Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือชุมชนตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

หนังสือชุมชนตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

Published by soraya kochsawas, 2021-11-30 07:57:29

Description: หนังสือชุมชนตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

Keywords: ตำบลบ้านนา,จังหวัดระนอง,กะเปอร์

Search

Read the Text Version

บ้ า น น าห นั ง สื อ ชุ ม ช น ตำ บ ล 2564 ฉบับที่ 01 โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)



“การพัฒนาประเทศจำเป็น ต้องทำตามลำดับขั้น ต้อง สร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชน ส่ วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตาม หลักวิชา เมื่อได้พื้นฐาน มั่นคงพร้อมพอควรและ ปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้าง เสริมความเจริญและฐานะ เศรษฐกิจชั้นที่สูงขึ้ นโดย ลำดับต่อไป” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 20 ธันวาคม 2516

คำนำ ห นั ง สื อ ชุ ม ช น ตำ บ ล บ้ า น น า อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ จั ง ห วัด ร ะ น อ ง ฉ บั บ นี้ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง แ ผ น โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร ( ม ห า วิท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ป ร ะ เ ท ศ ) ก ร ะ ท ร ว ง อุ ด ม ศึ ก ษ า วิท ย า ศ า ส ต ร์ วิจั ย แ ล ะ น วัต ก ร ร ม ใ น ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ม ห า วิท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ สุ ร า ษ ฎ ร์ธ า นี เ พื่ อ จั ด ทำ ข้ อ มู ล ข น า ด ใ ห ญ่ ข อ ง ชุ ม ช น สู่ แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ก า ร นำ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ไ ป ช่ว ย บ ริห า ร ชุ ม ช น โ ด ย มี เ ป้ า ห ม า ย ที่ สำ คั ญ คื อ ใ ห้เ กิ ด ค ว า ม ฟื้ น ฟู เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ใ น พื้ น ที่ ทั้ง นี้ ก า ร ทำ ห นั ง สื อ ชุ ม ช น ตำ บ ล บ้ า น น า อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ จั ง ห วัด ร ะ น อ ง มี วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ศึ ก ษ า บ ริบ ท ต่ า ง ๆ ข อ ง ชุ ม ช น แ ล ะ จั ด ทำ ฐ า น ข้ อ มู ล ชุ ม ช น ค ณ ะ ผู้ จั ด ทำ ห วัง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ ก า ร ทำ ห นั ง สื อ ป ร ะ วัติ ศ า ส ต ร์ชุ ม ช น จ ะ ส า ม า ร ถ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ เ พื่ อ ใ ห้เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า ต า ม ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ชุ ม ช น

บ้านนา ส า ร บั ญ 01 05จังหวัดระนอง 09 สารจากผู้นำ ตำบลบ้านนา 07 33 อำเภอกะเปอร์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ช น 27 49 สถานที่ท่องเที่ยว การดำเนิ นงาน 37 โครงการยกระดับ เศรษฐกิจและสั งคม ป ร า ช์ ญ ช า ว บ้ า น รายตำบลแบบบูรณา การ

\" โครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ เป็นโอกาสที่ดีของมหาวิทยาลัยและชุมชนในเชิงพื้นที่ ที่จะช่วยกันพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในเชิงวิชาการ เชื่อมกับภูมิปัญญาในท้องถิ่น นำไปสู่การพัฒนาประเทศในอนาคต \" ผศ.ดร.วัฒนา รัตนพรหม รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

สารจากรองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ \" โครงการนี้ เป็นโครงการที่ดี และจะเกิดประโยชน์ ต่อชุมชน และส่ง เสริมศักยภาพของผู้ได้รับการจ้างงาน โครงการยกระดับเศรษฐกิจและ สังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ) สร้างงานที่ มั่นคง สร้างคนในท้องถิ่นให้มีทักษะวิศวกรสังคม สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง และพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน \" ดร.พลกฤต เเสงอาวุธ PROJECT MANAGER โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสั งคมรายตำบลแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยสู่ ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี บ้ า น น า |     2

