Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย2_พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

หน่วย2_พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Published by Belly'z NP, 2021-05-27 04:42:54

Description: หน่วย2_พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

Search

Read the Text Version

หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๑ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๓ หน่วยกำรเรียนรูท้ ่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี ๕ หน่วยกำรเรียนรูท้ ่ี ๖ หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๗ ๑_หลกั สูตรวิชาประวัตศิ าสตร์ ๒_แผนการจดั การเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_Clip ๕_ใบงาน_เฉลย ๖_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๗_ข้อสอบ_เฉลย ๘_การวดั และประเมนิ ผล ๙_เสรมิ สาระ ๙_สือ่ เสริมการเรียนรู้ บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๒หน่วยการเรยี นรู้ที่ พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ไทย สมยั รัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. วิเครำะห์พฒั นำกำรของไทยสมัยรัตนโกสนิ ทรใ์ นดำ้ นตำ่ งๆ ได้ ๒. วเิ ครำะห์ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อควำมมนั่ คงและควำมเจริญรงุ่ เรืองของไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ได้

การสถาปนาราชธานี เหตุผลของการต้งั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์เปน็ ราชธานี ท่ตี ้ังกรงุ ธนบุรีไม่เหมำะสม เพรำะอยู่ในท้องคงุ้ น้ำเซำะตลิง่ พังอยู่เสมอ บรเิ วณพระรำชวังเดิม ของสมเด็จพระเจำ้ ตำกสนิ มหำรำชคับแคบ ไม่สะดวกต่อกำรขยำยพระรำชวงั ให้กวำ้ งออกไป ฝง่ั กรงุ เทพฯ มชี ยั ภมู ิเหมำะ เพรำะมแี มน่ ำ้ เจำ้ พระยำ เปน็ คูเมอื งท้ังดำ้ นตะวนั ตก และดำ้ นใต้ ประกอบกับพ้นื ท่นี อกคเู มืองเดิมเปน็ พื้นท่ลี มุ่ ทเี่ กิดจำกกำรตื้นเขนิ ของทะเล ขำ้ ศึกจะยก ทัพมำดำ้ นนี้ ไดย้ ำก

เปน็ ศนู ยก์ ลำงของ มลี มมรสมุ พดั ผ่ำน อำณำจักรมี ทำให้มฝี นตกชุก เสน้ ทำงออกสู่ ทะเล ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ ความ มีแมน่ ้ำหลำยสำย มัน่ คงและความ ไหลผำ่ นออกสู่ เจริญรุ่งเรอื ง ทะเลบรเิ วณอ่ำว ไทย พระปรชี ำสำมำรถ เป็นศนู ยร์ วมของ ของ กำรขยำยตัว ทำงด้ำน พระมหำกษัตริย์ วฒั นธรรม ในรำชวงศจ์ ักรี

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ การบรหิ ารราชการแผ่นดินในส่วนกลาง พระมหำกษัตริย์ กรมมหำดไทย กรมกลำโหม กรมเมอื ง กรมวัง กรมทำ่ กรมนำ

การบริหารราชการแผ่นดินในส่วนหัวเมอื ง หัวเมืองชั้นนอก หวั เมอื งช้นั ใน หวั เมอื งประเทศราช

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ในส่วนท้องท่ี ประกอบดว้ ย หมู่บ้ำนหรือบ้ำน แต่ละหมบู่ ้ำนจะมีผูใ้ หญ่บ้ำนซึง่ เจ้ำเมอื งแตง่ ตง้ั เปน็ หวั หน้ำ หลำยหมู่บ้ำน รวมเปน็ ตำบล แตล่ ะตำบลจะมีกำนนั ซง่ึ เจ้ำเมอื งแตง่ ตง้ั เปน็ หัวหน้ำ หลำยตำบลรวมเป็นแขวง มีเจ้ำแขวงเป็น หวั หน้ำหลำยแขวงรวมเป็นเมอื ง มีเจำ้ เมอื งเปน็ ผมู้ อี ำนำจสูงสุดของเมืองนั้นๆ ภาพวาดจาาลองเหตุการณร์ ัชกาลท่ี ๑ โปรด เกลา้ ฯ ใหต้ รวจชาาระกฎหมายข้ึนใหม่ เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง นอกจำกน้ี ในกำรปกครองบ้ำนเมืองยังมีกำรใช้กฎหมำย ที่เรียกว่ำ กฎหมายตราสามดวง เป็นหลักเพ่ือ ควำมสงบเรยี บรอ้ ยดว้ ย

