 3/1 ห้องที่ 2 (222) หอ้ งเรยี น อนุบาล 3/2 หอ้ งท่ี 3 (224) หอ้ งเรยี น อนุบาล 3/3 หอ้ งท่ี 4 (223) ห้องวชิ าการ หอ้ งที่ 5 (225) หอ้ งภาษาองั กฤษ อนุบาล 3 หอ้ งท่ี 1 (231) หอ้ งเรยี น อนุบาล 3/4 ห้องที่ 2 (232) ห้องเรยี น อนุบาล 3/5 ห้องที่ 3 (233) ห้องเรยี น อนบุ าล 3/6 ห้องที่ 4 (234) หอ้ งเรยี น อนบุ าล 3/7 ห้องที่ 5 (235) หอ้ งเรยี น อนบุ าล 3/8

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 10 อาคารเรียน 3 อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 ชั้น สร้างเม่ือปี พ.ศ.2559 เข้าใช้งานเมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม 2560 ชัน้ ที่ ห้องท่ี ประโยชน์ใช้สอย ชน้ั เรยี นที่ใช้สอย ชน้ั 1 หอ้ งที่ 1 (311) ห้องธุรการ ชนั้ 2 ห้องที่ 2 (312) หอ้ งประชมุ อนุบาล 2/1 ห้องที่ 1 (321) หอ้ งเรยี นอนุบาล อนุบาล 2/2 ชั้น 3 ห้องที่ 2 (322) ห้องเรยี นอนบุ าล อนุบาล 2/3 หอ้ งที่ 3 (323) หอ้ งเรียนอนุบาล อนบุ าล 2/4 ชนั้ 4 ห้องท่ี 4 (324) ห้องเรียนอนบุ าล อนุบาล 2/5 ห้องท่ี 1 (331) ห้องเรียนอนบุ าล อนุบาล 2/6 หอ้ งท่ี 2 (332) ห้องเรยี นอนบุ าล อนบุ าล 2/7 ห้องท่ี 3 (333) หอ้ งเรยี นอนุบาล อนุบาล 2/8 หอ้ งที่ 4 (334) หอ้ งเรยี นอนบุ าล อนุบาล 2 หอ้ งท่ี 1 (341) ห้องภาษาอังกฤษ ห้องที่ 2 (342) หอ้ งผอู้ ำนวยการ อนบุ าล 2 และอนุบาล 3 หอ้ งที่ 3 (343) ห้องคอมพวิ เตอร์ อนบุ าล 2 และอนบุ าล 3 ห้องที่ 4 (344) หอ้ ง DLTV

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 11 ๒. ข้อมลู ผ้บู ริหาร ๑) นางภัททิรา สุวรรณรัฐภูมิ ตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา วุฒกิ ารศึกษาสูงสุด ปริญญาครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๙ – ๘๗๓๕๓๙๔ e-mail [email protected] ดำรงตำแหนง่ ท่ีโรงเรยี นแห่งน้ีตั้งแตว่ นั ที่ ๒๙ เดือน ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๑ จนถึงปัจจุบัน เปน็ เวลา ๖ เดอื น ๒) นางสาวปาล์มวรรณ อินจันทร์ ตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ สาขาการบริหารการศึกษา โทรศัพท์ ๐๘๑ – ๕๓๘๐๗๕๙ e-mail [email protected] ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนแห่งนี้ต้ังแต่วนั ท่ี ๑๓ เดือน มกราคม พ.ศ.๒๕๕๕ จนถึงปจั จบุ นั เปน็ เวลา ๗ ปี ๔ เดือน ๓. ข้อมูลครแู ละบุคลากรสนบั สนนุ การสอน 3.1 ข้าราชการครู/พนกั งานครู ที่ ชื่อ – ชอื่ สกลุ อายุ อายุ ตำแหนง่ / วฒุ ิ วชิ าเอก สอนกลุม่ ภาระสอน จำนวนคร้ังและ ราชการ วทิ ยฐานะ สาระ (ชว่ั โมง/ ชว่ั โมงท่เี ข้ารบั การพฒั นา/ การเรียนรู้ สปั ดาห์) ปปี ัจจุบัน ๑ นางสาวจันทนา ทรพั ย์เจริญวงศ์ 60 ปี 21 ปี ชำนาญการ ศษ.บ. ปฐมวยั ศกึ ษา ปฐมวยั ๒๐ ๘/๙๐ พเิ ศษ ๘/๙๐ ๒ นางสาวแววเดือน ชยั วิเศษ 46 ปี 14 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวยั ๒๐ ๑๒/๑๐๙ พเิ ศษ ๖/๗๐ ๓ นางพวงศรี แซต่ ัน 42 ปี 14 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๙/๑๐๕ พเิ ศษ ๘/๙๐ ๙/๑๐๕ ๔ นางสณุ ยี ์ จงจำรญู ศกั ด์ิ 57 ปี 13 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๘/๙๐ ๙/๑๐๔ พเิ ศษ ๑๐/๑๐๐ ๙/๑๐๔ ๕ นางจรรจรุ ยี ์ คล้ายเถาว์ 42 ปี 15 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวัย ๒๐ ๙/๙๐ ๙/๙๖ ๖ นางสาวจุรี ไสยรนิ ทร์ 56 ปี 21 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศึกษานอกระบบ ปฐมวยั ๒๐ ๙/๑๐๔ ๙/๑๑๘ ๗ นางสาวคนั ธารัตน์ ช่วยเมอื ง 42 ปี 16 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวยั ๒๐ ๙/๑๐๔ ๘ นางจติ รา แจง้ จุล 42 ปี 19 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๓/๒๒ ๙ นางสาวนิภาพร ในรัมย์ 40 ปี 14 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๑๐ นางชฎาพร ทวสิ ุวรรณ 42 ปี 14 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวยั ๒๐ ๑๑ นางสาวกาญจนา สงวนงาม 41 ปี 14 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๑๒ นางวนิดา พลเยี่ยม 42 ปี 14 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๑๓ นางสาวอำมร บุญรงั ษี 53 ปี 14 ปี ชำนาญการ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวัย ๒๐ ๑๔ นางสาวนัยนา ปลอดบุตร 36 ปี 12 ปี - ค.บ. การศึกษาปฐมวยั ปฐมวัย ๒๐ ๑๕ นางสาวขนิษฐา เชาว์สมชาติ 37 ปี 12 ปี - ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวยั ๒๐ ๑๖ ว่าท่ี ร.ต.หญิงสุพตั รา กแู หม 27 ปี 1 ปี - ค.บ. ภาษาองั กฤษ ปฐมวัย ๒๐ 3 เดือน ๑๗ นางสาวปัทมา ปาเนาะ 28 ปี 6 เดอื น - ศษ.บ. เทคโนโลสารสนเทศ ปฐมวยั ๘ และการประเมนิ ผล การศกึ ษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 12 3.2 พนกั งานจ้าง (ปฏิบตั ิหน้าที่สอน) สอนกลุ่ม ภาระงาน จำนวน ที่ ชื่อ – ชอื่ สกลุ อายุ อายุ วฒุ ิ สาขาวิชา สาระ จา้ งดว้ ยเงนิ สอน ช่วั โมง งาน การเรยี นร/ู้ (ชวั่ โมง/ ทเ่ี ข้ารบั สัปดาห)์ การพฒั นา ช้ัน (ปีปจั จบุ ัน) ๑ นางสาวสุกฤตา ศรโี ลธร ๔๑ ๕ ค.บ. การศึกษาปฐมวัย ปฐมวยั รายไดเ้ ทศบาล ๒๐ ๗/๗๖ ๒ นายพรี ะพล ศรีธรรม ๒๖ ๓ ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา ปฐมวยั รายได้เทศบาล ๘ ๘/๘๔ ๓ นางสาววรกานต์ รฐั การ 24 1 ปรญิ ญาตรี ภาษาอังกฤษ ปฐมวยั รายไดส้ ถานศกึ ษา ๒๐ ๖/๗๐ ๔ นายเอกกจิ ภมู่ าลี 52 2 ศบ. ศกึ ษาศาสตรบ์ ัณฑติ โขน รายไดส้ ถานศกึ ษา ๑๖ ๕/๕๖ ๕ นางสาวกญั ญา แสงอรณุ 28 2 ศษ.บ. นาฏศิลป์ไทยศกึ ษา นาฏศิลป์ รายไดส้ ถานศึกษา ๑๖ ๖/๗๐ ๖ Mr.Thomas Richard ๓๙ ๓ ศษ.บ ออกแบบภายใน ภาษาองั กฤษ รายได้เทศบาล / ๒๐ ๒/๓ Gilbey รายได้สถานศึกษา และเทคโนโลยี ๗ Mr.Stanley James ๖๒ ๔ วท.บ. คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ รายได้เทศบาล / ๒๐ ๒/๓ Thomson รายไดส้ ถานศึกษา ๘ Miss.Barili Greta ๔๒ ๑ ศษ.บ. เทคโนโลยีด้าน ภาษาอังกฤษ รายไดเ้ ทศบาล / ๒๐ ๒/๓ รายไดส้ ถานศกึ ษา การทอ่ งเที่ยว ๙ Miss.Marietta Rehak ๔๔ ๒ ศษ.บ. ประวัตศิ าสตร์ ภาษาอังกฤษ รายไดเ้ ทศบาล / ๒๐ ๒/๓ รายไดส้ ถานศึกษา ๑๐ นายวัชรินทร์ พลู ศิลป์ ๓๓ ๒ ศษ.บ. ดนตรีสากล ดนตรี รายได้สถานศึกษา ๒๔ ๑/๓ ๑๑ นางสาวนฤทยั บุญเวช ๓๓ ๒ ศษ.บ. ดนตรี ดนตรี รายได้สถานศกึ ษา ๒๔ ๑/๓ 3.3 พนักงานจ้าง (สนบั สนุนการสอน) ท่ี ชื่อ – ชอ่ื สกลุ อายุ ตำแหน่ง วฒุ ิ สาขา ปฏบิ ัติหนา้ ท่ี จ้างด้วยเงิน เงินรายได้เทศบาล ๑ นางสาวอัญชลี ล่มิ ศลิ า 33 เจา้ หน้าทกี่ ารเงิน ปริญญาตรี บรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ การเงิน เงนิ รายไดเ้ ทศบาล รายได้สถานศกึ ษา ๒ นางสาวยพุ ิน ทองใหม่ 48 เจา้ หน้าทีพ่ สั ดุ ปวช. คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ พัสดุ รายไดส้ ถานศกึ ษา ๓ นางสาวกิตยิ า คงใหม่ 28 เจ้าหนา้ ท่ีธรุ การ ปรญิ ญาตรี รัฐประศาสนศ์ าสตร์ ธุรการ จา้ งด้วยเงิน รายไดส้ ถานศึกษา ๔ นางสาวรงุ้ ทพิ ย์ ชยั ฤทธิพงศ์ 25 เจ้าหนา้ ทธี่ รุ การ ปรญิ ญาตรี ภาษาองั กฤษ ธรุ การ รายไดส้ ถานศกึ ษา รายไดส้ ถานศกึ ษา 3.๔ พนักงานจา้ ง (ครพู ่ีเล้ยี ง) รายไดส้ ถานศกึ ษา ท่ี ชอื่ – ชอ่ื สกลุ อายุ ตำแหน่ง วฒุ ิ สาขา ปฏิบัตหิ นา้ ท่ี จ้างด้วยเงิน ครูพเี่ ล้ียง ปริญญาตรี การศึกษาปฐมวยั ครพู ี่เลี้ยง เงนิ รายได้เทศบาล ๑ นางรัตนาวดี หม่นื ปราบ ๖๑ ครพู ่เี ลย้ี ง ปริญญาตรี การศกึ ษาปฐมวัย ครพู ี่เล้ียง รายได้สถานศกึ ษา ครพู ่เี ลย้ี ง อนุปริญญา ครูพี่เลีย้ ง รายไดส้ ถานศึกษา ๒ นางวไิ ล ธรรมกีรตวิ งศ์ ๖๑ ครูพ่ีเลี้ยง ปฐมวยั ศกึ ษา ครพู เ่ี ลยี้ ง รายได้สถานศกึ ษา ปวช. การบญั ชี รายไดส้ ถานศกึ ษา ๓ นางสาวเขมนจิ ละมา้ ย 34 รายไดส้ ถานศึกษา เงินรายไดเ้ ทศบาล ๔ น.ส.กมลชนก วรพทิ ยาภรณ์ 30 เงินรายได้เทศบาล 3.๕ พนักงานจา้ ง (แม่ครัว / ภารโรง / แม่บา้ น / รปภ.) ที่ ชื่อ – ชือ่ สกลุ อายุ ตำแหน่ง วฒุ ิ สาขา ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ป.6 - แม่ครัว ๑ นางสาวอุษา จนิ ดา 45 หัวหน้าแม่ครงั ป.4 - แม่ครวั ป.4 - แม่ครวั ๒ นางบัวลอย นจิ พันโธ 56 ผชู้ ว่ ยแมค่ รวั ม.6 - แม่ครวั ม.3 - นกั การภารโรง ๓ นางบุญยงิ่ แซ่ตัน 69 ผชู้ ่วยแมค่ รวั ป.4 - แมบ่ ้าน ม.๓ - รักษาความปลอดภยั ๔ นางศรัยฉตั ร คงพิบลู ย์ 56 ผชู้ ว่ ยแมค่ รัว ป.๖ - รักษาความปลอดภยั ๕ นางวิลาวรรณ ชุมจันทร์ 52 ภารโรง ๖ นางบญุ พานี แซต่ นั 62 แมบ่ ้าน ๗ นายสุพรรณ พวงผกา ๕๔ เจ้าหน้าทีรักษา ความปลอดภยั ๘ นายจำรัส แซเ่ ต่อ ๕๗ เจ้าหน้าทรี ักษา ความปลอดภัย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 13 3.๖ สรปุ จำนวนบคุ ลากร 3.๖.1 จำนวนบคุ ลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหนง่ และวุฒิการศกึ ษา ประเภท/ตำแหน่ง จำนวนบคุ ลากร (คน) รวม ต่ำกวา่ ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก ๑ ปริญญาตรี ๑ - ๒ 1. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา - - ๑๗ - ผอู้ ำนวยการ - -๑ ๑๑ - ๒๘ - รองผู้อำนวยการ -๑- - - ๔ รวม - ๑ ๑ ๔ - ๔ 2. สายงานการสอน - ๑ - ๑ - ขา้ ราชการ/พนกั งานครู - ๑๗ - - ๒ - ๑๖ - พนกั งานจ้าง(สอน) - ๑๑ - - ๔๖ - รวม - ๒๘ - - 3. สายงานสนบั สนนุ การสอน - ธุรการ / การเงิน / พสั ดุ ๑ ๓ - - ครูพ่เี ลย้ี ง ๒๒ - - แมค่ รัว ๔- - - ภารโรง ๑- - - แมบ่ ้าน ๑- - - เจา้ หน้าทรี่ กั ษาความปลอดภยั ๒ - - รวม ๑๑ ๕ - รวมท้ังสิ้น ๑๑ ๓๔ ๑ แผนภมู ิแส งรอ้ ยล องวุ ิการศกึ ษาสูงสุ อง ุ ลากร 2.18% 23.91% ตา่ กว่าปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท 73.91%

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 14 แผนภมู แิ ส งร้อยล อง ุ ลากรจาแนกตามปร ภทตาแหนง่ 4.35% 34.78% บู รหิ ารสถานศกึ ษา สายงานการสอน สายงานสนบั สนนุ การส 3.2 จำนวนครูจำแนกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 60.87% กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จำนวน คิดเป็นร้อยละ จำนวนชั่วโมงสอนเฉลยี่ ๑๐๐ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ปฐมวัย ๒๐ 100 รวมครผู ูส้ อนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๒๐ ของครภู ายในกลมุ่ สาระฯ ๒๐ ๒๐ แผนภูมแิ ส งรอ้ ยล อง ุ ลากรจาแนกตามกลมุ่ สาร การ รยนรู้ ป มวยั 100.00%

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 15 4. ขอ้ มูลนกั เรียน 4.1 จำนวนนกั เรียนในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 256๑ ทงั้ สิ้น ๕๑๗ คน จำแนกตามระดบั ชน้ั ทเี่ ปิดสอน ระดบั ชนั้ เรยี น จำนวนหอ้ ง เพศ รวม จำนวนเฉล่ยี ชาย หญงิ ตอ่ หอ้ ง อ.๑ (๔ – ๕ ขวบ) ๘ ๑๑๙ ๑๒๓ ๒๔๒ ๓๐.๒๕ อ.๒ (๕ – ๖ ขวบ) ๘ ๑๔๕ ๑๓๐ ๒๗๕ ๓๔.๓๘ รวมท้ังสิ้น ๑๖ ๒๖๔ ๒๕๓ ๕๑๗ ๓๒.๓๒ จำนวนเดก็ พเิ ศษในโรงเรียน ชาย - คน หญิง - คน รวม จำนวน - คน อตั ราสว่ นนกั เรียน : ครูระดบั อนุบาล = ๑ : ๑๙ เปน็ ไปตามเกณฑ์  ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ 4.2 จำนวนนกั เรยี น เปรยี บเทยี บ 3 ปีการศกึ ษาย้อนหลัง ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑ ปรย ทย จานวนนกั รยนร ั ันอนุ าล ปการศึกษา ปี ก ศ ปี ก ศ ปี กศ 275 อนุ าล 218 อนุ าล 211 242 219 208

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 16 5. ข้อมูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในระดบั สถานศกึ ษา (ปีท่ผี า่ นมา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐) 5.1 ระดับการศึกษาปฐมวัย ผลพฒั นาการเด็กระดับช้นั อนุบาลปีที่ 1 จำนวน สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการ สรุป เด็ก ระดับ ระดบั ชนั้ ทป่ี ระเมิน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ดา้ น ดา้ น รวม ค่าเฉลย่ี คุณภาพ จิตใจ สังคม สตปิ ญั ญา พฒั นาการ ค่าเฉล่ีย คา่ เฉลยี่ ค่าเฉลย่ี คา่ เฉล่ยี ๒ ๓ ช้ันอนุบาลปีที่ 1/1 ๓๐ ๒.๘๐ ๒.๔๓ ๒.๓๐ ๒.๑๕ ๙.๖๘ ๒.๔๒ ๓ ๓ ชน้ั อนุบาลปที ี่ 1/2 ๒๖ ๒.๖๕ ๒.๖๕ ๒.๖๒ ๒.๑๓ ๑๐.๐๕ ๒.๕๑ ๓ ๓ ชน้ั อนุบาลปที ี่ 1/๓ ๒๘ ๒.๘๙ ๒.๔๓ ๒.๖๘ ๒.๑๔ ๑๐.๑๔ ๒.๕๔ ๓ ชน้ั อนุบาลปีท่ี 1/๔ ๒๖ ๒.๖๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๔๕ ๑๑.๐๕ ๒.๗๖ ๓ ชั้นอนุบาลปที ่ี 1/๕ ๒๗ ๓.๐๐ ๒.๙๖ ๓.๐๐ ๒.๙๒ ๑๑.๘๘ ๒.๙๗ ชั้นอนบุ าลปที ี่ 1/๖ ๒๘ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๙๖ ๒.๔๑ ๑๑.๓๗ ๑.๘๔ ชั้นอนุบาลปีท่ี 1/๗ ๒๙ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ชัน้ อนบุ าลปีท่ี 1/๘ ๒๕ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ รวม ๒๑๙ ๒๒.๙๔ ๒๒.๔๗ ๒๒.๕๖ ๒๐.๒๐ ๘๘.๑๗ ๒๒.๐๔ ค่าเฉลี่ย ๒.๘๗ ๒.๘๑ ๒.๘๒ ๒.๕๓ ๑๑.๐๒ ๒.๗๖ สรปุ ระดบั คณุ ภาพ ๓ ๓ ๓๓ สรุปพัฒนาการ ๓ ๓ ๓๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 17 ผลพฒั นาการเด็กระดับช้นั อนุบาลปที ่ี 2 จำนวน สรุปผลการประเมินพฒั นาการ สรุป เดก็ ระดบั ระดับชั้น ทป่ี ระเมนิ ดา้ นร่างกาย ด้านอารมณ์ ดา้ น ด้าน รวม คา่ เฉล่ยี คณุ ภาพ จติ ใจ สงั คม สติปญั ญา พัฒนาการ คา่ เฉลีย่ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ค่าเฉลยี่ ค่าเฉล่ีย คา่ เฉลยี่ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๒/1 ๓๒ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๑.๔๗ ๒.๘๗ ๓ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๒/2 ๓๔ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๒.๖๕ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ชั้นอนบุ าลปีที่ ๒/๓ ๓๒ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๑๒.๐๐ ๘๓.๔๗ ๓ ๓.๐๐ ๒.๙๘ ชนั้ อนุบาลปีที่ ๒/๔ ๓๒ ๒.๙๑ ๓.๐๐ ๒.๙๑ ๒๐.๖๕ ๓ ๒.๙๕ ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๒/๕ ๓๒ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ช้นั อนุบาลปีท่ี ๒/๖ ๓๓ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓ ชนั้ อนุบาลปีท่ี ๒/๗ ๒๓ ๓.๐๐ ๓.๐๐ ๓.๐๐ รวม ๒๑๘ ๒๐.๙๑ ๒๑.๐๐ ๒๐.๙๑ ค่าเฉลย่ี ๒.๙๙ ๓.๐๐ ๒.๙๙ สรปุ ระดบั คุณภาพ ๓๓๓ สรุปพฒั นาการ ๓๓๓