กำนันตำบลบ้านนา ผมในฐานะกำนั นตำบลบ้านนา รู้สึกชื่นชอบในตัวโครงการ โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย ) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี นอกจากจะส่งเสริม ให้ประชาชนในพื้นที่มีรายได้แล้วนั้ น ยังทำให้กลุ่มชุมชนตำบลบ้านนาเป็น ที่รู้จักมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้ประชาชนรู้จักการประยุกต์ความรู้ ความ สามารถที่มีให้เข้ากับเทคโนโลยีและสื่อต่าง ๆ โดยการทำอาชีพผ่านช่องการ ออนไลน์ นั่ นเอง รวมไปถึงการให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการเข้าถึง ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ผ่านช่องทางต่าง ๆ บ้ า น น า |   3 นายสถาพร สิ งห์แก้ว กำนั น (ผู้ใหญ่บ้าน) หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

ความรู้สึกจากตัวแทนชาวบ้านตำบลบ้านนา โครงการนี้ เป็นโครงการที่ดี และเกิดประโยชน์ ต่อ ชุมชน ส่งเสริมอาชีพให้คนในชุมชนได้นำไปพัฒนาต่อและเกิด รายได้ต่อครัวเรือน ทำให้ได้ใช้เวลาที่ว่างจากการประกอบ อาชีพหลัก มาหารายได้เสริม จากการร่วมโครงการาในครั้งนี้ ได้รับข้อคิดและความรู้มากมาย ที่สามารถนำมาปรับใช้ในการ ดำเนิ นชีวิตได้ นางสาวศุกลภัทร รัตนสุภา ชาวบ้าน ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

RANONG ภู เ ข า ห ญ้ า คอคอดกระ ภูเขาหญ้า กาหยูหวาน ธารน้ำแร่ มุกแท้เมืองระนอง ห นั ง สื อ ชุ ม ช น ตำ บ ล บ้ า น น า U2T SRU บ้ า น น า |     5

ระนอง จังหวัดแรกของภาคใต้อยู่ ริมฝั่ งทะเลอันดามัน ระยะทางจาก กรุงเทพฯ ถึง ตัวเมืองระนอง 568 กิโลเมตร มีพื้นที่ 3,298.04 ตาราง กิโลเมตร แบ่งเป็น 5 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอกะเปอร์ อำเภอกระบุรี อำเภอละอุ่น อำเภอสุขสำราญ ลักษณะของพื้นที่มีรูปร่างเรียวยาว และแคบ โดยมีส่วนที่ยาวที่สุด ประมาณ 169 กิโลเมตร ส่วนกว้าง ที่สุดอยู่ในอำเภอกระบุรี มีความ กว้างเพียง 9 กิโลเมตร และเป็นที่ ตั้งของคอคอดกระ หรือกิ่วกระ ซึ่ง เป็นส่ วนแคบที่สุดของแหลมมลายู มีความกว้าง 44 กิโลเมตร อาณาเขต ทิศเหนื อ ติดต่อกับ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร และสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมา ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอคีรีรัฐนิ คม จังหวัดสุราษฎร์ธานี และอำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอเมือง อำเภอสวี และอำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอเกาะสอง เขตทวาย สหภาพเมียนมา และทะเล อันดามัน

อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ U2T SRU บ้ า น น า |   7

\" กะเปอร์เมืองธรรมะ สั กการะหลวงพ่อเบี้ยว ท่องเที่ยวเกาะค้างคาว หาดทรายยาวบางเบน ป่าชายเลนล้ำค่า สูงเสียดฟ้าเขาโชงโดง \" อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ที่ นี่ เป็นอำเภอเล็ก ๆ อยู่ติดกับ ทะเลอันดามัน ตั้งอยู่ทางทิศใต้ ของจังหวัดระยะทางจากตัว เมืองระนอง ถึงอำเภอกะเปอร์ มี พื้นที่ 657.688 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็น 5 ตำบล ดังนี้ ตำบลม่วงกลวง ตำบลกะเปอร์ ตำบลเชี่ยวเหลียง ตำบลบ้านนา ตำบลบางหิน อาณาเขต ทิศเหนื อ ติดต่อกับ อำเภอเมืองระนอง และอำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอสุขสำราญ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอท่าชนะ อำเภอวิภาวดี และ อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ทะเลอันดามัน