พัฒนาการดา้ นเศรษฐกจิ การค้าภายในประเทศ ลักษณะเศรษฐกิจเป็นแบบยังชีพโดยผลิตเพ่ือบริโภคในครัวเรือน หำกเหลือจึงนำไปเสียภำษี อำกรใหแ้ กท่ ำงรำชกำรและนำไปแลกเปลย่ี นซอ้ื ขำยกัน การค้ากับต่างประเทศ อยู่ภำยใต้กำรควบคมุ ของพระคลังสินคำ้ ท่ีผูกขำดกำรคำ้ กบั ตำ่ งประเทศ จนกระท่ังสมัยรัชกำลท่ี ๓ ไทยทำสนธิสัญญำทำงพระรำชไมตรีและกำรพำณิชย์กับอังกฤษ (ที่เรียกว่ำ สนธิสัญญำเบอร์นีย์) และกับ สหรัฐอเมริกำ ทำให้สินค้ำออกของไทย เช่น ข้ำว น้ำตำล พริกไทย เป็นที่ต้องกำรของพ่อค้ำต่ำงชำติจำนวน มำก

พัฒนาการดา้ นสงั คม โครงสร้างสังคมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น พระมหากษัตรยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ ขุนนาง ทรงเป็นพระประมุขของรำชอำณำจักร เป็นเครือญำติของพระมหำกษัตริย์ บุคคลที่รับรำชกำรแผ่นดิน มีท้ัง ทรงได้รับกำรยกย่องให้เป็นสมมติเทพ มศี กั ดินำแตกต่ำงกันไปตำมฐำนะ ศกั ดินำ ยศ รำชทินนำม และตำแหน่ง และทรงเป็นธรรมรำชำ ไพร่ ทาส พระภกิ ษสุ งฆ์ รำษฎรที่ต้องถูกเกณฑ์แรงงำนให้กับ บุคคลที่ไม่มีกรรมสิทธ์ิในแรงงำนและ เป็นบุคคลที่สืบทอดพระพุทธศำสนำ ทำงรำชกำรทั้งในยำมปกติและยำม ชีวิตของตนเอง ต้องตกเป็นทำสของ ซ่ึงได้รับกำรยกย่องและศรัทธำจำก สงครำม และต้องสงั กดั มลู นำย นำยจนกวำ่ จะได้ไถ่ตวั บคุ คลทกุ ชนชั้น

พัฒนาการด้านความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ ลกั ษณะความสมั พันธก์ บั รัฐเพ่ือนบ้าน รัฐเพือ่ นบ้ำน หมำยถึง รฐั ทต่ี ั้งอยู่ตดิ กบั ดินแดนรำชอำณำจักรไทย ประกอบด้วย ล้ำนนำ พม่ำ มอญ ล้ำนชำ้ ง เขมร ญวน และมลำยู กรณีควำมสัมพันธ์กับพม่ำเป็นกำรเผชิญหน้ำทำงกำรทหำร โดยสงครำมคร้ังสำคัญที่สุด คือ สงครำมเกำ้ ทัพใน พ.ศ. ๒๓๒๘ สมัยรัชกำลที่ ๒ และสมัยรัชกำลท่ี ๓กำรทำสงครำมต่อกัน ค่อยๆ ลดลงตำมลำดับ ทั้งน้ี เพรำะพม่ำต้องหันไปเผชิญหน้ำกับกำรคุกคำมของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก คือ อังกฤษ พม่ำจึงไม่ได้ คุกคำมไทยอีก ภาพวาดจาาลองเหตกุ ารณ์รชั กาลที่ ๓ โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ จา้ พระยาบดนิ ทรเดชา ยกทัพไปปราบญวนทข่ี ยายอาานาจในดินแดนเขมร