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 18 ๕.๒ ขอ้ มูลนกั เรียนด้านอ่ืนๆ จำนวน คิดเปน็ (คน) รอ้ ยละ* ท่ี รายการ ๔๗๗ ๙๒.๒๖ ๑. จำนวนนักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ รวมทั้งรู้จัก ๕๑๗ ๑๐๐ ดแู ลตนเองให้มีความปลอดภยั ๐ ๐ ๒. จำนวนนกั เรียนท่ีปลอดจากปญั หาทางเพศ ยาเสพติด และสิ่งมอมเมา เช่น สุรา บุหร่ี ๔๐ ๗.๗๔ เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ ๓๕๖ ๖๘.๘๖ ๐ ๓. จำนวนนักเรยี นทม่ี คี วามบกพร่องทางรา่ งกาย/เรยี นร่วม ๐ ๐ ๔. จำนวนนักเรยี นมภี าวะทุพโภชนาการ ๐ ๐ ๕. จำนวนนักเรียนท่มี ปี ัญญาเลิศ ๐ ๐ ๖. จำนวนนกั เรยี นที่ตอ้ งการความชว่ ยเหลือเป็นพิเศษ ๕๑๗ ๐ ๗. จำนวนนกั เรยี นท่ีออกกลางคัน (ปกี ารศึกษาปัจจบุ นั ) ๕๑๗ ๑๐๐ ๘. จำนวนนกั เรียนทม่ี เี วลาเรียนไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ๑๐๐ ๙. จำนวนนกั เรยี นทเ่ี รยี นซำ้ ชนั้ ๕๑๗ ๑๐. จำนวนนักเรยี นท่ีจบหลักสตู รปฐมวยั ๕๑๗ ๑๐๐ ๑๑. จำนวนนักเรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ กีฬา ๕๑๗ ๑๐๐ ๕๑๗ ๑๐๐ และนันทนาการ ทงั้ ในและนอกหลกั สูตร ๑๐๐ ๑๒. จำนวนนักเรยี นท่มี คี ณุ ลักษณะเป็นลกู ทด่ี ีของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ๑๓. จำนวนนักเรยี นทมี่ ีคณุ ลกั ษณะเป็นนักเรยี นทด่ี ขี องโรงเรียน ๑๔. จำนวนนักเรียนท่ที ำกจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชนต์ ่อสงั คมทั้งในและนอกโรงเรียน ๑๕. จำนวนนักเรียนท่ีมีบันทึกการเรียนรู้จากการอ่าน และบั นทึกการสืบค้น จากเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งสม่ำเสมอ ๖. ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี จำนวน ที่ รายการ ๓ หลัง ๑. อาคารเรยี น ๑ หลัง ๒. ห้องนำ้ /หอ้ งสว้ ม (มหี อ้ งนำ้ – ห้องสว้ มในห้องเรยี นทกุ ห้องและแยกเอกเทศ) ๑ สนาม ๓. สนามเด็กเลน่ ๗. ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๗.1 สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นชุมชนเมืองค่อนข้างแออัด มีประชากร ประมาณ ๓,๐๐๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว และชุมชน ซอยต้นโพธ์ิ อาชีพหลักของชุมชน คือ รับจ้าง และค้าขายทั่วไป ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถ่นิ ท่เี ปน็ ท่ีรจู้ ักโดยทวั่ ไป คอื ประเพณถี อื ศลี กินผกั และประเพณีพ้อตอ่ ๗.๒ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษา อาชีพหลกั คือ รับจ้าง สว่ นใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี ๗๒,๐๐๐ บาท ๗.๓ โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรยี น โอกาสของสถานศึกษากับความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ของชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นจุดศึกษา ใหก้ บั โรงเรยี นตลอดจนรว่ มกนั พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ข้อจำกัดของสถานศึกษากับความร่วมมือของชุมชน ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง และค้าขายทั่วไป การใหค้ วามรว่ มมอื กับสถานศึกษาจึงมขี ้อจำกัดด้านเวลา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 19 ๘. โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ โดยโรงเรียนได้จัดสดั สว่ นสาระการเรยี นรู้ และเวลาเรียน ดังแสดงในตาราง สัปดาห์ท่ี กล่มุ การเรยี นรู้ หนว่ ย ระยะเวลาในการจัด ประสบการณ์ ๑ – ๑๐ เรื่องราวเกยี่ วกบั ตวั เด็ก แรกรับประทบั ใจ ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วัน) ร่างกายของฉนั ๑ สปั ดาห์ (๕ วนั ) ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วนั ) หนนู อ้ ยน่ารกั ๒ สัปดาห์ (๑๐ วนั ) ๑ สปั ดาห์ (๕ วนั ) กนิ ดี อยเู่ ป็น เล่นอย่างสร้างสรรค์ ๑ สัปดาห์ (๕ วัน) ๑ สัปดาห์ (๕ วัน) ขยบั กายสบายชวี ี ๑ สปั ดาห์ (๕ วนั ) ๑ สัปดาห์ (๕ วัน) หนนู อ้ ยอุ่นรัก ๑ สัปดาห์ (๕ วัน) ๑ สปั ดาห์ (๕ วนั ) หนูนอ้ ยนา่ รกั ๒ สัปดาห์ (๑๐ วนั ) ๑ สัปดาห์ (๕ วนั ) ๑๑ – ๒๐ เร่ืองราวเก่ียวกับบุคคล โรงเรยี นของฉนั ๓ สัปดาห์ (๑๕ วัน) ๖ สปั ดาห์ (๓๐ วนั ) และสถานท่ีแวดลอ้ มเด็ก บ้านเรอื นคียงกนั ๒ สปั ดาห์ (๑๐ วนั ) ๑ สัปดาห์ (๕ วนั ) ชุมชนนา่ อยู่ ๑ สปั ดาห์ (๕ วัน) ๑ สปั ดาห์ (๕ วนั ) ไข่มุกอนั ดามัน สวรรคเ์ มืองใต้ ๓ สปั ดาห์ (๑๕ วัน) ๑ สัปดาห์ (๕ วัน) อาเซียนร่วมใจ ๑ สปั ดาห์ (๕วนั ) ๑ สปั ดาห์ (๕ วัน) อาชีพในฝัน ๓ สปั ดาห์ (๑๕ วัน) Project Approach ครัง้ ที่ ๑ ๒๑ – ๒๘ ธรรมชาตริ อบตวั ธรรมชาตแิ สนมหศั จรรย์ ฤดูกาลหรรษา ๒๙ – ๔๐ สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเดก็ ไทยแลนดแ์ ดนสมายด์ ถนนสขี าว หนูน้อยนักสมั ผัส สาระแห่งสีสนั สร้างฝันนกั คดิ การสื่อสารไร้พรมแดน หนนู ้อยพอเพียง อะ๊ อะ๊ ตาวเิ ศษเหน็ นะ Project Approach ครัง้ ที่ ๒ หมายเหตุ ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ สามารถยืดหยุ่นลำดับที่ และเวลาในการจัดประสบการณ์หรือหน่วย การเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ รวมเวลาในการจัดประสบการณ์ท้ังส้ิน ๓๖ สัปดาห์ โดยสัปดาห์ที่ ๑ เป็นการเตรียม ความพร้อมและปรับพฤติกรรมเด็ก โดยให้ผู้ปกครองนำนักเรียนมาสร้างความคุ้นเคยกับโรงเรียน ซึ่งเป็นส่ิงแวดล้อมใหม่ของผู้เรียน สวนสัปดาห์ท่ี ๓๗ – ๔๐ เป็นสัปดาห์นำเสนอผลงานตามรูปแบบ การจัดกิจกรรมแบบโครงการ (ระยะสรุปและนำเสนอผลงาน และช่วงเตรียมการวัดและประเมินพัฒนาการเด็ก เพอื่ เตรยี มรายงานตอ่ ผู้บรหิ ารและผปู้ กครอง)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 20 สั ส่วน วลาในการจั กิจกรรมในแต่ล วนั จำนวนชว่ั โมงท่ีจัดกิจกรรม กิจกรรมประจำวัน อนบุ าล ๑ อนุบาล ๒ หมายเหตุ เทอม ๑ เทอม ๒ เทอม ๑ เทอม ๒ หอง หอง หอง หอง หอง หอง หอง หอง ปกติ IEP ปกติ IEP ปกติ IEP ปกติ IEP ๑ กิจกรรมพืน้ านดานการ ๐ ๕ ๐ ๕ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ การพัฒนาพื้น าน เคลอ่ื นไหวร่างกาย พัฒนากลามเนือ้ ดานสังคมศึกษาเพื่อ มดั ใหญ่ กลามเน้ือมัดเล็ก ส ร างร อ ย ต่ อ ป ๑ ๒ กิจกรรมพัฒนาอารมณ์-จติ ใจ และปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ๑๕ ๑ ๑ ๐๕ ๑ ๐๕ ๑ ๐๕ กลุ่มสาระสังคม และการพฒั นาสงั คมนสิ ัย ๒ เพิ่มวิทยาศาสตร์ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เพื่อสรางรอยต่อ ป ๑ ๓ กิจกรรมการเรยี นรแู บบสะเต็ม ๑ ๑ ๕ ๑ ๕ ๑ ๑ ๑ ๕ ๑ ๕ ๒ ก ลุ่ ม ส า ร ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ศึกษา การเรยี นรูแบบโครงงาน Project Approach คณติ ศาสตร์ แ ล ะ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ๔ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรูภาษา ๑ ๑๕ ๑ ๒ ๑ ๑๕ ๑๕ ๒ อนุบาล ๒ เทอม ๒ แบบสมดลุ ภาษา ๓ จั ด กิ จ ก ร ร ม ๕ กจิ กรรมอนรุ ักษ์ความเป็นไทย เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม ๑ ๐ ๕ ๑ ๐ ๕ ๑ ๐ ๕ ๑ ๐ ๕ พั ฒ น า ก า ร ด า น ๖ ภมู ิคุมกนั ชวี ิต และเทคโนโลยี ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ภาษาไทย องั กฤษ จีน ๗ นอนพกั อ่ นและกิจวตั รประจำวนั ๑ ๑ ๐ ๕ ๑ ๑ ๑ - - เพอ่ื สรางรอยต่อ ป ๑ ๔ เพ่ิมเติมส่งเสริม ส า ร ะ เท ค โน โล ยี เพ่ือสรางรอยต่อ ป ๑ (ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร ง า น อาชพี และเทคโนโลยี รวมชว่ั โมง ๗ ๗ ๗๗๗ ๗ ๗ ๗ จากตารางจะเห็นว่า การจัดกิจกรรม ๔ กลุ่มสาระ จะต้องส่งเสริมให้กับเด็กทุกคน ซงึ่ มรี ายละเอยี ดของกจิ กรรมต่าง ๆ ที่กล่าวมา ดงั น้ี ๑. กิจกรรมพื้นฐานด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย พัฒนากล้ามเน้ือมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ถือเป็นกิจกรรมท่ตี ้องจัดให้เด็กในแต่ละวัน เชน่ กิจกรรมกลางแจง้ กจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ ๒. กิจกรรมพัฒนาอารมณ์ – จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม และการพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการปลูกฝังให้เด็กมีความรู้สึกท่ีดีต่อตนเอง และผู้อื่น มีความเช่ือม่ัน กล้าแสดงออก มีวินัยในตนเอง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟ้ือ แบ่งปัน มีมารยาท และปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมไทย และศาสนาทน่ี บั ถือ ๓. กิจกรรมเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เป็นการพัฒนาให้เด็ก ได้มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ความคิดรวบยอด ทางคณิตศาสตร์ และมีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 21 ๙. แหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ๙.๑ ห้องสมุดมีพ้ืนท่ีขนาด ๗๒ ตารางเมตร หนังสือในห้องสมุดมีจำนวน ๒๘๐ เล่ม มีวารสาร/ หนังสือพิมพ์ มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้บริการสืบค้นเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุด จำนวน ๑ เคร่ือง มีจำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุด (ในปีการศึกษาที่รายงาน) เฉล่ีย ๙๐ คน ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๔๐ ของนักเรียนทั้งหมด โรงเรียนจัดมุมหนังสือนิทานไว้บริการนักเรียนทุกห้องเรียน ขนาดพื้นท่ีสำหรับจัดมุม หนังสือในห้องเรียน มีพื้นท่ีห้องเรียนละ ๔ ตารางเมตร จำนวน ๑๖ ห้องเรียน หนังสือในมุมหนังสือ ทุกห้องเรียน จำนวน ๔,๘๐๐ เล่ม มีนักเรียนเข้าใช้มุมหนังสือ เฉลี่ย ๕๑๗ คนต่อวัน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียนท้ังหมด บริการให้นักเรียนและผู้ปกครองสามารถยืมหนังสือนิทานกลับบ้าน อย่างน้อยคนละ ๑ เล่มต่อสัปดาห์ และมีตะกร้าหนังสือคืนความรู้สู่ชุมชนไว้บริการสำหรับผู้ปกครองท่ีมานั่งรอรับนักเรียน หลังเลกิ เรียน มีผปู้ กครองมาใชบ้ รกิ ารเฉลย่ี ๕๐ คนตอ่ วนั ๙.๒ หอ้ งปฏบิ ัติการทั้งหมด ๗ หอ้ ง จำแนกเป็น 1) หอ้ งดนตรี จำนวน ๑ ห้อง 2) ห้องนาฏศิลป์ จำนวน ๑ หอ้ ง 3) ห้องโขน จำนวน ๑ หอ้ ง 4) ห้องศูนย์การเรยี นรู้นักเรียนระดบั ปฐมวัย จำนวน ๑ ห้อง 5) หอ้ งสมุด จำนวน ๑ ห้อง 6) ห้องภาษาองั กฤษ จำนวน ๔ หอ้ ง 7) ห้องคอมพวิ เตอร์ จำนวน ๑ ห้อง ๙.๓ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ทั้งหมด จำนวน ๔๒ เครอื่ ง จำแนกเป็น 1) ใช้เพ่อื การเรียนการสอน จำนวน ๓๐ เคร่อื ง ๒) ใชเ้ พอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารสถานศกึ ษา จำนวน ๑๒ เครื่อง แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน สถติ ิการใช้ จำนวนคร้งั /ปี ที่ ชื่อแหลง่ เรียนรู้ ๖๔๐ ๑. ห้องศนู ย์การเรียนรนู้ กั เรยี นระดบั ปฐมวยั ๒๐๐ ๒. มมุ หนังสอื ๖๔๐ ๓. ห้องสมดุ ๑,๙๒๐ ๔. หอ้ งภาษาองั กฤษ ๒๐๐ ๕ หอ้ งนาฏศิลป์ ๒๐๐ ๖. ห้องโขน ๖๔๐ ๗. หอ้ งดนตรี ๑๒๘ ๘. ศูนยน์ ำ้ – ศูนยท์ ราย ๖๔๐ ๙. สนามเด็กเลน่

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 22 ๙.๔ แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรียน สถติ กิ ารใช้ จำนวนคร้ัง/ปี ที่ ช่อื แหลง่ เรยี นรู้ ๑ ๑. ชมุ ชนยา่ นเมืองเก่า ถนนถลาง ๑ ๒. พิพธิ ภณั ฑภ์ เู กต็ ไทยหัว ๑ ๓. พิพธิ ภัณฑเ์ พอรานากนั นิทศั น์ ๑ ๔. วดั ไชยธาราราม (วัดฉลอง) ๑ ๕. สถานแสดงพันธ์ุสตั วน์ ำ้ ภูเก็ต ๑ ๖. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้เพือ่ การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบชมุ ชนบ้านกกู้ ู ๑ ๗. ไรว่ านชิ ๑ ๘. ห้างสรรพสนิ ค้าบก๊ิ ซภี ูเก็ต ๑ ๙. ปา่ ชายเลนคลองมดุ ง ตำบลวิชิต ๑ ๑๐. ศาลเจ้าพ้อต่อกง๊ บางเหนียว ๑ ๑๑. สวนสาธารณสะพานหนิ ๑ ๑๒. หาดในหาน จังหวัดภูเกต็ ๑ ๑๓. ศูนย์การค้าเซนทรลั ภเู ก็ต ๙.๕ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวฒุ ิ วทิ ยากร ท่ีสถานศกึ ษาเชิญมาให้ความรูแ้ ก่ครู นักเรยี น ที่ ช่ือ-สกลุ ให้ความรู้เรือ่ ง จำนวนครงั้ /ปี ๑. นางนิตยา แซต่ นั ขนมเตา่ “อง่ั กู๊” ๑ ๒. นางกรองทอง ธรรมประดิษฐ์ ขนมเต่า “อง่ั กู๊” ๑ ๓. นางสาวศรัญญา แสงใหญ่ ขนมเตา่ “อัง่ กู๊” ๑ ๔. นายสำราญ เพชรเศษ อาชีพในฝัน “ทหาร” ๑ ๕. ด.ต.อฒั ภรณ์ จนั โท อาชพี ในฝัน “ตำรวจ” ๑ ๖. ด.ต.สมศกั ดิ์ ถาวรนุรักษ์ อาชพี ในฝนั “ตำรวจ” ๑ ๗. นางสาวกลุ ยา ชตุ ิมาธกิ ุล อาชีพในฝัน “พยาบาล” ๑ ๘. นางสาวชตุ มิ า หมัดอะดมั อาชีพในฝัน “พยาบาล” ๑ ๙. ส.ต.ต.กรเฉลิม สจุ รติ ธรรม อาชพี ในฝัน “ตำรวจ” ๑ ๙. นายมนู แสนพล อาชพี ในฝนั “นักวาดภาพ” ๑ ๑๐. น.ส.ศรัญญา แสงใหญ่ อาชีพในฝัน “ไกด์” ๑ ๑๑. นายนที แสงใหญ่ อาชพี ในฝัน “วิศวกรเคร่อื งบิน” ๑ ๑๒. จ.อ.กฤตชย สุทธิรกั ษ์ อาชพี ในฝนั “ทหาร” ๑ ๑๓. งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย การป้องกันอัคคภี ัยในสถานศึกษา ๑