บ้านนา ก ะ เ ป อ ร์ ร ะ น อ ง ห นั ง สื อ ชุ ม ช น น้ำ ต ก ส า ย รุ้ ง ล ะ อ อ ง ด า ว U2T SRU

BANNA KAPOE RANONG Namtok La-ong Dao U2T SRU บ้ า น น า |   1 0

ประวัติความเป็นมา ตำ บ ล บ้ า น น า อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง

อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล บ้ า น น า ไ ด้ รับ ก า ร ย ก ฐ า น ะ จ า ก “ ส ภ า ตำ บ ล บ้ า น น า ” เ ป็ น “ อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล บ้ า น น า ” ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดย ป ร ะ ก า ศ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุเ บ ก ษ า เ ล่ ม ที่ 1 1 3 ต อ น พิ เ ศ ษ ที่ 5 2 ง ล ง วั น ที่ 2 5 ธัน ว า ค ม 2 5 3 9 โ ด ย มี ผ ล บั ง คั บ ใ ช้ ตั้ ง แ ต่ วั น ที่ ป ร ะ ก า ศ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุเ บ ก ษ า เ ป็ น ต้ น ไ ป มี พื้ น ที่ รับ ผิ ด ช อ บ ใ น เ ข ต ตำ บ ล บ้ า น น า อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง ซึ่ ง ใ น ปั จ จุ บั น มี จำ น ว น 8 ห มู่ บ้ า น จ น ก ร ะ ทั่ ง ไ ด้ มี ร า ช กิ จ จ า นุเ บ ก ษ า ฉ บั บ ป ร ะ ก า ศ ทั่ ว ไ ป เ ล่ ม ที่ 1 2 1 ต อ น พิ เ ศ ษ 1 1 1 ง ล ง วั น ที่ 5 ตุ ล า ค ม 2 5 4 7 ใ ห้ ยุ บ ร ว ม อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล เ ชี่ย ว เ ห ลี ย ง เ ข้ า กั บ อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล บ้ า น น า ต า ม ป ร ะ ก า ศ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย เ รื่อ ง ก า ร ยุ บ ร ว ม อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล กั บ อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล ซึ่ ง มี ป ร ะ ช า ก ร ไ ม่ ถึ ง ส อ ง พั น ค น ต า ม ม า ต ร า 4 1 จั ต ว า แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส ภ า ตำ บ ล แ ล ะ อ ง ค์ ก า ร บ ริห า ร ส่ ว น ตำ บ ล พ . ศ . 2 5 3 7 แ ก้ ไ ข เ พิ่ ม เ ติ ม ( ฉ บั บ ที่ 5 ) พ . ศ . 2 5 6 4 ตำ บ ล บ้ า น น า มี 8 ห มู่ บ้ า น บ้ า น น า |   1 2

ตําบลบ้านนา ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกของอําเภอกะเปอร์ ระยะทางห่าง จากที่ว่าการอําเภอกะเปอร์ ประมาณ 17 กิโลเมตร มีขนาดเนื้ อที่ทั้งหมด 100.99 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 63,118.75 ไร่ มีถนนเส้น ทางหมายเลข 4130 ซึ่งเป็นเส้นทาง หลักในการเดินทางคมนาคม โดย สามารถใช้เส้ นทางของถนนสายนี้ เดินทางไปยังอําเภอกะเปอร์ จังหวัดระนองและเชื่อมโยงไปยัง จังหวัดพังงา และเส้นทางที่จะใช้เดิน ทางไปยังกรุงเทพมหานคร อาณาเขต ทิศเหนื อ ติดต่อกับ ตําบลปากทรง อําเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ทิศใต้ ติดต่อกับ ตําบลบางหิน อําเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตําบลประสงค์ อําเภอท่าชนะ และตําบลปากฉลุย อําเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตําบลกะเปอร์ อําเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