ลกั ษณะความสมั พันธ์กับจนี มีควำมสัมพันธ์ทำงด้ำนเศรษฐกิจ เพื่อผลประโยชน์ทำงกำรค้ำ กำรค้ำขำยกับจีนจะมีลักษณะ พิเศษ ทเ่ี รียกวำ่ กำรค้ำแบบรฐั บรรณำกำร โดยถำ้ รฐั ใดแตง่ ต้ังทูตพร้อมกับนำเคร่ืองรำชบรรณำกำรไปถวำย จักรพรรดิจีน รำชสำนักจนี ถอื ว่ำเข้ำมำอ่อนน้อมและให้กำรรบั รองกษตั ริย์ของรฐั นัน้ ๆ และอนุญำตให้ซอื้ ขำย กับจีน ภาพวาดเมืองกวางตุง้ ประตสู เู่ มืองจนี ท่ีเรือ ของราชทูตไทยต้องมาขึน้ ฝง่ั ทน่ี ่ีกอ่ นเดนิ ทาง ต่อไปยังปกั กิ่ง (ภาพวาดประมาณตน้ รัตนโกสินทร์ ในหนังสือ The Opium War)

ลกั ษณะความสมั พนั ธ์กบั ประเทศตะวันตก ในสมัยรตั นโกสินทร์ตอนต้น ไทยมีกำรติดต่อทำงกำรทูตกับประเทศตะวันตก ได้แก่ โปรตุเกส องั กฤษ และสหรัฐอเมริกำ ลกั ษณะควำมสัมพนั ธ์จะเป็นเรื่องผลประโยชนท์ ำงดำ้ นเศรษฐกจิ เป็นสำคญั โดยควำมสัมพันธ์ทำงด้ำนเศรษฐกิจนั้น ไทยยินดีให้โปรตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกำส่ง พ่อคำ้ เขำ้ มำคำ้ ขำยกบั ไทยได้ แต่ขณะเดียวกันก็เพ่ือรักษำควำมมั่นคงและปลอดภัยให้พ้นจำกกำรครอบครองของชำติ ตะวนั ตกด้วย

เหตุการณส์ าคัญที่มผี ลต่อพัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ ลักษณะความสมั พนั ธ์กับประเทศตะวนั ตก การอพยพเขา้ มาของชาวจีนในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ สาเหตขุ องการอพยพออก ปจั จัยทที่ าใหช้ าวจีน ปัจจัยท่ีทาใหช้ าวจีน นอกประเทศของชาวจนี อพยพเข้ามาในไทย อพยพเขา้ มาในไทย กำรเมืองภำยในของจีน ควำมอดุ มสมบรู ณ์และควำมสงบ ด้านการเพิ่มกาลังคน ซ่ึงช่วยเพ่ิมแรงงำนให้กับเมืองไทยใน สขุ ของแผน่ ดินไทย เวลำที่ฟนื้ ฟูบ้ำนเมอื งไดเ้ ปน็ อยำ่ งดี ภัยธรรมชำติ กำรมีชมุ ชนชำวจีนขนำดใหญ่ใน ด้านการปกครอง บำงคนได้มีบทบำททำงกำรปกครองโดย กำรเพิ่มจำนวนประชำกร ไทย เปน็ ขุนนำงไทย เช่น ชำวจีนชอ่ื เหยยี ง เปน็ พระยำสงขลำ และ เป็นต้นตระกูล ณ สงขลำ ด้านเศรษฐกิจ ชำวจีนอพยพประกอบอำชีพต่ำงๆ เช่น กำรค้ำ ทำสวนผกั เลี้ยงสัตว์ รวมถึงเจ้ำภำษี นำยอำกร ซ่ึงมี ควำมสำคญั ทำงเศรษฐกิจของไทย ด้านสังคม ชำวจีนอพยพบำงส่วนทำกำรละเมิดกฎหมำย มี กำรรวมตวั กันเปน็ อง้ั ยห่ี รือสมำคมลบั ลกั ลอบซือ้ ขำยฝ่ิน ส่งผล ให้ชำวไทยสูบด้วย ทำงรำชกำรต้องออกประกำศห้ำมกำรซ้ือ ขำยและสบู ฝ่นิ