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 23 ผลงานดีเด่นในรอบปที ผี่ า่ นมา 1๐.1 ผลงานดีเดน่ ประเภท ระดบั รางวัล/ชือ่ รางวลั ทไี่ ด้รบั /วันทีไ่ ดร้ บั หน่วยงานทใ่ี ห้ นกั เรยี น รางวลั ชนะเลิศ กรมสง่ เสริมการปกครอง 1. เดก็ ชายศักดิ์นฤน อินทรคุ้ม จากการแขง่ ขันเดนิ ตวั หนอนระดับปฐมวยั ท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย 2. เด็กชายสุทธวิ ฒั น์ สอสกลุ ในงานมหกรรมการจดั การศึกษาท้องถ่นิ 3. เดก็ ชายโกศล วชิรสกุลวงศ์ ระดับประเทศ ประจำปี 256๑ คณะศิลปะศาสตร์ 4. เดก็ ชายชวโรจน์ ไปยา “นครภเู กต็ วิชาการ” ณ จังหวัดภูเก็ต มหาวทิ ยาลยั สยาม 5. เด็กชายกิตตธิ ัช แซ่ท่อง กรงุ เทพฯ 6. เด็กชายพงศภคั บานเยน็ รางวลั ชนะเลศิ เทศบาลนครสงขลา 7. เดก็ ชายณัฐพงศ์ ย้มิ แกว้ จากการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ Wings 8. เดก็ ชายโชคดี ขนุ ทองพุ่ม Musical Storytelling Contest เทศบาลนครสงขลา 9. เด็กชายศุภสิน เงนิ แทง่ ระดับปฐมวยั ณ มหาวิทยาลัยสยาม 10. เด็กชายณฐั กร ยุคุณธร กรงุ เทพมหานคร 11. เด็กหญงิ ณรพิ ร ฤทธิชยั นกั เรียน ๑. เด็กหญงิ นรารัตน์ เวชสทิ ธิ์ ๒. เด็กหญงิ ณฏั ฐณชิ า รตั นส์ ราภรณ์ ๓. เด็กชายธรรศ พมิ พ์หาญ ๔. เด็กหญงิ ลภัสรดา นีรขันธ์ นักเรียน รางวัลชนะเลศิ ๑ เด็กชายธนกฤต คำออ่ น จากการแข่งขนั โครงงานระดับปฐมวยั ๒ เดก็ หญงิ พิชญนันท์ มุ่งดี ในงานมหกรรมการจัดการศึกษาทอ้ งถ่ิน ๓ เด็กชายรัชชานนท์ แซล่ ่ิม ระดับภาคใต้ ครั้งท่ี 1๔ ประจำปี 256๑ “สมิหลาวชิ าการ” ณ จังหวัดสงขลา นักเรียน ๑.เดก็ หญิงณรพิ ร ฤทธิชัย รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2 ๒.เดก็ ชายสุทธิวฒั น์ สอสกลุ จากการแขง่ ขนั เดนิ ตัวหนอนระดับปฐมวัย ๓.เด็กชายศักดิ์นฤน อนิ ทรคมุ ในงานมหกรรมการจัดการศึกษาทอ้ งถน่ิ ๔.เดก็ ชายศุภสิน เงนิ แท่ง ระดับภาคใต้ ครง้ั ท่ี 1๔ ประจำปี 256๑ ๕.เดก็ ชายกิตติธชั แซท่ อ่ ง “สมหิ ลาวิชาการ” ณ จังหวัดสงขลา ๖.เดก็ ชายโกศล วชริ สกลุ วงศ์ ๗.เดก็ ชายพงศภัค บานเย็น ๘.เด็กชายณั พงศ์ ยิ้มแกว ๙.เดก็ ชายณั กร ยุคุณธร 10.เดก็ ชายอทิ มิ ล วจิ ิตรเจรญิ กลุ 11.เด็กชายชวโรจน์ ไปยา 12.เดก็ ชายขจรศักดิ์ ชาวดง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 24 ประเภท ระดับรางวัล/ชอ่ื รางวลั ทไี่ ด้รับ/วันท่ไี ดร้ ับ หน่วยงานที่ให้ นักเรียน รางวัลเหรยี ญทอง เทศบาลนครสงขลา 1.เดก็ หญงิ อรกาญ ชยั ปรดี า จากการแข่งขันเริงเลน่ เต้นแดนเซอร์ 2.เด็กหญิงณชั ณิชา ขอกิตติไพบลู ย์ ระดบั ปฐมวยั 3.เดก็ หญิงลภสั รดา แสงใหญ่ งานมหกรรมการจัดการศึกษาท้องถิน่ 4.เด็กหญงิ กลั ยารตั น์ รอดงาน ระดับภาคใต้ ครง้ั ที่ 1๔ ประจำปี 5.เด็กหญงิ กมลทิพย์ สุวรรณมณี 256๑ “สมหิ ลาวชิ าการ” 6.เดก็ หญงิ นรารตั น์ เวชสทิ ธ์ิ ณ จงั หวัดสงขลา 7.เดก็ หญิงพชิ ามญชุ์ โคตรธรรม 8.เด็กหญงิ มณฑกาญจน์ หม่ันกจิ รางวลั เหรียญทอง เทศบาลนครสงขลา 9.เด็กหญงิ รสกิ านต์ อนันทรงั สรรค์ จากการแข่งขันการต่อเลโกส้ รา้ สรรค์ ๑๐. เด็กหญงิ รตั นาพร ฝายแก้ว ระดับปฐมวัย จงั หวัดภูเกต็ ๑๑. เด็กหญงิ เปรมฤดี ไม้แพ งานมหกรรมการจดั การศึกษาทอ้ งถิน่ เทศบาลนครภเู ก็ต ๑๒.เด็กหญิงรนิ รดา แก้วระคน ระดับภาคใต้ ครงั้ ที่ 1๔ ประจำปี นักเรียน 256๑ “สมหิ ลาวิชาการ” 1.เด็กชายฐานวฒั น์ อินทร์ประหยดั ณ จังหวัดสงขลา 2.เดก็ หญงิ กันต์สนิ ี จนั ทร์ตระกลู 3.เดก็ ชายโพธวิ ฒั น์ โกยธนาคม รางวลั ชนะเลิศ การประกวดหนูน้อยนพมาศ นักเรียน เน่ืองในวันลอยกระทง จังหวัดภเู กต็ ๑. เด็กหญิงรสกิ านต์ อนันทรังสรรค์ ประจำปี ๒๕๖๑ นกั เรียน รางวลั ชนะเลิศ ๑. เด็กชายณฐั พงศ์ เบ็ญหมาด จากการแข่งขนั เดินตัวหนอนระดบั ๒. เดก็ ชายธนพัฒน์ สอสกุล ปฐมวยั สงั กัดเทศบาลนครภูเกต็ ๓. เดก็ ชายเธียรชานนท์ เลศิ ธนนั เวทย์ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ๔. เดก็ ชายพงศ์ปณต เกิดคง ๕. เดก็ ชายรัชชานนท์ เกบ็ ทรพั ย์ ๖. เดก็ ชายสรุ บถ ครรชิตพงษา ๗. เด็กชายอติวิชญ์ แซ่ซอื่ ๘. เดก็ หญงิ ปฐมพร จิตคง ๙. เด็กชายปราเมศ แซต่ ัน ๑๐.เด็กชายภาสกร อัตตะพันธ์ ๑๑.เดก็ หญิงลลั ลาลลิ ล์ รตั นธำมรงค์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 25 ประเภท ระดับรางวัล/ช่อื รางวัลท่ีได้รบั /วันที่ไดร้ บั หนว่ ยงานท่ใี ห้ นักเรยี น รางวลั ชนะเลศิ เทศบาลนครภูเก็ต 1. เดก็ ชายณัฐวรรธน์ เอย่ี มสิน 2. เด็กหญงิ กมลสริ ิ ต้ือหลา้ จากการแขง่ ขันโครงงานระดับปฐมวัย 3. เดก็ หญิงณชิ าภา ภัทรกจิ เจริญ นักเรียน สงั กัดเทศบาลนครภเู กต็ ๑. เดก็ หญงิ พรรณรมล เส้นต้ัน ๒. เด็กหญิงพิชญา ยุคนธร ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ๓. เด็กหญิงวชริ ญาณ์ เพชรสงค์ ๔. เดก็ หญงิ แพรววนตั พฤกษารักษ์ รางวัลชนะเลศิ เทศบาลนครภเู ก็ต ๕. เด็กหญิงนุชนพิน ศุภรนมิ ิตโยธิน ๖. เดก็ หญิงพสั จ์พสิ สรา ใจสมทุ ร จากการแขง่ ขนั เริงเล่นเต้นแดนเซอร์ ๗. เดก็ หญงิ ณชิ กมล ฟุ้งเหียน ๘. เดก็ ชายชนกันต์ ยคุ นธร ระดับปฐมวัย สงั กดั เทศบาลนครภเู ก็ต ๙. เด็กชายปวรรจุ ยุคนธร ๑๐.เดก็ หญงิ ศศิวิมล แซเ่ อียบ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ๑๑.เด็กหญิงณชิ า เพ่อื นรักษ์ นักเรียน รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๑ เทศบาลนครภูเก็ต ๑. เด็กชายภูเบศ สุคนั ธรส ๒. เดก็ ชายธนวรรธน์ ทองแทง่ จากการแขง่ ขันการต่อเลโก้ ๓. เดก็ หญิงเกวลี ถนอมวงศ์ สรา้ งสรรค์ ระดับปฐมวัย สังกัด นกั เรียน ๑. เด็กหญิงจุฑามาศ สงทิพย์ เทศบาลนครภูเก็ต ๒. เดก็ หญิงปวีร์นชุ ลายสนธิ์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๑ นกั เรยี น ๑. เดก็ หญิงอภิชญา เสาวนา รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ ๑ เทศบาลนครภูเก็ต ๒. เดก็ หญงิ ลภสั รดา ขวญั หยดุ ๓. เดก็ หญงิ กลุ พชั ร สายทอง จากการแขง่ ขนั วาดภาพระบายสี ระดับปฐมวัย สงั กดั เทศบาลนครภเู กต็ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ ๒ เทศบาลนครภเู ก็ต จากการแข่งขันการสรา้ งภาพดว้ ยการ ฉีกตัดปะ ระดบั ปฐมวยั สงั กัดเทศบาลนครภูเก็ต ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 26 1๐.2 งาน/โครงการ/กิจกรรม/ผลงานท่ปี ระสบผลสำเรจ็ จนได้รับการยอมรับ หรอื เป็นตัวอย่างการปฏิบัติ ท่ี ช่ือ อธิบายตัวบ่งชีค้ วามสำเร็จ หรอื ระดบั ความสำเร็จ งาน/โครงการ/กจิ กรรม/ฯลฯ 1. ครูมที กั ษะในการจัดการเรียนรู้ 1 โครงการอบรมพฒั นารูปแบบการจดั ประสบการณ์ แบบ Project Approach สามารถ ออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเรยี นรแู้ บบ Project Approach ในชั้นเรยี น ไปบูรณาการสหู่ น่วยการเรียนรู้ท่สี อดคล้อง กบั หลกั สูตรสถานศึกษา ปฐมวยั 2. ครู ร้อยละ ๑๐๐ สามารถนำเสนอวิธปี ฏิบตั ิ ที่ดีเก่ยี วกบั การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ แบบ Project Approach ผา่ นกจิ กรรม OPEN HOUSE 3. เกิดชมุ ชนการเรียนรู้เชงิ วิชาชีพร่วมกัน ในโรงเรียน 4. นักเรียนมที ักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ (ชา่ งสงั เกต ชา่ งคดิ ช่างถาม และหาคำตอบ) 5. นกั เรยี นระดับอนุบาล 2 ได้รับรางวัล ชนะเลิศ เหรียญทอง อนั ดับ 1 จากการแข่งขนั โครงงานปฐมวยั ในการจัด การศกึ ษาท้องถน่ิ ระดับภาคใต้ ครง้ั ท่ี 1๔ ประจำปี 256๑ “สมิหลาวชิ าการ” ณ จังหวัดสงขลา ประกอบด้วย 1. เดก็ หญิงพิชญนันท์ ม่งุ ดี 2. เด็กชายธนกฤต คำอ่อน 3. เดก็ ชายรชั ชานนท์ แซ่ล่ิม ฝกึ ซอ้ มโดย 1. นางชฎาพร ทวิสวุ รรณ ครู คศ.2 2. นางสาวคนั ธารตั น์ ชว่ ยเมอื ง ครู คศ.๒ ๓. วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ สพุ ตั รา กแู หม ครูผชู้ ่วย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 27 ๑๐.๓ โครงการ/กิจกรรมพิเศษ ท่ีดำเนินการตามนโยบายชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จุดเน้น แนวทางการปฏิรูป การศกึ ษา ฯลฯ ได้แก่ 1. นโยบายดา้ นความมัน่ คง แนวทางหลกั : พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน : เนน้ การเรียนการสอน เพ่ือเกิดความ ปรองดอง ความสามัคคเี พื่อนชว่ ยเพื่อนโดยใชร้ ปู แบบ Active Learning โดยใช้โครงการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน (Project Approach) รูปแบบการเรียน การสอนแบบโครงการ (Project Approach) เป็นรูปแบบหน่ึงท่ีน่าสนใจ และได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะในการจัดการเรียนการสอน ในระดับการศึกษาปฐมวัย ได้มีการนำรูปแบบนี้มาปรับใช้อย่างกว้างขวางท้ังในโรงเรียนรัฐและเอกชน เพราะเป็นการเรียนรู้อย่างลุ่มลึก สืบค้นเร่ืองราวต่าง ๆ ตามที่ผู้เรียนสนใจ อีกท้ังเป็นการตอบสนองต่อ ธรรมชาติความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก ความสนใจใคร่รู้ และสนองต่อการเรียนรู้แบบลงมือกระทำโดย เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง ซึ่งทั้งหมดถือเป็นหลักการทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็กปฐมวัย อย่างเหมาะสม และรูปแบบการเรียนการสอนน้ียังเป็นพื้นฐานสำคัญของการเตรียมความพร้อมเด็ก สู่ความเปน็ เลิศดา้ นวิทยาศาสตร์ได้อกี ดว้ ย 2. นโยบายด้านดา้ นการผลิต พฒั นากำลงั คนและสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั แนวทางทางหลัก : ผลติ พฒั นากำลงั คนและงานวิจัยทีส่ อดคลอ้ งกับการพฒั นาประเทศ 2.1 การยกระดบั มาตรฐาน พัฒนาหลกั สตู ร สอื่ และครดู ้านภาษา 2.1.1 พฒั นาวชิ าภาษาองั กฤษในสถานศึกษา ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ และระบบการส่ือสารมีการเปล่ียนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว การเจริญเติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศจากนานาประเทศเร่ิมเข้าสู่ประเทศไทย และสารสนเทศ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นภาษาสากล ระบบการศึกษาไทยจึงควรพัฒนาให้คนไทย มคี วามสามารถในการใช้ภาองั กฤษเพ่ือใหส้ ามารถสื่อสารไดเ้ ทา่ เทยี มกบั อารยประเทศ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต เล็งเห็นความสำคัญของการใช้ภาษาอังกฤษในปัจจุบัน จึงมีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบเข้มข้นในสถานศึกษา โดยพิจารณาให้นักเรียนที่มีความสามารถ พิเศษด้านภาษาอังกฤษ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรม มีการจัดการเรียนรู้ท่ีเปลี่ยนแปลงนำไปสู่การ แข่งขันในระดับต่างๆ ภาษาอังกฤษซ่ึงเป็นภาษาสากล จึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างมาก การพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร จึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับจังหวัดภูเก็ตในยุค ปัจจุบัน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเกต็ สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครภูเก็ต เป็นโรงเรียนระดับ ปฐมวัย ขนาดใหญ่ จัดการศึกษาให้แก่นักเรียนชั้นอนุบาล ๑ และอนุบาล ๒ (อายุ ๔ – ๖ ปี) ในเขตบริการ ตำบลตลาดใหญ่ และตำบลตลาดเหนือ อำเภอเมือง จงั หวดั ภูเก็ต ในปีการศึกษา ๒๕6๑ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต มีนโยบายเปิดการเรียนการสอน โครงการโรงเรียนสองภาษา (Intensive English Program) จำนวน 2 ห้อง คือ ชั้นอนุบาล ๑ จำนวน ๑ ห้อง จำนวนนักเรียน ๒๙ คน และอนุบาล ๒ จำนวน ๑ ห้อง จำนวนนักเรียน 2๑ คน รวมจำนวนนักเรียนท้ังส้ิน 5๐ คน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 28 ๑๑. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาในปที ี่ผา่ นมา ปีการศึกษา ๒๕๖๐ 1๑.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี ค่าเฉลยี่ ระดับ สรุปผลการ คุณภาพ ประเมนิ มาตรฐานดา้ นปัจจัยทางการศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ ๔.๕๐ ดเี ยยี่ ม ได้มาตรฐาน การเรยี นร้ทู ่เี น้นเดก็ เป็นสำคญั มาตรฐานที่ ๒ ผู้บริหารสถานศึกษา มีคุณ ธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ ๔.๕๐ ดีเยี่ยม ได้มาตรฐาน และมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๓ สถานศึกษามีจำนวนเด็กมี ทรัพยากร และสภาพแวดล้อมท่ีสง่ เสริม ๔.๐๐ ดีมาก ไดม้ าตรฐาน สนับสนนุ ให้ เปน็ สังคมแหง่ การเรียนรู้ มาตรฐานดา้ นกระบวนการทางการศึกษา มาตรฐานที่ ๔ สถานศึกษาดำเนินการบรหิ ารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน ๔.๐๐ ดมี าก ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานที่ ๕ สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยท่เี น้นเดก็ เปน็ สำคัญ ๔.๕๐ ดีเยี่ยม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๖ สถานศึกษาสนับสนนุ การใชแ้ หล่งเรยี นรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ๔.๐๐ ดมี าก ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๗ สถานศึกษาจัดระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ๔.๕๐ ดเี ยีย่ ม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษาพัฒนาตามนโยบาย และแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔.๕๐ ดีเย่ยี ม ไดม้ าตรฐาน ที่เปน็ มาตรการเสรมิ เพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษาให้สงู ขนึ้ มาตรฐานด้านผลผลิตทางการศึกษา ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๙ เด็กมพี ัฒนาการดา้ นร่างกายเหมาะสมตามวยั ๕.๐๐ ดเี ยย่ี ม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๐ เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณแ์ ละจิตใจเหมาะสมตามวยั ๕.๐๐ ดีเยี่ยม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๑ เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสังคม เหมาะสมตามวัย ๕.๐๐ ดีเยี่ยม ได้มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ๑๒ เด็กมีพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญาเหมาะสมตามวยั ๕.๐๐ ดเี ยย่ี ม ไดม้ าตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษาบรรลุผลตามเป้าหมาย ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ และจุดเน้น ๕.๐๐ ดเี ยี่ยม ได้มาตรฐาน มาตรฐานที่ ๑๔ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเด็กมีคุณ ภาพเป็นท่ียอมรั บ ๔.๕๐ ดเี ยย่ี ม ไดม้ าตรฐาน ของผปู้ กครองและชมุ ชน ค่าเฉล่ยี รวม ๔.๕๗ ดเี ย่ยี ม ไดม้ าตรฐาน สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในระดับการศกึ ษาปฐมวัย • คา่ เฉล่ียรวมผลการประเมนิ คุณภาพ เทา่ กบั ๔.๕๗ มีคุณภาพระดบั ดเี ยย่ี ม การรบั รองมาตรฐานการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา • มีค่าเฉลีย่ ผลประเมนิ คุณภาพ เพราะผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์และองิ สถานศึกษา  ใช่ ❑ ไม่ใช่ มคี า่ เฉลยี่ ตง้ั แต่ 3.00 ข้ึนไป • มีคา่ เฉลยี่ ของผลประเมินในระดับดขี ึน้ ไปไม่ตำ่ กว่า 11 มาตรฐาน  ใช่ ❑ ไมใ่ ช่ • ไมม่ ผี ลประเมินคณุ ภาพของมาตรฐานอยู่ในระดับปรับปรงุ  ใช่ ❑ ไมใ่ ช่ สรุปว่า ผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวม  ได้ ❑ ไม่ได้ มาตรฐานคุณภาพขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 29 จดุ เด่น ๑. บุคลากรจบการศึกษาระดับปริญญาตรีดา้ นการศกึ ษาปฐมวัย มีคณุ วฒุ ติ รงตามงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ๒. นกั เรียนมสี ขุ นสิ ัย สุขภาพทางกาย และสุขภาพจติ ดี ๓. นักเรยี นมคี วามสามารถดา้ นศิลปะ ดนตรี และกีฬา และมีความกลา้ แสดงออก ๔. บคุ ลากรไดร้ ับการพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง ๕. มอี าคารสถานท่ีเอื้อต่อการจดั การเรียนร้รู ะดบั ปฐมวยั จดุ ทค่ี วรพฒั นา ๑. พฒั นานกั เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร ๒ ภาษา ๒. พัฒนานกั เรยี นให้มีทักษะในการว่ายน้ำ ๓. พัฒนานักเรียนให้มีสขุ ภาวะสมวัย ๔. บุคลากรขาดทักษะ ความชำนาญในการใชส้ ่ือเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ข้อเสนอแนะ ๑. จดั กิจกรรมใหนักเรียนสามารถส่อื สารได ๒ ภาษา ๒. จัดกิจกรรมส่งเสริมใหนักเรียนมีพัฒนาการครบทุกดาน คือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสตปิ ัญญา โดย า่ นประสาทสมั สั ทั้ง ๕ ๓. จดั กจิ กรรมใหนกั เรียนมีสขุ ภาวะสมวัย ๔. จดั กิจกรรมสง่ เสริมนกั เรยี นตามศกั ยภาพ ดานคอมพวิ เตอร์ วิทยาศาสตร์ และการแสดงออก เป็นตน ๕. จัดกิจกรรมส่งเสริมดานวิชาการแก่นักเรียนที่มีความพรอม และซ่อมเสริมนักเรียน ท่ีมีความบกพร่อง ดานพัฒนาการ ๖. พัฒนาระบบการบริหารจดั การทัง้ ๔ ฝ่าย ใหการทำงานเป็นระบบ ไดมาตร าน ๗. พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในใหไดมาตร าน และมีการนเิ ทศตดิ ตามอย่างต่อเน่ือง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 30 ๑๒. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม นำหนกั คะแนน ระดับ คะแนน ทีไ่ ด้ คุณภาพ ๑๒.๑ ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ระดบั การศึกษาปฐมวัย ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก กลุ่มตัวบ่งชพี้ ้นื ฐาน ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดมี าก ตวั บ่งชีท้ ี่ ๑ เด็กมีพฒั นาการด้านรา่ งกายสมวัย ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดมี าก ตัวบง่ ชที้ ี่ ๒ เดก็ มีพัฒนาการด้านอารมณแ์ ละจติ ใจสมวยั ๓๕.๐๐ ๓๓.๐๐ ดมี าก ตวั บ่งชท้ี ี่ ๓ เดก็ มีพัฒนาการดา้ นสงั คมสมวยั ๑๕.๐๐ ๑๔.๐๐ ดมี าก ตัวบ่งช้ีท่ี ๔ เด็กมีพฒั นาการด้านสติปัญญาสมวัย ๕.๐๐ ๔.๗๓ ดีมาก ตัวบง่ ชี้ท่ี ๕ เด็กมคี วามพรอ้ มศึกษาต่อในขนั้ ต่อไป ตวั บ่งชที้ ่ี ๖ ประสทิ ธิผลของการจดั ประสบการณ์การเรยี นร้ทู เ่ี น้นเดก็ เป็นสำคัญ ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๗ ประสทิ ธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศกึ ษา ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘ ประสิทธผิ ลของระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก กลุ่มตวั บ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบง่ ชที้ ี่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดมี าก และวัตถุประสงค์ของการจัดตงั้ สถานศึกษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดมี าก ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ๑๐๐.๐๐ ๙๖.๗๓ ดมี าก ของสถานศกึ ษา กลมุ่ ตวั บ่งชม้ี าตรการส่งเสรมิ ตวั บ่งชี้ที่ ๑๑ ผ ล ก า ร ด ำเนิ น งาน โค ร งก าร พิ เศ ษ เพื่ อ ส่ งเส ริ ม บ ท บ า ท ของสถานศกึ ษา ตัวบ่งช้ีท่ี ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนว ทางการปฏิรูปการศึกษา คะแนนรวม ผลรวมคะแนนประเมินสถานศกึ ษา ๙๖.๗๓ คะแนน มีคณุ ภาพระดับ ดมี าก ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง ❑ ไมร่ ับรอง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 31 ๑๓. การพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาตามแผนปฏิบัติการประจำของสถานศึกษา 1๓.๑ การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนอนบุ าลเทศบาลนครภเู กต็ ไดจ้ ัดแบง่ โครงสร้างการบรหิ ารงานเปน็ ๔ ฝา่ ย โดยแบ่งเปน็ ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ ฝา่ ยบริหารงบประมาณ ฝ่ายบรหิ ารบคุ ลากร และฝ่ายบริหารท่ัวไป ผู้บรหิ ารยดึ หลักการบรหิ าร/เทคนคิ การบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต แผนภูมโิ ครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี นอนบุ าลเทศบาลนครภเู ก็ต

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หน้า 32 1๓.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดมุ่งหมายเพ่ือการพัฒนา อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ “โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต การบริหารจัดการศึกษาได้มาตรฐาน สื่อสาร 2 ภาษา กา้ วลำ้ เทคโนโลยี ยกระดบั การมสี ว่ นรว่ ม นอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างย่ังยืน ” พนั ธกิจ ๑. เด็กมีพัฒนาการทง้ั ๔ ด้านเหมาะสมตามวยั ๒. เด็กมคี วามรู้ มที กั ษะ มวี นิ ัย ปฏิบตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓. เดก็ เรียนรู้ ๒ ภาษา และมีความสามารถด้านเทคโนโลยตี ามศักยภาพ ๔. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีจำนวนเพียงพอ ๕. ครูมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมมีความสามารถในการจดั ประสบการณ์การเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ๖. ผู้บริหารสถานศกึ ษามีคณุ ธรรมจริยธรรมมีภาวะผู้นำและมีความสามารถในการบรหิ าร จัดการศกึ ษา ๗. ผ้ปู กครอง ชุมชน และภาคเี ครือขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา ๘. จัดหาปจั จยั เทคโนโลยีและทรัพยากรทางการศึกษาให้เพียงพอ มคี ณุ ภาพได้มาตรฐาน ๙. สถานศึกษามีจำนวนนักเรียน มีทรัพยากร สภาพแวดบ้อมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เป็นสังคม แห่งการเรียนรู้ ๑๐.สถานศกึ ษาดำเนินการบรหิ ารจัดการศกึ ษาโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานในการพัฒนา ๑๑.สถานศกึ ษาจดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาการศึกษาปฐมวัยท่ีเน้นเด็กเปน็ สำคัญ ๑๒.สถานศกึ ษาจัดระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ๑๓.สถานศึกษาบรรลตุ ามเปา้ หมาย ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ และจดุ เน้น ๑๔.สถานศึกษาส่งเสริม และสนับสนุนการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ จดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา หนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ 1. ยทุ ธศาสตร์ 1.1 แนวทางการพฒั นาผู้เรยี นมพี ฒั นาการสมวยั ฝา่ ยบรหิ ารทว่ั ไป ฝ่ายบรหิ ารทัว่ ไป การพฒั นาคุณภาพ 1.2 แนวทางการพฒั นาสืบสานความเป็นไทยใส่ใจสิ่งแวดล้อม ฝ่ายบรหิ ารทั่วไป ผูเ้ รยี น ๑.๓ แนวทางการพฒั นาเดก็ ดี มีคณุ ธรรม น้อมนำเศรษฐกจิ ฝ่ายบรหิ ารท่ัวไป พอเพียง ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ ฝา่ ยบรหิ ารบุคลากร ๑.๔ แนวทางการพฒั นาสง่ เสรมิ ความสามารถพเิ ศษ ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ ตามศักยภาพของผ้เู รยี น ฝ่ายบรหิ ารวิชาการ ๑.๕ แนวทางการพัฒนาสุขภาพดชี ีวมี ีสขุ ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณ 2. ยุทธศาสตร์ 2.1 แนวทางการพฒั นาพัฒนาการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ฝ่ายบรหิ ารงบประมาณ การพฒั นาครู 2.2 แนวทางการพฒั นาสรรหาครแู ละบคุ ลากรตามมาตรฐาน ใหเ้ ป็นครูมอื อาชพี ตำแหน่ง 3. ยทุ ธศาสตร์ 3.1 แนวทางการพัฒนาพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพ พัฒนาระบบบรหิ าร 3.2 แนวทางการพัฒนาพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา จัดการใหม้ ี และหลักสตู รทอ้ งถิ่น ประสิทธภิ าพ 3.3 แนวทางการพฒั นาพัฒนาระบบบริหารจดั การ เพ่อื มุ่งสคู่ ณุ ภาพ 3.4 พฒั นาสือ่ และเทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 33 ยทุ ธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา หนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณ 4. ยุทธศาสตร์ 4.1 แนวทางการพัฒนาพัฒนาอาคารสถานท่ี ฝ่ายบรหิ ารงบประมาณ พฒั นาอาคาร 4.2 แนวทางการพฒั นาสภาพแวดลอ้ ม และภูมิทัศน์ใหเ้ อือ้ ฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป สถานท่ี และ ตอ่ การเรียนรู้ สภาพแวดลอ้ ม ให้เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ 5. ยุทธศาสตร์ 5.1 แนวทางการพัฒนาสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมระหว่างโรงเรียน พฒั นาเครอื ขา่ ย กับชุมชน เข็มแข็ง จดุ มุ่งหมายเพ่ือการพัฒนา โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สำหรับเด็กอายุ ๔ – ๖ ปี โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และสำนึกในความเป็นไทยตามความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงกำหนดจุดหมาย เพอ่ื การพฒั นา ดงั น้ี ๑. นักเรยี นมีคุณภาพ ๒. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเพียงพอ ๓. ผูป้ กครอง ชมุ ชน และภาคีเครือข่ายมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ๔. โรงเรยี นมีปจั จยั เทคโนโลยี และทรพั ยากรทางการศึกษาเพียงพอ มีคณุ ภาพได้มาตรฐาน ๕. โรงเรียนบริหารจดั การศกึ ษาไดม้ าตรฐาน อัตลกั ษณข์ องสถานศึกษา “สุขภาพดี ร่าเริงแจ่มใส ม่นั ใจในตนเอง” เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา “สะอาดตา นา่ ดู นา่ อยู่ นา่ เรยี น”

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 34 ตอนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 1. ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 1.1 ระดบั การศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพเด็ก ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม กระบวนการพัฒนา ๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มสี ขุ นสิ ัยทดี่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ ๑.๑.๑ ร่างกายแข็งแรง น้ำหนักและสว่ นสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต เป็นโรงเรียนท่ีมุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพนักเรยี น จึงได้จดั ทำ แผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งได้มีการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนานักเรียน ให้มีการเจริญเติบโต และแข็งแรงสมวัย ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีน้ำหนัก และส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยกำหนดไว้ในจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลเทศบาล นครภูเก็ต ครูผู้สอนทุกคนออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมีพัฒนาการ ตามจุดหมายของหลักสูตร ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านร่างกาย คือ ร่างกายเจริญเติบโต ตามวัย และมสี ุขนสิ ัยที่ดี จึงไดจ้ ดั ประสบการณใ์ หก้ ับนกั เรียนผ่านหนว่ ยการเรยี นรู้ เช่น กนิ ดีอยเู่ ปน็ เล่นอย่าง สร้างสรรค์ หน่วยการเรียนรู้ขยับกาย สบายชีวี เป็นต้น โดยจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เคล่ือนไหว และจงั หวะ กิจกรรมเล่นกลางแจง้ กิจกรรมเสรี และเกมการศึกษา กิจกรรมออกกำลังกายยามเชา้ หน้าเสาธง เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรักการออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง นอกจากน้ี ยังได้จัดบริการ โครงการโภชนาการสมวัยเพ่ือเด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ตเพื่อดูแลและช่วยเหลือนักเรียน ใหไ้ ดร้ ับประทานอาหารดี มปี ระโยชน์ สะอาด ถกู สขุ ลักษณะ และถูกหลกั โภชนาการ งานอนามัย โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ด้วยการจัดกิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดี เป็นการตรวจสุขภาพนักเรียน มีการดำเนินการตรวจสุขภาพนักเรียน ทุกเช้าก่อนเข้าโรงเรียน และเข้าห้องเรียน โดยครูเวรรับนักเรียน และครูประจำช้ัน กิจกรรมชั่ง น้ำหนัก วัดส่วนสูง เพ่ือสำรวจจำนวน และรายช่ือนักเรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน กรมอนามัย โดยดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงให้กับนักเรียนทุกคนในสัปดาห์ที่ 1 ของเดือน และติดตามผลในเดือนต่อๆ ไป หากพบนักเรียนมีน้ำเกินเกณฑ์ ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหา นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ด้วยการออกกำลังกาย กิจกรรมโภชนาการและอาหารกลางวัน กิจกรรมอาหารเสริม (นม) โรงเรียน เป็นบริการจดั อาหารกลางวนั ที่เหมาะสมให้กับนักเรียนท่ีมีปญั หานำ้ หนัก เกินเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์ ซ่ึงทั้ง 3 กิจกรรมเป็นกิจกรรมท่ีต่อเนื่องจากกิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านโภชนาการ และสุขภาพอนามัย แจ้งข้อมูลเปรียบเทียบน้ำหนัก ส่วนสูง ให้ผู้ปกครองทราบการเจริญเติบโตของนักเรียนหน้าห้องเรียนทุกเดือน กองการแพทย์เทศบาลนครภูเก็ต ตรวจสุขภาพนักเรียน หากพบนักเรียนท่ีมีภาวะทุพโภชนาการก็ให้ได้รับการแก้ไข โดยนักเรียนท่ีมีน้ำหนัก ต่ำกว่าเกณฑ์ก็มีการดูแลเรื่องการรับประทานอาหารอย่างเพียงพอและนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ โรงเรียนจัดกิจกรรมออกกำลังกายและขอความร่วมมือผู้ปกครองในการดูแลควบคุมการรับประทานอาหาร ให้เหมาะสม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 35 งานกีฬาและนันทนาการ ได้จัดโครงการกีฬาและนันทนาการ เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียน ออกกำลงั กาย ผ่านกิจกรรมกีฬา เช่น การแข่งขนั กฬี านักเรยี นอนุบาลเทศบาลนครภูเกต็ สัมพนั ธ์ เป็นตน้ งานประชาสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครอง ผ่านจุลสารพวงชมพูสัมพันธ์ เพ่ือให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองในการดูแลบุตรหลาน ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองให้รับทราบถึงโทษภัยของอาหารท่ีมีรสหวาน อาหารกรุบกรอบ อาหารทอด และโรคอ้วน ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองให้กวดขันพฤติกรรม การบรโิ ภคของบุตรหลาน เคล่ือนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้ดี / ใช้มือตาประสาน สมั พันธ์กัน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการ ของเด็กปฐมวัยให้มีความครอบคลุมท้ัง 4 ด้าน จึงได้วางแผนการ จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ โดยใหค้ รูและผูม้ ีส่วนเก่ียวข้องทุกคนร่วมกันวางแผนจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ของผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนมีประสบการณ์สำคัญ ครอบคลุม ทั้ง 4 ด้าน โดยคำนึงถึงจุดหมายของผู้เรียนตามมาตรฐานคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ตามวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 25๖๐ โดยการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ตามตารางกิจกรรมประจำวัน เพ่ือช่วยให้นักเรียน เกิดทักษะท่ีสำคัญสำหรับการสร้างองค์ความรู้ โดยให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ ส่ิงของ บุคคลต่าง ๆ ทอ่ี ยู่รอบตวั การพัฒนากล้ามเน้ือใหญ่ เพ่ือให้นักเรียนเกิดประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการ ด้านร่างกาย กล้ามเน้ือใหญ่มีความแข็งแรง มีทักษะในการทรงตัว สามารถเคลื่อนไหว และใช้งานอวัยวะ ต่าง ๆ ได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว โรงเรียนฯ จึงได้จัดประสบการณ์ให้กับนักเรียนผ่านกิจกรรมประจำวัน ได้แก่ เคล่ือนไหวและจังหวะ และกิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การเคลื่อนไหวอยู่กับท่ี การเคล่ือนไหวเคลื่อนที่ การเคล่ือนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ การเคล่ือนไหวร่างกายตามจังหวะดนตรีและเสียงเพลง การเล่นกลางแจ้ง การเลน่ เคร่อื งเลน่ สนาม และการละเลน่ แบบไทย การพัฒนากล้ามเน้ือเล็ก เพ่ือให้นักเรียนสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กได้อย่างแข็งแรง และการทำงานของมือกับตาประสานสัมพันธ์กัน โรงเรียนฯ ได้จัดประสบการณ์ให้กับนักเรียนผ่านกิจกรรม ประจำวัน ได้แก่ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมเกมการศึกษา และกิจกรรม เสริมประสบการณ์ เช่น การเล่นเครื่องเล่นสัมผสั การเลน่ นำ้ เลน่ ทราย เล่นเกมต่อภาพ การวาดภาพระบายสี การเล่นกับสี การปั้น การประดิษฐ์ต่าง ๆ ด้วยดินเหนียว ดินน้ำมัน เศษวัสดุ การฉีก การตัด การปะ การต่อบล็อก การช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย และการหยิบจับช้อนส้อม รวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่นักเรียนต้องใช้มือในการหยิบ จับ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เช่น กิจกรรมการสังเกตด้วยแว่นขยาย กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทำอาหาร ซึ่งการจัดกิจกรรมดังกล่าว มีทั้งการจัดเป็นกิจกรรมในห้องเรยี น กจิ กรรมนอกหอ้ งเรยี นและการเรยี นรูน้ อกสถานที่ เป็นต้น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 36 ๑.๑.๒ มสี ุขนิสยั ทดี่ ี เด็ ก ใน ช่ ว งอ ายุ 0 -6 ปี เป็ น ช่ ว งวัย ที่ พั ฒ น าก ารข อ งเด็ ก ใน ช่ ว งอ ายุ นี้ จ ะ ส่ งผ ล ต่อการเจริญเติบโตเป็นผู้ท่ีมีสุขภาพอนามัยท่ีดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีน้ัน ย่อมเกิดจากการได้รับการอบรม ดูแลอย่างถูกวิธี การฝึกสุขนิสัยเพื่อการรักษาสุขภาพอนามัยที่ดี จึงมีความสำคัญย่ิงเน่ืองจากเด็กเล็กในช่วง ปฐมวัยเป็นวัยท่ีเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย พิการหรือเสียชีวิตได้ง่าย การดูแลและอบรมเลี้ยงดูให้เด็กรู้จัก ป้องกันตนเองการฝึกให้มีสุขนิสัยท่ีเป็นผู้มีภูมิคุ้มกันโรค ไม่เจ็บป่วยบ่อยลดภาระค่าใช้จ่ายจากการ รักษาพยาบาลทั้งจากครอบครัวและภาครัฐ และเด็กมีสุขภาพอนามัยที่ดีมีโอกาสในการเรียนรู้ได้ดีกว่า เดก็ ที่มีภาวะความเจบ็ ป่วยตา่ ง ๆ โร ง เรี ย น อ นุ บ า ล เท ศ บ า ล น ค ร ภู เก็ ต ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม ส ำ คั ญ ข อ ง ก า ร เส ริ ม ส ร้ า ง สุ ข นิ สั ย ในการรักษาสุขภาพและอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย ทั้งน้ี ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้เด็กฝึกปฏิบัติตน ได้ถูกสุขลักษณะจะเป็นประโยชน์สำหรับเด็ก ท้ังในด้านการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ การสร้างวินัย ในตนเอง การปฏเิ สธในสิ่งที่ไมเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อรา่ งกาย การเสรมิ สร้างสุขนิสัย และการรกั ษาสุขภาพอนามัย สำห รับ เด็กป ฐมวัยป ระกอบ ด้ วย การฝึกสุขนิ สัยใน การกิน การน อน การเล่น การขับ ถ่าย การรักษาความสะอาด เป็นต้น ซึ่งทางโรงเรียนได้ร่วมกันจัดทำแผนและมีการกำหนดเป้าหมายการพัฒนา เพอ่ื เสริมสร้างสขุ นสิ ยั ในการรักษาสุขภาพและอนามยั แก่เด็ก โดยมีวธิ กี ารดำเนินงานดังตอ่ ไปน้ี ๑. โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพในโรงเรียน การมีสุขภาพดี ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทย เพ่ือให้นักเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี ซ่ึงเป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพให้เข้มแข็งด้วยการเตรียมความพร้อม เพ่ือป้องกันปัญหาสุขภาพต้ังแต่แรกเริ่ม ทางโรงเรียนฯ จึงได้จัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังกิจนิสัยถาวรในการดูแล รักษาสุขภาพให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี นักเรียนมีสขุ นิสัยในการ ดแู ลสุขภาพ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ นักเรียนสามารถป้องกันตนเองจากส่ิงเสพติดให้โทษและหลีกเล่ียง สภาวะที่เส่ียงต่อความรุนแรง โรคภัย และอุบัติเหตุ ประกอบด้วยกิจกรรมหนูน้อยสุขภาพดี เป็นกิจกรรม ท่ีส่งเสริมให้นักเรียน ครู และผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ โดยจัดให้มีกิจกรรมการตรวจ คัดกรองสุขภาพนักเรียนก่อนเข้าสู่โรงเรียนโดยครูเวรประจำวัน เพื่อคัดกรองการเจ็บป่วย และโรคติดต่อ มิให้แพร่ระบาด ส่งเสริมให้ผู้ปกครองตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของบุตรหลาน และตรวจสุขภาพนักเรียน โดยครูประจำช้ันก่อนเข้าห้องเรียน เป็นการคัดกรองสุขภาพนักเรียน 2 ชั้น กิจกรรมชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง เป็นกิจกรรมเพื่อเฝ้าระวังดูแลเรื่องภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกสัปดาห์แรกของเดือน เพ่ือติดตามและเฝ้าระวัง ตลอดจนช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีปัญหาทุพโภชนาการ กิจกรรมชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง เพื่อสำรวจจำนวน และรายช่ือนักเรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานกรมอนามัย โดยดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงให้กับนักเรียนทุกคนในสัปดาห์ที่ 1 ของเดือน และติดตามผลในเดือนต่อๆ ไป หากพบนักเรียนมีน้ำเกินเกณฑ์ ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหา นักเรียนท่ีมีภาวะทุพโภชนาการ ด้วยการออกกำลังกาย กิจกรรมโภชนาการและอาหารกลางวัน กจิ กรรมอาหารเสริม (นม) โรงเรียน เป็นบริการจัดอาหารกลางวนั ที่เหมาะสมใหก้ ับนกั เรียนท่ีมีปญั หาน้ำหนัก เกินเกณฑ์และต่ำกว่าเกณฑ์ ซ่ึงทั้ง 3 กิจกรรมเป็นกิจกรรมท่ีต่อเน่ืองจากกิจกรรมช่ังน้ำหนัก วัดส่วนสูง จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านโภชนาการ และสุขภาพอนามัย แจ้งข้อมูลเปรียบเทียบน้ำหนัก ส่วนสูง ให้ผู้ปกครองทราบการเจริญเติบโตของนักเรียนหน้าห้องเรียนทุกเดือน กองการแพทย์เทศบาลนครภูเก็ต ตรวจสุขภาพนักเรียน หากพบนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการก็ให้ได้รับการแก้ไข โดยนักเรียนท่ีมีน้ ำหนัก ต่ำกว่าเกณฑ์ก็มกี ารดูแลเรื่องการรับประทานอาหารอย่างเพียงพอและนักเรียนท่ีมีน้ำหนักเกินเกณฑ์โรงเรียน จัดกิจกรรมออกกำลังกาย และขอความร่วมมือผู้ปกครองในการดูแลควบคุมการรับประทานอาหาร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 37 ให้เหมาะสม กิจกรรมหนูน้อยรักษ์ฟัน เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหาร และส่งเสริม ให้ผู้ปกครองดูแลสุขภาพฟันของบุตรหลาน กิจกรรมห้องเรียนปลอดเหา มีการสำรวจศีรษะนักเรียน หากพบนกั เรยี นเป็นเหาจะมกี จิ กรรมกำจัดเหา ทกุ วนั พธุ สัปดาห์ท่ี 3 ของเดอื น ๒. โครงการอนุบาลนา่ อยปู่ ลอดโรค เป็นกิจกรรมท่ีจัดข้ึนเพ่ือให้ครู ผู้ปกครอง และนักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการรักษา สุขภาพ อนามัย ของตนเอง และบุคคลในครอบครัวให้ห่างไกลจากโรคติดต่อ ประกอบด้วย กิจกรรม ตรวจสุขภาพประจำวัน กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ด้านสุขภาพด้วยป้ายประชาสัมพันธ์ความรู้ด้านสุขภาพ และโรคติดต่อ และจุลสารพวงชมพูสัมพันธ์ กิจกรรมห้องเรียนวัคซีน 100% เพื่อสำรวจการรับวัคซีน ภาคบังคับของนกั เรยี นให้ครบถว้ น กิจกรรมรณรงคป์ อ้ งกันไข้เลือดออก เพื่อส่งเสริมให้นักเรยี นและผ้ปู กครอง ตระหนักถึงการดูแลตนเอง และบริเวณท่ีพักอาศัยให้ปลอดภัยจากแหล่งวางไข่ของลูกน้ำยุงลาย กิจกรรม Big Cleaning Day เพื่อรณรงคใ์ ห้ครู นักเรยี น ตลอดจนผู้ปกครองได้ร่วมกันทำความสะอาดบริเวณ ห้องเรยี น โรงเรยี น และที่พักอาศยั เพื่อให้ปลอดภยั จากอันตรายต่าง ๆ กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เพือ่ ปอ้ งกัน ยาเสพติด เพอ่ื ใหค้ วามร้แู ก่นักเรียน และผปู้ กครองในการปอ้ งกนั ตนเองให้หา่ งไกลจากยาเสพติด ๓. โครงการกฬี าและนนั ทนาการ เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกาย ผ่านกิจกรรมกีฬา เช่น การแข่งขันกีฬานักเรียนอนุบาล เทศบาลนครภูเก็ตสัมพันธ์ และการแข่งขันกีฬาสีภายใน เป็นต้น เพ่ือสง่ เสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัยในการดูแล สขุ ภาพของตนเองดว้ ยการออกกำลังกายอยา่ งสมำ่ เสมอ ๔. โครงการประชาสัมพันธข์ า่ วสารสูช่ ุมชน เพ่ือติดต่อส่ือสารกับผู้ปกครอง ผ่านจุลสารพวงชมพูสัมพันธ์ เพ่ือให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ในการดูแลบุตรหลาน ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองให้รับทราบถึงโทษภัยของอาหารที่มีรสหวาน อาหารกรุบกรอบ อาหารทอด และโรคอ้วน ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน ตลอดจนให้ความรู้ ด้านสุขภาพต่าง ๆ และโรคภัยไข้เจ็บที่มาตามฤดูกาล เพื่อให้ผู้ปกครองร่วมมือส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ให้มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคภัยเบียดเบียน ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองให้กวดขันพฤติกรรม การบรโิ ภคของบุตรหลาน ๕. กจิ กรรมกิจวัตรประจำวนั เพ่ือสร้างสุขนิสัยท่ีดีให้กับนักเรียน เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการดูแลตนเอง และช่วยเหลือ ตนเอง เพ่ือให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรักษาสุขภาพอนามัยของตนเอง ได้แก่ การฝึกสุขนิสัยในการ รบั ประทานอาหาร การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร รับประทานสะอาด ปรงุ สุกใหม่ และอาหารที่มีคณุ ค่า กับร่างกาย เช่น ผัก ผลไม้ ปลา เนื้อ นม ไข่ การดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 4 - 6 แก้ว การฝึกตนเอง ในการรับประทานอาหารเป็นเวลา การฝึกการแปรงฟั นอย่างถูกวิธีหลังรับ ประท านอาหาร และการฝึกการป้องกันโรคภัยท่ีติดต่อกัน เช่น การไม่ใช้ภาชนะ และเคร่ืองใช้ส่วนตัวในการรับประทาน อาหาร ด่ืมน้ำ ร่วมกับผู้อื่น เป็นต้น การสวดมนต์ไหว้พระก่อนนอนเพ่ือให้จิตใจสงบ แจ่มใส จนเคยชิน เป็นนิสัย เป็นต้น การฝึกสุขนิสัยในการขับถ่าย ฝึกการขับถ่ายเป็นเวลา ฝึกทำความสะอาดอวัยวะ เมื่อมีการ ขับถ่ายด้วยการล้างน้ำให้สะอาด และทำความสะอาดมือทุกครั้งเมอ่ื อุจจาระหรือปัสสาวะ ฝึกทำความสะอาด เครื่องสุขภัณฑ์เม่ือใช้เรียบร้อยแล้ว ฝึกเลือกให้ใช้ห้องน้ำ ห้องส้วมท่ีสะอาด และขับถ่ายในห้องส้วมเท่านั้น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 38 การสวมรองเท้า เม่ือออกนอกห้องเรียนหรือออกจากบ้าน การตัดเล็บให้สะอาด การดูแลตรวจเล็บให้กับเด็ก อยา่ งนอ้ ยสัปดาหล์ ะครัง้ การปิดปากเมือ่ ไอหรือจาม เป็นต้น ๑.๑.๓ ดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ การฝึกสุขนิสัยในชวี ิตประจำวนั และการปอ้ งกันอุบัติเหตุ การฝึกเก่ียวกับเร่อื งข้ึนลงบันได การไม่ ว่งิ ในอาคารเรียน เปน็ ตน้ การฝึกสุขนิสยั ในการเล่นและการป้องกันอุบตั ิเหตุฝึกเล่นเป็นเวลา เมอ่ื ถึงเวลาอ่ืนๆ ก็ควรจะเลิก เล่น เช่น เวลาเรียน เวลารับประทานอาหาร เวลานอน เป็นต้น ฝึกเล่นในที่สะอาด และปลอดภัย ท่ีครูแนะนำ ไม่ไปในสถานท่ีอันตราย เช่น บรเิ วณครัวท่ีกำลังประกอบอาหาร บริเวณอาคารก่อสร้าง บริเวณ แหล่งนำ้ บ่อ บริเวณปลก๊ั ไฟฟ้า เปน็ ต้น ฝึกให้เลือกของเล่นที่ไม่เป็นอันตราย ไม่เล่นของแหลม ของคม และไม่นำของเล่นเข้าปาก ไม่กัดแทะของคมของแข็งเพราะฟันจะบ่ิน หัก และของแหลมจะทิ่มแทงหรือติดค้างอวัยวะในช่องปาก และไม่เล่นของสกปรก เช่นมูลสัตว์ ขยะมูลฝอย ฝึกการเล่นอย่างปลอดภัย รู้จักระมัดระวังอันตราย ทงั้ ของตนเองและผ้อู ืน่ เชน่ การเลน่ เครอ่ื งเลน่ สนาม ๑.๒ มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ๑.๒.๑ มีสขุ ภาพจิตดแี ละมีความสขุ แสดงอารมณต์ ามความรู้สึกได้ตามสถานการณ์ เด็กปฐมวัยเป็นช่วงความสำคัญที่สุดช่วงหน่ึง เพราะเป็นช่วงเวลาที่เด็กได้เรียนรู้เร่ืองต่าง ๆ มากที่สุดในชีวิต ในขณะท่ีพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยมีการเจริญเติบโต เด็กก็มีการเรียนรู้ ด้านอารมณ์ไปพร้อม ๆ กัน เด็กปฐมวัยจะแสดงออกด้านอารมณ์อย่างเด่นชัด มีความสนใจในเร่ืองต่าง ๆ ค่อนข้างสั้น เวลาดีใจ เสียใจ โกรธ หรือกลัวก็จะแสดงอารมณ์ออกมาเต็มท่ี ได้แก่ กระโดด กอด ตบมือ โวยวาย ร้องไห้เสียงดงั ทุบตี ขว้างปาส่ิงของ ไม่พอใจเม่อื ถูกห้าม ฯลฯ อารมณ์เกิดขึน้ กับเดก็ วยั น้มี ีท้ังอารมณ์ เชิงบวก และอารมณ์เชิงลบ เพ่ือให้เด็กมีพัฒนาการทางอารมณ์ที่เหมาะสม มีสุขภาพจิตที่ดี ไดร้ ับการยอมรับ จากคนรอบข้าง การฝึกทักษะทางอารมณ์ การส่งเสริมให้แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ตได้จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กได้กล้าแสดงออกทางอารมณ์ได้สอดคล้อง กับสถานการณแ์ ละเหมาะสมกับวยั โดยมกี าระบวนการดำเนินงานดังน้ี การจัดหน่วยการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดประสบการณ์การเรียนที่หลากหลาย ให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการเล่นปนเรียน โดยใช้กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม เพ่ือให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ ร่วมกับเพ่ือนและผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข รู้จักตนเอง และยอมรับความสามารถของผู้อ่ืน ส่งเสริมให้นักเรียน ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม เป็นรายบุคคล เพ่ือให้นักเรียนรู้จักการเป็นผู้นำ ผู้ตามตามสถานการณ์ต่าง ๆ กิจกรรม ท่ีจัดให้กับนักเรียน เป็นการฝึกประสบการณ์ให้กับนักเรียนให้ครอบคลุมท้ัง 4 ด้าน และที่สำคัญการทำงาน เป็นกลุ่ม เป็นการฝึกให้นักเรียนรู้จักการแบ่งปัน การรอคอย การให้อภัย และยอมรับผู้อื่น เพื่อเป็นพื้นฐาน สำคัญทางสงั คมในอนาคต ครูเป็นแบบอย่างในการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสม เม่ือเด็กด้ือก็ต้องแสดงเหตุผลเพื่อให้ เด็กตัดสินใจ และยอมรับกติกาหรือเง่ือนไขการปฏิบัติต่าง ๆ ด้วยความเข้าใจไม่ใช้การบังคับ จัดให้มี เวรประจำวันมอบหมายหน้าท่ีให้นักเรียนรับผิดชอบในห้องเรยี น ในโรงเรียน เช่น เวรสภานักเรียนประจำวัน เวรสายตรวจประหยัดพลังงาน เวรเก็บขยะ เวรประจำวันในห้องเรียน เพ่ือฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ต่อตนเอง และส่วนร่วม ครูประจำช้ันมีการรับเด็กหน้าห้องเรียน แสดงออกถึงการยอมรับ การต้อนรับ การเอาใจใส่ ความห่วงใยท่ีเด็กได้รับจะทำให้เกิดความม่ันคงทางอารมณ์เม่ือต้องการหรือไม่ต้องการในสิ่งใด กส็ ามารถสื่อสาร เพอื่ ทำใหค้ วามเขา้ ใจรว่ มกันไดไ้ ม่มคี วามร้สู ึกขดั แยง่ หรือคบั ขอ้ งใจ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 39 โครงการวันสุนทรภู่ เป็นโครงการเสรมิ ประสบการณด์ า้ นภาษาแกน่ ักเรียน แตใ่ นขณะเดียวกนั นั้น กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดข้ึน สามารถกระตุ้น และส่งเสริมให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์ตามสถานการณ์ ท่ีหลากหลาย เช่น มีความสุขเม่ือได้ฟังนิทาน เร่ือง ม้านิลมังกร มีอารมณ์คล้อยตามจากการจัดกิจกรรม เช่น ดีใจ เสียใจ สนุกสนาน นอกจากน้ี กิจกรรมวันสุนทรภู่ ยังส่งเสริมให้นักเรียนมีความม่ันใจ ในตนเอง ด้วยการแสดงละคร การประกวดแต่งกายแฟนซีตัวละครในเร่อื งพระอภยั มณี ครูส่งเสริมการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมโดยการเล่านิทาน ซ่ึงเป็นการให้ต้นแบบ ที่พึงประสงค์ แล้วใช้การต้ังคำถามเพ่ือการสรุปความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมจากการ ฟังนิทาน ท่ีมีตัวแบบที่มีพฤติกรรมทางอารมณ์ที่เหมาะสมทำให้เด็กมีความม่ันใจในการแสดงออก อยา่ งเหมาะสมย่งิ ขึ้น กลา้ พูดกลา้ แสดงออก ความเชื่อมนั่ ในตนเอง (Self Confidence) หมายถึง การกล้าตดั สินใจในการทำสง่ิ ใดสิ่งหนึ่งด้วย ความมั่นใจ กล้าแสดงออกสามารถทำสิ่งต่าง ๆ ได้ด้วยตัวเองพึ่งพาตนเองและสามารถปรับตัวให้เข้ากับ สถานการณ์ใหม่ ๆ เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เด็กที่มีความเชื่อมั่นในตนเองสามารถสังเกตได้จาก พฤติกรรมหรือการกระทำที่เกิดข้ึนในการดำรงชีวติ แต่ละวันมีความภาคภูมิใจในตนเอง และพร้อมที่จะรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น กล้าตัดสินใจโดยไม่ลังเล ไม่มีความวิตกกังวล กล้าเผชิญต่อความจริง รู้จักปรับตัว ให้เข้ากับส่ิงแวดล้อม ซ่ึงลักษณะดังกล่าวจะนำไปสู่การสร้างความสำเร็จและมีความสุขในการเรียนรู้ ในการจดั กิจกรรมเพอ่ื ส่งเสริมความเช่ือม่นั ในตนเองและการกล้าแสดงออกนัน่ มวี ิธกี ารดำเนินงานดังน้ี โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬา (กิจกรรมหลังเลิกเรียน) เช่น กิจกรรมดนตรี ขับร้องประสานเสียง โขน นาฏศิลป์ เรงิ เล่นเต้นแดนเซอร์ วาดภาพระบายสี ศิลปะ กีฬา เป็นต้น เป็นกิจกรรมที่นักเรียนเลือกเรียนได้ตามความถนัด และความสนใจ โดยเรียนวันละ 1 ชั่วโมง หลังกิจกรรมประจำวัน เวลา 16.00 – 17.00 น. นักเรียนได้ฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเน้ือมัดเล็ก ในการทำกิจกรรมตามท่ีตนเองสนใจ และถนัด ร่วมกับเพ่ือนต่างห้องเรียน และต่างระดับ ส่งเสริมให้เกิด สัมพันธภาพที่ดีระหว่างนักเรียนในโรงเรียน นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง และกล้าแสดงออก มีความสุข สนกุ สนานกับการทำกิจกรรม โครงการสภาจ๋ิวส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน เป็นการฝึกให้นักเรียนมีบทบาทการเป็นผู้นำ และเป็นผู้ตามท่ีดี ประกอบด้วยกิจกรรม กิจกรรมสายตรวจประหยัดพลังงาน นักเรียนท่ีได้รับการคัดเลือก ให้เป็นสมาชิกสภานักเรียน จะปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบการเปิดน้ำ เปิดไฟ ตามห้องเรียนในช่วงเข้าแถวเคารพ ธงชาติ แล้วนำผลการตรวจมารายงานให้สมาชิกทั้งหมดรับทราบที่หน้าเสาธง นักเรียนได้รับการฝึกฝน ให้มีความกล้าแสดงออก มีความเชื่อม่ันในตนเอง กล้าพูด กล้าทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมกับวัย และโอกาส , กิจกรรมผู้นำกิจกรรมหน้าเสาธง นักเรียนท่ีได้รับการคัดเลือก จะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันมา ปฏิบัติหน้าท่ีผู้นำกิจกรรมหน้าเสาธง ได้แก่ ผู้นำในการเรียกแถวนักเรียน นำร้องเพลงชาติ นำสวดมนต์ นำออกกำลังกาย นำสมาธิ และภาษาอังกฤษวันละคำ กิจกรรมต่าง ๆ เหล่าน้ี จะช่วยสนับสนุนให้นักเรียน มีความกล้า มีความม่ันในในตนเอง กล้าพูด กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และยังเป็น แบบอย่างทด่ี ีให้กับเพอ่ื นรว่ มหอ้ ง รุ่นพ่ี และรนุ่ น้องไดป้ ฏบิ ัติตาม โครงการรักการอ่าน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองยืมหนังสือไปอ่านร่วมกับ ครอบครัวที่บ้าน เพ่ือให้ผู้ปกครองอ่านให้ลูกฟัง และนักเรียนอ่านจากภาพให้ผู้ปกครองฟัง การอ่านบ่อยๆ จะเกิดเป็นความจำ และเม่ือนักเรียนมีความพร้อม หรือมีความมั่นใจในตนเอง ก็จะให้นักเรียนผลัดเปล่ียน หมุนเวียนมาเล่าให้เพ่ือนร่วมชั้นฟังหลังเข้าแถว เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง และกล้า แสดงออก

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 40 โครงการจัดนิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ เป็นการนำเสนอผลงานนักเรียนด้วยผลงาน ทางวิชาการ นำเสนอโครงงาน Project Approach กีฬา นันทนาการ ดนตรี นาฏศิลป์ และเล่านิทาน นักเรียนได้แสดงออกโดยการนำเสนอผลงานของตนเอง กลา้ นำเสนอ กล้าตอบคำถาม มคี วามมน่ั ใจในตนเอง มีความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเองและผู้อน่ื เด็กมีความรา่ เริงแจ่มใสมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่นจากปรัชญาและจุดมุ่งหมายการศึกษา ปฐมวัย ท่ีเน้นให้มีการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการเตรียมความพ ร้อมเต็มศักยภ าพ และผ่านกระบวนการเรียนรู้อย่างมีความสุขเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ หมายถึง การพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจท่ีดีงามท่ีโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ตจึงร่วมกันศึกษาหลักจิตวิทยาและหลักพัฒนาการ ของเด็กปฐมวยั เพื่อสง่ เสริมพัฒนาการสำหรบั เดก็ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพดังต่อไปน้ี โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ให้ความสำคัญ เก่ียวกับการส่งเสริมพัฒ นาการ ด้านอารมณ์จิตใจ โดยเน้นท่ีการส่งเสริมพัฒนาการของสมองท้ังสองซีกอย่างสมดุลผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีเหมาะสมตามวัยของเด็ก ให้เด็กมีความร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อ่ืน มีความสุข ในกิจกรรมที่ทำร่วมกัน โดยการกำหนดนโยบายการจัดการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ท่ีเน้นการส่งเสริมทักษะการคิด การสื่อสารและทักษะด้านอารมณ์ซึ่งเป็นพื้นฐานท่ีจำเป็นสำหรับชีวิต เชน่ การละเล่นพ้ืนบ้าน การเล่นเกมตา่ ง ๆ ฯลฯ การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการกลุ่มฝึกให้เด็กเรียนรู้ ฝึกสร้างความคิด ความพึงพอใจ ความสบายใจ โดยการทำงานพร้อมกับผู้อ่ืน ฝึกให้เด็กผ่อนคลายไม่ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ฝึกให้คิดถึงความรู้สึกของผู้อ่ืน สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ เช่น การเรียนดนตรี กิจกรรมจิตศึกษา การเลา่ นิทาน ครูใช้วินัยเชิงบวกในการฝึกและส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และความรู้สึกของเด็ก เช่น การ ชน่ื ชมเม่อื เด็กทำงานเสร็จทนั เวลา การยกยอ่ งเดก็ ทำความดี ให้รางวลั เมอื่ เด็กกลา้ แสดงออก ครูจัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เป็นห้องเรียนที่มีความพร้อมในการเสริมสร้างบุคลิกลักษณะ ทางอารมณ์ท่ีดีแก่เด็ก เช่น ครูเป็นแบบอย่างในการพูด การแสดงออกทางอารมณ์ การฝึกให้มีการรอคอย การฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตาม การให้แรงเสริมเมื่อเด็กปฏิบัติในสิ่งที่ดีแม้จะเล็กน้อย และไม่ตำหนิติเตียน ให้เด็กเสียหน้า ไมส่ บายใจ เปน็ ต้น จดั กจิ กรรมเพือ่ เสริมสร้างพัฒนาการทางอารมณ์ จติ ใจเพอ่ื ให้เด็กมคี วามสุข สดชื่น แจ่มใส รา่ เริง ตามวยั ภายใต้โครงการกิจกรรมที่กำหนดขึ้น ได้แก่ กิจกรรมหนูน้อยเล่านิทาน กิจกรรมนักข่าวน้อยโครงการ จัดการเรียนการสอนดนตรี กิจกรรมส่งเสริมความเป็นเลิศด้านศิลปะการแสดง กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมเริงเล่นเต้นแดนเซอร์ กิจกรรมนาฏศิลป์ไทย กิจกรรมวันคริสต์มาสต์ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับ ปีใหม่ กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ ซ่ึงเป็นกิจกรรมเสริมสร้างความคิด ความรู้สึก ความรัก ความผูกพัน และความกตัญญูอันเป็นพ้ืนฐานความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทำให้เด็กมีความม่ันคงทางอารมณ์ มีความสุขในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น และการทำให้เด็กได้แสดงออกอย่างเหมาะสมตามวัยและเป็นพ้ืนฐาน ใหป้ ระสบความสำเรจ็ อันเป็นเป้าหมายสำคัญอยา่ งหนง่ึ ในการสรา้ งความรูส้ ึกท่ดี ีต่อตนเอง การร่วมมือกับผู้ปกครองในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เช่นผู้ปกครอง อาจมีความรู้ ความเข้าใจที่ไม่ตรงตามหลักจิตวิทยาพัฒนาการเด็กมีความคาดหวังสูงเกินวัย ต้องการให้เด็ก อ่านออกเขียนได้ เด็กมีความวิตกกังวล การส่ือสารพูดคุยเพ่ือปรับทัศนคติของผู้ปกครองจึงเป็นวิธีการ ทส่ี ง่ เสรมิ ให้เดก็ ได้รบั การพัฒนาด้านอารมณ์ จติ ใจ อยา่ งเหมาะสม รณรงค์ให้ผู้ปกครองจัดกิจกรรมการเล่นกับลูกเพื่อสานสัมพันธ์และฝึกการสร้างมิตรภาพ ในครอบครวั ใหค้ ำแนะนำเก่ียวกับการอบรมเล้ยี งดู ไมต่ ีอยา่ งรนุ แรงโดยไม่มเี หตุผล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 41 ครูกำหนดให้มีการเยี่ยมบ้าน เพื่อเป็นการศึกษาเด็กเป็นรายบุคคลเนื่องจากการเย่ียมบ้านเป็น การศึกษาข้อมูล รายละเอียดเกี่ยวกับตัวเด็กให้มากข้ึนเพ่ือเป็นการหาแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเด็ก ใหต้ รงกบั ความต้องการของแตล่ ะคนอย่างมปี ระสิทธิภาพต่อไป ๑.๒.๒ ช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว สนใจมีความสุขและแสดงออกผ่านงานศิลปะดนตรี และการเคลื่อนไหว การส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักในการออกกำลังกาย รักในงานศิลปะ ดนตรี รักธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมเป็นการส่งเสริมอุปนิสัยที่ดีจะส่งผลต่อความรู้สึก นักคิด การตัดสินคุณค่า ความดี ความงดงามไปในทางที่เป็นกุศลซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการหล่อหลอมพฤติกรรมและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ตามคุณลักษณะท่ีพึ่งประสงค์ตามเป้าหมายของหลักสูตรต่อไป นักวิชาการหลายท่านอาจใช้คำว่าการ เสรมิ สรา้ งสุนทรียภาพ ไดแ้ ก่ ความรสู้ กึ และการรบั รู้ได้ถงึ ความดคี วามงามทั้งท่เี ปน็ อยใู่ นธรรมชาติและเกิดขึ้น จากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ซ่ึงเป็นสภาพการณ์และความสัมพันธ์ของอารมณ์ (Emotions) และจิตใจ (Mind) ท่ีมีต่อการรับรู้และความชื่นชมความงดงาม (Beauty) ของแต่ละบุคคล และอาจพัฒนาต่อไป ถึงขั้นซาบซึ้ง ช่ืนชม หลงใหล การมีรสนิยมต่าง ๆ กันไป ซ่ึงโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต มีวิสัยทัศน์ ในการพัฒนาเด็กตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างสุนทรียภาพต่าง ๆ จึงมีพ้ืนฐาน บนความพอเพียงไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย ซึ่งเอื้อ ต่อการส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างรอบด้านเป็นบุคคล ทีม่ คี วามแข็งแรง มสี ุขภาพกายดี สุขภาพจิตดี และมคี วามสุข โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ตให้ความสำคัญเก่ียวกับการส่งเสริมพัฒนาการของสมอง ท้ังสองซีกอย่างสมดุลผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมตามวัยของเด็กและจัดระบบการเรียนรู้ ตามกระบวนการคุณภาพ (PDCA) ทำให้เกิดความสมดุลทางด้านอารมณ์ จิตใจ ซ่ึงการสร้างเสริมให้เด็ก มีอุปนิสัยในการออกกำลังกาย ดนตรี ศิลปะธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน โครงการและกจิ กรรมตา่ ง ๆ เพือ่ เสรมิ สรา้ งนิสยั รักการออกกำลังกาย ศิลปะ ดนตรี ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ประกอบดว้ ยโครงการ/กิจกรรม ดังนี้ 1. โครงการกีฬาและนันทนาการ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพ และส่งเสริม ให้นักเรียนที่มีความชอบ ความถนัดได้ค้นหาตนเอง และส่งเสริมสู่ความเป็นเลิศ ประกอบด้วยกิจกรรม ออกกำลังกายหน้าเสาธง กิจกรรมกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง กิจกรรมแข่งขัน กีฬานักเรียนอนุบาลสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมนี้ นอกจากจะช่วยส่งเสริมให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง แล้วยังชว่ ยส่งเสรมิ ความสามัคคใี ห้กับนักเรยี นและบคุ ลการอีกทางหนึง่ ด้วย 2. โครงการจัดการเรียนการสอนดนตรี เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุนทรียภาพด้านดนตรี โดยนักเรียนได้เรียนดนตรีสัปดาห์ละ 1 คร้ังต่อห้อง และครั้งละ ๕๐ นาที ดนตรีเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วย จูงใจให้เด็กเกิดความสบายใจ และมีความรู้สึกในทางท่ีดี เป็นการช่วยสร้างสิ่งแวดล้อมให้มีความน่าสนใจ ทำให้เด็กเกิดความต่ืนตัวในการเรยี นรู้ อันส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาทางสติปัญญาเป็นอย่างดี ดนตรีช่วยทำให้ เด็กเกิดสมาธิในการทำกิจกรรมและสามารถทำงานได้นานขึ้น เสียงดนตรี นับเป็นส่ืออย่างหน่ึงท่ีจะช่วย ปรับสภาพอารมณ์ และช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดสมาธิ สามารถสร้างระเบียบและควบคุมตนเอง ให้เหมาะสมและไม่เกิดความเครียดจนต้องหยุดชะงักการทำงาน ในขณะท่ีเด็กทำกิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมการเล่นตามมุม กิจกรรมกลางแจ้ง เม่ือมีดนตรีเปิดเบาๆ เด็กจะมีความพึงพอใจในการทำกิจกรรม ท่ามกลางบรรยากาศท่ีมีเสียงเพลง และมีความต้ังใจพยายามทำกิจกรรม อีกทั้งยังพบว่าระยะเวลาในการทำ กิจกรรมแต่ละประเภทจะยาวนานข้ึน นอกจากนี้เสียงดนตรีย่ิงทำให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ และมีจินตนาการในขณะทำกิจกรรมได้เป็นอย่างดี โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้จัดทำโครงการ จัดการเรียนการสอนดนตรีพัฒนาอัจฉริยภาพมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 42 จนถึงปัจจุบัน ทำให้นักเรียนมีความรัก และสนใจในด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา สอดคล้องกับหลักสูตร ปฐมวัย มาตรฐที่ ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคล่ือนไหว เพ่ือเป็นการปลูกฝังให้นักเรียน มีความรกั ความสนใจและชน่ื ชมในดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และกฬี าอย่างตอ่ เน่ือง 3. โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านดนตรีและศิลปะ การส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กปฐมวัย ได้ทำในสิ่งที่ชอบและถนัด เม่ือประสบความสำเร็จย่อมนำความภาคภูมิใจมาให้ตัวเองและเกิดกำลังใจ ท่ีจะพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าข้ึนไปอีก หากเด็กเหล่าน้ีได้รับโอกาส จังหวะและแรงกระตุ้นท่ีเหมาะสม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจพิเศษของเด็ก ก็จะปรากฏเด่นชัดขึ้นเป็นลำดับ เด็กจะรู้สึก ภาคภูมิใจ ถ้าเขาได้รับการยอมรับนับถือจากบุคคลต่าง ๆ การคำนึงถึงศักยภาพของเด็กและเปิดโอกาส ให้เด็กได้แสดงความสามารถตามความสนใจจึงเป็นกระบวนการหนึ่งท่ีโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ให้ความสำคัญ ดังน้ัน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต จึงกำหนดจัดโครงการส่งเสริมและพัฒนา ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียนระดับปฐมวัย ฝึกอบรมด้านวิชาการ กีฬา และนันทนาการเพ่ือพัฒนา สู่ความเป็นเลศิ ขึ้น 5. กิจกรรมหลังเลิกเรยี น พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๐ วรรค ๔ กำหนดว่า การจัดการศึกษาสำหรับบุคคล ต้องจัดด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสม โดยคำนึงถึงความสามารถ ของบุคคลน้ัน และมาตรา ๒๒ กำหนดวา่ การจัดการศึกษาต้องยึดหลกั ว่าผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต เห็นความสำคัญของการ จัดกิจกรรมให้กับนักเรียนหลังเลิกเรียน เช่น กิจกรรมส่งเสริมศิลปะทั้งนาฏศิลป์ไทย โขน และดนตรี เพื่ อ ให้ นั กเรียน ได้ มี กิจกรรม การเค ลื่อน ไห ว เส ริม สร้างสุข ภ าพ ร่างกายให้ มี ค วาม แ ข็งแรง พร้อมกับความสนุกสนาน นักเรียนมีสมรรถภาพทางกาย จิตใจท่ีดีขึ้น และใช้เวลาว่างผ่านกิจกรรม ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ๑.๒.๓ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจิตใจท่ดี งี าม โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้ส่งเสริมให้ครูจัดประสบการณ์การเรียนรู้แก่นักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ ผ่านกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ตามหน่วยบูรณาการ มุ่งเน้นเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนได้รับการช้ีแนะให้ตระหนักถึงความเป็น ไทย รู้ถึงคุณค่าของวัฒนธรรมประเพณีไทยและท้องถิ่น เกิดเจตคติที่ดีต่อ วัฒนธรรมไทยและท้องถิ่น เพ่ือการเป็นผู้ท่ีมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จึงได้จัดระบบบริหารจัดการเพื่อขับเคล่ือนงานเป็นระบบ ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพโดยการร่วมกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานกับคณะครู มอบหมายหน้าที่ รับผิดชอบและร่วมกันกำหนด ให้มีการจัดโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ มอบหมายคณะครูจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดทำโครงงานเพ่ือจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสำหรับเด็กได้มีโอกาสในการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหามีความคิดสร้างสรรค์ จัดเป็นการวางรากฐานท่ีสำคัญแก่เด็ก เพ่ือเตรียมความพร้อมที่จะเติบโต เป็นผู้ใหญ่ท่ีมีความรอบรู้ เท่าทันและมีภูมคิ ุ้มกันที่ดี สามารถรักษาความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ และสืบสาน ความเปน็ ไทยสบื ไป จั ด ให้ มี กิ จ ก ร ร ม เพ่ื อ เป็ น ก า ร สื บ ส า น วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ป ลู ก ฝั ง ให้ เด็ ก ได้ เรี ย น รู้ ป ร ะ เพ ณี และวัฒนธรรมไทย และท้องถ่ินให้กบั ผูเ้ รียนตามโอกาสตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ โครงการสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีไทย กิจกรรมวันลอยกระทง ผู้เรียนเรียนรู้ ประวัติความเป็นมา กิจกรรมท่ีควรปฏิบัติ และเรียนรู้การประดิษฐ์กระทงด้วยวัสดุธรรมชาติ ซึ่งเป็นการ อนุรกั ษ์ประเพณวี ฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน ส่งเสรมิ ความเปน็ ไทย และเอื้อต่อการนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) หนา้ 43 โครงการสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีไทย กิจกรรมวันไหว้ครู ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วม กิจกรรม เรยี นรลู้ ำดบั ข้ันตอนการไหว้ครูด้วยตนเองจากประสบการณ์ตรง โครงการสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีไทย กิจกรรมวันเข้าพรรษาเรียนรู้ประวัติ ความเปน็ มา กจิ กรรมท่คี วรปฏบิ ตั จิ ากประสบการณต์ รงในการไปรว่ มกจิ กรรมถวายเทยี นพรรษา โครงการวันสำคัญทางศาสนา ให้นักเรียนร่วมกิจกรรมเรียนรู้แบบบูรณาการเกี่ยวกับ ความสำคัญของวันสำคัญทางศาสนาในวันตา่ ง ๆได้แก่ วันมาฆบูชา วนั วสิ าขบูชา วันอาสาฬหบูชา ให้นักเรียน ร่วมกิจกรรมตักบาตรเติมบุญ ร่วมกิจกรรมโดยการไปวัด ร่วมพิธีการทางศาสนา เล่นการสวดมนต์ ฟังเทศน์ ฟงั ธรรม เวยี นเทยี น เปน็ ตน้ ซงึ่ เป็นประสบการณ์ตรงที่เด็กสามารถเรยี นรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง โครงการวันสำคัญของชาติ ได้แก่วันแม่ วันพ่อ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเทิดพระเกียรติ ทำบญุ ตกั บาตร การกราบพอ่ แม่ ประดษิ ฐแ์ ละมอบของขวญั ให้แก่พ่อแมด่ ว้ ยตนเอง โครงการงามอย่างไทย ได้แก่กิจกรรมส่งเสริมอัตลักษณ์นักเรียน ท.๖ กิจกรรมประกวด มารยาทไทย ฝึกอบรมให้นักเรียนปฏิบัติตนในการไหว้ การกราบ การน่ังสมาธิ “พูดเพราะ ไหว้สวย กราบเป็น” ตามวัฒนธรรมไทยใหผ้ ู้เรยี นไดป้ ฏิบตั ไิ ดเ้ หมาะสมกับวยั กิจกรรมวันพ้อต่อ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนการสอนแบบบูรณาการ โดยการทำ และรับประทานอาหารที่เกี่ยวข้องกับประเพณีพ้อต่อคือขนมอั่งกู๊ (ขนมเต่า) การนำนักเรียนไปไหว้พระ ในศาลเจา้ เพือ่ เป็นสริ มิ งคล โค ร งก า ร ส่ งเส ริ ม คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร รม แ ล ะ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ งป ระ ส งค์ กจิ กรรมคา่ ยพุทธบุตรน้อย จดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นได้เรียนรู้ฝกึ ปฏิบตั ใิ นการเป็นพทุ ธศาสนิกชนที่ดี ๑.๓ มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกทด่ี ีของสังคม ๑.๓.๑ ชว่ ยเหลือตนเองในการปฏบิ ัติกิจวัตรประจำวัน นักเรียนโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้รับการพัฒนาด้านสังคม โดยการจัดบรรยากาศ การเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดประสบการณ์และสนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ด้วย การจัด ประสบการณ์ในรูปแบบของกิจกรรมประจำวัน ผ่านการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม นักเรียนสามารถ ช่วยเหลอื ตนเองไดต้ ามความเหมาะสมตามวยั สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ไดแ้ ก่ แต่งตัวได้ดว้ ยตนเอง สวมถุงเท้า รองเทา้ แตง่ ตวั ดว้ ยตนเอง รบั ประทานอาหารด้วยตนเอง ใช้ห้องนำ้ หอ้ งสว้ มได้ด้วยตนเอง คณะครูได้ร่วมกระตุ้นและฝึกให้เด็กมีทักษะด้านช่วยเหลือตนเองและปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน โดยฝึกผ่านกิจวัตรประจำวันของนักเรียนใน 1 วัน และกิจกรรมบูรณ าการ 6 กิจกรรมหลัก เพ่ือการพัฒนาทักษะหลาย ๆ ด้านให้สามารถทำงานประสานสัมพันธ์กัน ได้แก่ ทักษะด้านการเคล่ือนไหว ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การประสานการทำงานระหว่างตากับมือ การฝึกทักษะการฟัง การปฏิบัติตาม คำขอร้อง รวมท้ังสื่อสารกับคนอื่น ๆ ให้เข้าใจเพ่ือการทำกิจวัตรประจำวันได้อย่างดีตามวัย และศักยภาพ ของแต่ละบุคคล โดยมีโครงการ/กจิ กรรมท่สี นับสนนุ ให้ประสบความสำเร็จ ดงั น้ี โครงการประเมินกิจวัตรประจำวัน เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ โดยผ่านกิจกรรมการประเมินกิจวัตรประจำวัน เป็นการฝึกให้นักเรียนช่วยเหลือตนเอง ในการทำกิจกรรมต่างๆ ผ่านกิจกรรม เช่น การเล่านิทาน การมอบหมายหน้าที่เวรประจำวัน การเสริมแรง ของครูประจำช้ัน เพื่อให้นักเรียนมีพัฒนาการท่ีดีข้ึน สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ได้ด้วยตนเอง การฝึกไปเข้าห้องน้ำตามเวลาที่กำหนด ฝึกการล้างมือ 7 ข้ันตอน ฝึกการรับประทานอาหาร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 44 อย่างเป็นระเบียบ การปูท่ีนอน การฝึกเกี่ยวกับการนอนโดยไม่รบกวนผู้อ่ืน การเก็บท่ีนอน การเล่นของเล่น การเกบ็ ของเล่น การฝึกปฏิบตั ิตามข้อตกลงของห้องเรียน เป็นต้น เป็นการเรียนร้โู ดยกระบวนการกลมุ่ ซึ่งเป็น เครื่องมือในการขับเคลื่อนการเรียนนำไปสู่การฝึกทักษะการช่วยเหลือตนเอง ครูส่งเสริมสนับสนุนให้เกิด ความร้สู ึกภาคภูมใิ จในการช่วยเหลือตนเองหรือทำส่ิงต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยใช้แรงจงู ใจและใหเ้ วลาในการฝึก ปฏิบัติด้วยตนเองให้มากข้ึน ให้การเสริมแรง เพ่ือให้นักเรียนมีความพยายามที่จะทำด้วยตนเอง จนกระท่ัง สามารถทำได้ด้วยตนเองท้ังหมด ท้ังนี้ในขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง ครูประจำชั้น จะสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน เพื่อจัดเก็บข้อมูลนักเรียนอย่างเป็นระบบ เพ่ือเป็นข้อมูลในการส่งเสริม และช่วยเหลือนกั เรยี น ๑.๓.๒ มีวินัยในตนเอง โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภเู ก็ต มุ่งเน้นเสริมสร้างวนิ ัยในตนเองให้เดก็ ได้รบั การเรยี นรู้ระเบยี บ วินัยในสงั คม เช่น การรู้จักรอคอย การทำงานร่วมกับผู้อื่นช่วยเหลือกันไม่เอาเปรียบ รู้จักแบ่งปัน เสียสละ มี น้ำใจ เอ้ือเฟ้ือเพื่อแผ่ กล้าแสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ร่วมกันรับผิดชอบ งานกลุ่ม เป็นผู้นำผู้ตามท่ีดี การเก็บของท่ีใช้แล้วให้เป็นระเบียบ รวมไปถึงการอดทน การเข้าแถวตามลำดับ ก่อนหลัง ต้ังใจทำงานท่ีได้รับผิดชอบและคอยช่วยเหลือตามความเหมาะสม ซึ่งการเสริมสร้างวินัย ความรับผิดชอบและการฝึกเก่ียวกับการปฏิบัติตามข้อตกลง นอกจากการจัดประสบการณ์ในห้องเรียนแล้ว มวี ิธีการส่งเสรมิ เพ่อื ให้เดก็ เกดิ การเรยี นรู้และนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน ได้ดงั นี้ 1. โครงการลกู เสอื นอ้ ย 2. กิจกรรมสายตรวจประหยดั พลังงาน 3. กิจกรรมห้องเรยี นระเบยี บวินยั ดีเดน่ 4. กจิ กรรมสภาจ๋วิ ส่งเสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรียน ผลการจัดประสบการณใ์ ห้กับเด็ก พบวา่ เด็กทกุ คนเรียนร้ทู ่จี ะเลน่ และเกบ็ ของเล่นเขา้ ที่ มีวินัยในการรอคอย เข้าแถวเป็นระเบียบตามลำดับก่อนหลัง สามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืน ช่วยเหลือกัน ไม่เอาเปรียบกัน แบ่งปัน มีน้ำใจ กล้าแสดงความคิดเห็น รับฟังความคิดเห็นและความสามารถของผู้อ่ืน ร่วมกันรับผิดชอบผลงาน เป็นผู้นำและผู้ตามท่ีดี นอกเหนือจากการทำงานในห้องเรียนแล้ว ยังมีการจัดเวร รักษาความสะอาดประจำวัน เพ่ือให้เด็กได้ทำงานร่วมกันตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย มีการประเมิน พัฒนาการนักเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ๑.๓.๓ ประหยดั และพอเพยี ง โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ตระหนักถึงความสำคัญในการปลูกฝังการดำเนินชีวิต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังพระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “...การใช้จ่ายโดยประหยัดน้ัน จะเป็นหลักประกันความสมบูรณ์พูนสุขของผู้ประหยัดเองและครอบครัว ช่วยป้องกันความขาดแคลนในวันข้างหน้า การประหยัดจะมีผลดีแก่ผู้ประหยัดและจะเป็นประโยชน์ แกป่ ระเทศชาติดว้ ย...” (พระราชดำรัส เมือ่ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2502) ห ากการป ลูกฝังใน เร่ืองความป ระห ยัดป ระสบ ผลสำเร็จ การบ ริห ารจัดการชี วิต หรือการจัดการชีวิตของเด็ก ผู้ปกครอง ครู ประชาชน ก็จะดำเนินไปได้อย่างเรียบง่าย ความเดือนร้อนต่าง ๆ ในสังคมปัญหาสังคมก็จะลดลง ความสุข ความเจริญจะเกิดข้ึนท้ังแก่ตัวบุคคลและประเทศชาติ นั้นเป็นเป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษาเช่นกันดังนั้น จึงได้มุ่งเน้นจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้าง คณุ ลักษณะ ด้านความประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เช่น โครงการหนูน้อยปฐมวัยใส่