การจดั ระเบียบสงั คมชาวจีนในสมัยรตั นโกสินทร์ ๑ ๒ ใหช้ ำวจนี จำ่ ยเงนิ ผกู ปี้ ในเมืองที่มชี ำวจีนอพยพอยมู่ ำก แทนกำรเกณฑ์แรงงำน ใหม้ ีกรมกำรเมืองหรอื เจำ้ หนำ้ ที่ ของเมอื งเป็นชำวจีนดว้ ย ทำให้มีรำยไดแ้ ละควบคุมชำวจีน ๔ ในสมยั ตอ่ มำ คอื รัชกำลที่ ๕ ๓ ทรงใหช้ ำวจนี ตงั้ เป็นสโมสรกำรคำ้ กวดขันให้หัวหนำ้ หรอื เถำ้ เก๋ ซ่ึงเป็น เป็นสมำคมในลกั ษณะอื่นได้ ซ่ึงตอ่ มำได้ นำยทุนชำวจีนทร่ี บั ชำวจนี อพยพ เข้ำมำ เปน็ สมำคมผู้บำเพญ็ ประโยชน์ ใหค้ วบคมุ ดูแลชำวจนี ใหด้ ี เช่น สมำคมมูลนธิ ริ ่วมกตัญญู

บทบาทของพระมหากษัตรยิ ์ในราชวงศจ์ กั รตี อ่ ความมน่ั คงและความเจริญร่งุ เรอื งของชาติไทย พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พระราชกรณียกจิ ทสี่ าคญั ด้านการเมืองการปกครอง ดา้ นความม่นั คง  ทรงสถำปนำกรุงเทพฯ เป็นรำชธำนี  ทรงป้องกันรำชอำณำจักรให้ปลอดภัย  ทรงสถำปนำรำชวงศ์จักรี โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ ในสงครำมเกำ้ ทัพ  โปรดเกล้ำฯ ใหม้ กี ำรชำระกฎหมำย เรียกวำ่ กฎหมายตราสามดวง ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม  โปรดเกลำ้ ฯ ใหส้ ังคำยนำพระไตรปิฎกทรงสนพระทัยวรรณคดี จึงมีวรรณคดีที่สำคัญหลำยเร่ือง เช่น รำมเกียรต์ิ รวมถงึ กำรแปลวรรณกรรมของตำ่ งชำติ เช่น สำมกก๊ และรำชำธิรำช

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั พระราชกรณยี กจิ ทส่ี าคัญ ด้านความมั่นคง ด้านศลิ ปวฒั นธรรม  โปรดเกล้ำฯ ให้ครัวมอญไปต้ังภูมิลำเนำ  ท ร ง มี พ ร ะ ป รี ช ำ ส ำ ม ำ ร ถ ใ น ด้ ำ น ท่ีแขวงเมืองปทุมธำนี เมืองนนทบุรีและ สถำปัตยกรรม ประติมำกรรม ดนตรี เมอื งนครเข่ือนขนั ธ์ นำฏศิลป์ และวรรณกรรมประเภทตำ่ งๆ  โปรดเกล้ำฯ ให้ไพร่มำรับรำชกำร ๑ เดือน  โปรดเกล้ำฯ ให้สร้ำงพระปรำงค์วัด อรุณ และอยู่กับครอบครัว ๓ เดือน ทรงให้มี รำชวรำรำม (วัดแจ้ง) กำรตรำกฎหมำยหำ้ มสูบและซ้ือขำยฝิ่น ภาพวาดจาลองทรงให้สรา้ งเมอื งนครเขอ่ื นขันธ์ ภาพวาดจาลองทรงซอสามสาย (พระประแดง)

พระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจ้าอย่หู ัว พระราชกรณียกิจทสี่ าคัญ ด้านความมน่ั คง ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม  ทรงป้องกันอำณำจักรด้วยกำรสกัด  ทรงมีรับส่ังโปรดเกล้ำฯ ให้สร้ำงเรือสำเภำท่ี ก อ ง ทั พ ข อ ง เ จ้ ำ อ นุ ว ง ศ์ ท ร ง ป ร ะ ส บ วดั ยำนนำวำ ควำมสำเร็จในกำรยุติกำรสู้รบระหว่ำง ไทยกบั ญวน  โปรดเกล้ำฯ ให้จำรึกวรรณคดีสำคัญ และ วิชำกำรแพทย์ลงแผ่นศิลำ แล้วติดไว้ตำม ศำลำรำยรอบบริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมัง คลำรำม ด้านการค้ากบั ตา่ งประเทศ  ทรงสนับสนนุ กำรคำ้ ท้ังกับเอเชยี และยุโรปมีกำรลงนำมในสนธสิ ญั ญำเบอร์นีย์