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 45 ใจสิง่ แวดล้อมกิจกรรมสายตรวจประหยัดพลงั งาน กจิ กรรมประกวดพื้นทรี่ กั ษ์สะอาด กจิ กรรมสุดยอดนักออม กิจกรรมโลกสวยดว้ ยมือเรา กจิ กรรมชวนลูกปลูกตน้ ไม้ ๑.๓.๔ การดูแลรกั ษาธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต มุ่งเน้นให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลรักษา ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและน้องห้องเรียน นอกจากการจัด ประสบการณ์ในห้องเรยี นแลว้ มวี ิธีการสง่ เสริมเพือ่ ให้เดก็ เกดิ การเรยี นรู้และนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ดังน้ี ๑. โครงการหนนู ้อยปฐมวัยใสใ่ จสิ่งแวดลอ้ ม กิจกรรมสายตรวจประหยดั พลงั งาน กจิ กรรม โรงเรียนสวยด้วยมือเรา ๒. โครงการปลกู ผกั สวนครวั ๓. โครงการประกวดพนื้ ทร่ี ักษาความสะอาด ๑.๓.๕ มมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทยและรักความเปน็ ไทย โ ร ง เรี ย น อ นุ บ า ล เท ศ บ า ล น ค ร ภู เก็ ต มุ่ ง เน้ น ท่ี จ ะ ให้ นั ก เรี ย น เติ บ โ ต เป็ น ผู้ มี ม า ร ย า ท ง า ม สามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย คณะครูจึงได้วางแผนจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น โครงการงามอย่างไทย การประกวดมารยาทไทย โครงการวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมส่งเสริม อัตลักษณ์นักเรียน ท.6 การประกวดห้องเรียนระเบียบวินัยดีเด่น กิจกรรมค่ายพุทธบุตรน้อย โครงการวันสำคัญทางศาสนา นักเรียนได้เรียนรู้การไหว้ การขอโทษและการขอบคุณรู้จักการปฏิบัติตน ต่อพระสงฆ์ และผู้ใหญ่ตามแต่โอกาส นักเรียนทุกคนได้ร่วมทำกิจกรรม นักเรียนสามารถปฏิบัติตน ได้อย่างเหมาะสม นับเป็นความภาคภูมิใจของนักเรียน ผู้ปกครองและโรงเรียนท่ีมีนักเรียนที่มีคุณภาพ เป็นทีป่ รากฏแกช่ มุ ชน ๑.๓.๖ อยูร่ ว่ มกับผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีความสุขและปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสงั คม โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ได้ส่งเสรมิ ให้ครูจดั ประสบการณ์การเรียนรู้แก่นักเรียนเพ่ือให้ นักเรียนมีความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ ผ่านกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ตามหน่วยบูรณาการ โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ลงมือ ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และเลือกปฏิบัติกิจกรรมตามความถนัดของตน รู้จักบูรณาการความรู้เข้าด้วยกัน รจู้ ักการทำงานเป็นทีม และมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกบั เพ่ือน กับครู และผ้ปู กครอง การเล่นและทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นการสร้างโอกาสทางการเรียนรู้ ให้เด็กได้ติดต่อพูดคุยกัน มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แบ่งปัน ประนีประนอม ตัดสินใจร่วมกัน การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกันและยังต้อง เรียนรู้การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี ท้ังยังเป็นการฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ ตอ่ งานของตนเองและงานกลุ่ม ซง่ึ จะทำใหเ้ ดก็ ได้รู้จกั การปรับตัวในการอย่รู ว่ มกนั ในกลุ่มอย่างมีความสขุ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ยังได้ดำเนินการส่งเสริมพัฒนาการ ให้นักเรียนมีทักษะในการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้ตามโครงการ เช่นโครงการส่งเสริมการศึกษาศิลปวัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้ และภมู ิปัญญาท้องถ่ิน เปน็ การจัดประสบการณ์ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาอยา่ งเต็มศักยภาพ ด้วยกระบวนการกลมุ่ โดยนำนักเรียนไปเรยี นรู้จากประสบการณ์จริงตามแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในจังหวัดภูเก็ต นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ด้วยการลงมือทำกิจกรรมด้วยตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียน สังเกต สำรวจ สร้างสรรค์ กระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ ได้สำรวจ เล่น ทดลอง ค้นพบ ดว้ ยตนเอง ได้มโี อกาสคดิ แก้ปญั หาเลอื กตัดสินใจใชภ้ าษาสื่อความหมาย คิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ เพ่อื ให้นักเรียน เล่น ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ยอมรับฟังความคิดเห็น และเป็นผู้นำ ผู้ตามท่ีดี สามารถทำกิจกร รม รว่ มกับเพ่อื นและผู้อืน่ ได้อย่างมีความสขุ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หนา้ 46 ๑.๔ มพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มัทักษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ ๑.๔.๑ ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วยั โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ตได้ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถใช้ภาษาสื่อสารไ ด้เหมาะสม กับวัยโดยสามารถบอกเล่า บอกความต้องการ ความรู้สึกของตนเองและถ่ายทอดเร่ืองราวให้ผู้อื่นเรียนรู้ และเข้าใจได้เหมาะสมกับวัย ดังน้ี การร่วมศึกษาและขอบข่ายการพัฒนาทักษะการสื่อสารอย่างเหมาะสม เช่น กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมภาษาอังกฤษวันละคำ การจัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดกิจกรรม เสริมสร้างพัฒนาการด้านสติปัญญาในด้านการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารอย่างเหมาะสม จัดกิจกรรมเสริมสร้าง ทักษะทางภาษาเพ่ือการส่ือสารอย่างเหมาะสม เช่น การนำเสนอผลงานหน้าชั้น-เรียน การเล่าเร่ืองจากภาพ การเล่านิทาน โครงการกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาทักษะการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ได้แก่โครงการ ส่งเสริมการอ่าน กจิ กรรมรักลูกอ่านให้ลูกฟัง กิจกรรมเล่าข่าวเช้านี้ กิจกรรมยอดนักอ่าน กิจกรรม Outdoor Speaking กิจกรรมภาษาอังกฤษวันละคำ เป็นต้น จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือฝึกทักษะการสื่อสาร อย่างเหมาะสมทั้งการพูด การฟัง การเล่าเรื่อง เล่าข่าวเหตุการณ์ การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น การบอก อธิบายส่ิงเรียนรู้ที่ค้นพบทั้งที่เป็นกิจกรรมในห้องเรียน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมหน้าเสาธงตอนเช้า เป็นต้น การท่ีครูเป็นแบบอย่างที่ดีเก่ียวกับการพูด โดยการพูดจาสุภาพ พดู ชัดเจน พูดถูกต้อง เป็นต้น การสร้างโอกาสในการสอ่ื สารในหลาย ๆ สถานการณ์ เช่น การเป็นผู้นำในการ พูดหน้าแถวการเป็นผู้นำในการสวดมนต์ การเป็นผู้นำในการพูดหน้าห้อง เป็นต้น จัดกิจกรรมร่วมกับ ผู้ปกครอง เพ่ือให้ความต่อเน่ืองในการฝึกทักษะการสื่อสาร เช่น การให้นักเรียนและผู้ปกครองยืมหนังสือ นิทานไปอ่านให้เด็กฟัง และบันทึกคำพูดนักเรียนเก่ียวกับนิทานท่ีได้ฟังลงในบันทีกสานสัมพันธ์บ้าน และโรงเรียน ๑.๔.๒ มที ักษะการคดิ พ้นื ฐาน โรงเรียนอนุบาลเทศบาลนครภูเก็ต ส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการ คิดพ้ืนฐาน ท่ีส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น ทักษะสังเกตจำแนกและเปรียบเทียบ ให้นักเรียนทำการเปรียบเทียบ บอกเวลา บอกความสัมพันธ์ของขนาด สีและรูปทรง และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะชีวิต โดยนักเรียนจะสรุปความรู้ท่ีได้รับมาเป็นองค์ความรู้ ตามวยั และศกั ยภาพของผเู้ รยี น โครงการ/กิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาความสามารถในการสังเกต จำแนกและเปรียบเทียบ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้แบบ STEM ศึกษา กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ โครงการ Project Approach กิจกรรมเกมการศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ิงฝึกทักษะการสังเกต จำแนก และเปรียบเทียบโดยให้เด็กใช้ระบบ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อทำการสังเกต สำรวจส่ิงต่าง ๆ อย่างละเอียดลออ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อฝึก ทักษะจำแนกเปรียบเทียบและบอกข้อแตกต่าง ด้านคุณสมบัติของสี รูปร่าง เป็นต้นจัดสถานการณ์การ เรียนรู้ให้มีโอกาสในการสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ เช่น จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ STEM ศึกษา การจดั การเรียนรู้ แบบโครงการ Project Approach กิจกรรมเกมศกึ ษา เปน็ ต้น วางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยการจัดกิจกรรมประจำวันทั้ง 6 ตามตารางการจัด กิจกรรมประจำวันระดับปฐมวัย เพ่ือให้เด็กได้เรียนด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางตาในการมอง และการสังเกต เรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหูในการได้ยินหรือฟังเสียงต่างๆ เรียนรู้ด้วยประสาท สัมผัสทางร่างกายในการสัมผัส หยิบจับสิ่งต่างๆ เรียนรู้รสชาติสิ่งต่างๆด้วยการใช้ประสาทสัมผัสล้ิน ในการชิมรส และเรียนรู้กลิ่นต่างๆจากการใช้ประสาทสัมผัสจมูกในการดมกลิ่น เพื่อให้นักเรียนใช้สายตา ในการมอง และการสังเกต ใช้มือและอวัยวะทางกายสัมผัส จับต้องส่ิงต่างๆ เพ่ือให้รู้ว่านุ่มหรือแข็ง ขรุขระ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา(SAR) หน้า 47 หรือเรียบ การรบั รกู้ ลิ่นต่างๆว่า หอมหรือเหม็นด้วยการใช้จมูกในการดมกล่ิน การฟังเสียงต่างๆ ว่าไพเราะ น่าฟัง หรือเสียงดังรบกวน ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทางหู และการรับรู้เก่ียวกับรสชาติอาหารต่างๆ วา่ หวาน เปรี้ยว เค็ม ขม หรือเฝ่ือนด้วยการใช้ล้นิ ชิมรส การเรยี นรู้ด้วยประสาทสัมผัสท้ังหา้ เปน็ การสำรวจ สิ่งต่างๆ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนาทักษะทางด้านสติปัญญา เช่น ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ทักษะพน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะทางภาษา เปน็ ต้น การจัดกิจกรรมประจำวนั คณะครูได้ดำเนินการ ดังน้ี กิจกรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะ นอกจากจะมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนได้เคลื่อนไหว ร่างกายส่วนต่างๆ และเพ่ือผ่อนคลายแล้ว กิจกรรมต่างๆ ที่จัดให้กับนักเรียนยังส่งเสริมในเรื่องการเรียนรู้ จากการใช้ประสาทสัมผัสท้ังห้าด้วย โดยเฉพาะการรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัสทางหู เช่น การเคลื่อนไหว พ้ืนฐานท่ีเน้นให้นักเรียนเคลื่อนไหวร่างกายตามจินตนาการ ตามจังหวะเคาะ หรือเสียงดนตรี และครูสร้าง ข้อตกลง กับนักเรียนว่าเม่ือไหร่ที่ครูเคาะติดต่อกัน 2 คร้ังให้นักเรียนหยุดเคลื่อนไหวในท่าทางนั้น หรือถ้าครูหยุดเพลงนักเรียนจะต้องหยุดเคลื่อนไหวทันที แสดงให้เห็นว่านักเรียนจะต้องฟังและปฏิบัติ ตามข้อตกลงที่ครูบอกจึงทำให้นักเรียนสามารถทำกิจกรรมนี้ได้ถูกต้อง หรือกิจกรรมการเคล่ือนไหว ตามคำสั่ง เช่น ครูส่ังให้นักเรียนเคลื่อนไหวเลียนแบบท่าทางสัตว์ ท่าทางของคน หรือการเคลื่อนไหว เลยี นแบบธรรมชาติ นักเรยี นจะตอ้ งใช้ประสาทสัมผัสด้วยการฟงั แล้วจงึ ปฏบิ ัติได้ เป็นต้น กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์มีรูปแบบการจัดให้นักเรียน ได้ปฏิบัติอย่างหลากหลายท้ังการสาธิต การทดลอง การประกอบอาหาร การศึกษานอกสถานที่ การจัด กิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่นักเรียนมีโอกาสได้เรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่น กิจกรรม การประกอบอาหาร การทำขนมเต่า ในขนั้ นำเข้าสู่กิจกรรม นักเรยี นจะได้สังเกตลักษณะของวตั ถุดิบท่ีนำมา ทำขนมเต่าด้วยการสังเกตด้วยตาว่า มีลักษณะอย่างไร มีสีหรือรูปร่างอย่างไร การสัมผัสจับต้องด้วยมอื ว่ามี ความแข็งหรือนิ่ม การใช้ประสาทด้วยการดมกลิ่นว่ามีกล่ินหอมหรือไม่ ส่วนในขั้นดำเนินกิจกรรมเด็กจะได้ ใชป้ ระสาทสัมผัสดว้ ยการจับหยิบสัมผัสวัตถุดิบต่างๆ ด้วยตนเอง ไดใ้ ชม้ ือในการป้ันไส้ขนมเต่า และป้ันแป้ง บดแป้งใส่พิมพ์ และเคาะแป้งออกจากแม่พมิ พ์ขนมเตา่ ไดส้ ังเกตด้วยตาว่าขนมเต่ามสี ่วนประกอบอะไรบ้าง สังเกตเห็นว่าแป้งขนมเต่าก่อนจะใส่หม้อน่ึงกับท่ีสุกแล้วแตกต่างกันอย่างไร เด็กจะได้สังเกตด้วยตา ได้ใช้ ประสาทสัมผสั ด้วยการดมกลนิ่ และในขั้นสุดท้ายเด็กจะได้ใชป้ ระสาทลิ้นในการชิมรสชาติวา่ มีรสชาติหวาน มนั อยา่ งไร ครสู ามารถเปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ได้เรยี นรู้โดยใชป้ ระสาทสัมผัสอย่างรอบด้าน กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ เป็นกิจกรรมที่นกั เรยี นไดแ้ สดงความรสู้ กึ และจนิ ตนาการผ่านกิจกรรมศิลปะ ที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมการวาดภาพระบายสี จะได้เรียนรู้ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสด้วยการใช้สายตา ในการวาดภาพและระบายสี ได้ใช้ประสาทสัมผัสด้วยการจับต้องในการหยิบจับดินสอและสีเทียน ในการระบายสีภาพท่ีวาด กิจกรรมการปั้นดินน้ำมัน ได้ใช้ประสาทสัมผัสมือและตาในการปั้นดินน้ำมัน ให้เป็นตัวสัตว์ คน หรือส่ิงของ กิจกรรมการร้อย จะได้ใช้ประสาทสัมผัสจากการมองเห็น และใช้ประสาท สัมผัสมือในจับควบคุมการทำงานระหว่างมือและตา เพ่ือให้สามารถร้อยดอกไม้ได้ถูกต้อง นอกจากน้ี นักเรียนยงั ใช้ประสาทสมั ผัสจมกู ในการดมกล่ินดอกไม้ที่นำมาร้อยไดด้ ว้ ย กิจกรรมเสรีหรือเล่นตามมุม เป็นกิจกรรมท่ีนักเรียนได้พัฒนาในด้านต่างๆ จากการเล่น และสำรวจวัสดุอปุ กรณป์ ระจำมุมต่างๆผ่านการเรยี นร้โู ดยใช้ประสาทสมั ผสั ต่างๆ เช่น มุมวิทยาศาสตร์ นักเรียนจะเรียนรู้ความแตกต่างของถุงธัญพืชจากการสัมผัสจับต้องด้วยมือว่ามี ความแข็งหรือนุ่ม แข็งกว่าอย่าง ไร เม่ือเขย่าถุงธัญพืชจะได้เรียนรู้เก่ียวกับเสียงจากการใช้ประสาทสัมผัส ทางหู หรอื การสงั เกตดว้ ยการฟงั