ลักษณะ ภูมิประเทศ พบเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อนล้อม รอบเกือบทั้งตำบล บางบริเวณเป็น พื้นที่ลาดเชิงเขา และที่ราบแคบ ๆ ระหว่างภูเขา พื้นที่บางส่วนทาง ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนื อ ทาง ด้านทิศเหนื อ และบริเวณตอน กลางของตำบล เป็นที่ราบลูกเนิ น ที่ราบลุ่มริมคลองและลำห้วย สาย ต่าง ๆ มีลำคลองหลายสายไหลผ่านตลอด ปีจากการจำแนกพื้นที่ตามระดับน้ำ ทะเล มีรายละเอียดดังนี้ 1. ที่ราบสูงจากระดับน้ำทะเล ตั้งแต่ 10-14 เมตร มีพื้นที่ประมาณ ร้อยละ 70 ของพื้นที่ทั้งหมดส่วนใหญ่ เป็นที่ราบจนถึงลูกคลื่นลอนลาตอยู่ ในหมู่ที่ 3,4,5,6,7 ตำบลเชียวเหลียง และหมู่ที่ 3,4,5,6,7,8 ตำบลบ้านนา 2. ที่ราบสูงจากระดับน้ำทะเล ตั้งแต่ 20-24 เมตร มีพื้นที่ประมาณ ร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดกระจาย อยู่ทุกหมู่บ้าน 3. ที่ราบสูงจากระดับน้ำทะเล ตั้งแต่ 5-4 เมตร มีพื้นที่ร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้งหมดกระจายอยู่ทุก หมู่บ้าน บ้ า น น า |   1 4

ลักษณะ ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศอยู่ภายใต้ อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉี ยง ใต้ทำให้มีฝนตกชุกเกือบตลอดปี เฉลี่ยประมาณ 200 วันต่อปี ปีหนึ่ ง มี 2 ฤดู คือฤดูร้อนและฤดูฝน ฤดูร้อน ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม มี อากาศร้อนมากและนั บวันจะร้อน มากขึ้น เนื่ องจากสภาพแวดล้อม เปลี่ยนแปลงไป ฤดูฝน แบ่งออกเป็น 2 ช่วง เพราะได้รับอิทธิพลของลมแตกต่าง กัน ช่วงที่หนึ่ งระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม มีฝนตกชุกมาก เนื่ องจากได้รับอิทธิพลของลมมรสุม ตะวันตกเฉี ยงใต้จากทะเลอันดามัน ช่วงที่สองระหว่างเดือน พฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ได้รับ อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉี ยง เหนื อ พัดมาจากฝั่ งอ่าวไทย ทำให้มี ฝนตกเบาบาง อุณหภูมิไม่สูงนั ก อากาศเย็นสบาย อุณหภูมิมีความแตก ต่างกันไม่มากนั กระหว่างเดือนที่มี อุณหภูมิสูงที่สุดกับเดือนที่มีอุณหภูมิ ต่ำที่สุด มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 16- 39.5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝน เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3,417–5,248 มิลลิเมตรต่อปี

แ ม่ น้ำ สำ คั ญ ลักษณะของแหล่งน้ำมีภูเขาและป่าไม้ที่ อุดมสมบูรณ์ จึงเกิดแม่น้ำลำคลองหลาย สาย มีน้ำไหลผ่านตลอดปี มีแหล่งน้ำ ธรรมชาติ คลองลำน้ำลำห้วย 27 สาย ได้แก่ 1) คลองแพรกซ้าย หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 2) คลองแพรกขวา หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา 3) คลองทองหลาง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านนา 4) ห้วยบางนาหมู่ที่ 1, 2 ตำบลบ้านนา 5) ห้วยบางมุด หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านนา 6) ห้วยออก หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา 7) ห้วยนา หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา 8) ห้วยนา หมู่ที่ 2 ที่ 3 ตำบลบ้านนา 9) ห้วยเตย หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านนา 10) ห้วยโคลน หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านนา 11) ห้วยม่วง หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 12) ห้วย ส.จ.จิตร หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 13) ห้วยต้นเสียด หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 14) ห้วยธรรมนูญ หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 15) ห้วยวังปลา หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา 16) ห้วยต่อศอก หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 17) ห้วยตะเคียน หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 18) ห้วยจิก หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 19) ห้วยน้ำใส หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 20) ห้วยตาพราหมณ์ หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านนา 21) ห้วยเตยหอม หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านนา 22) ห้วยซ่องหมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา 23) ห้วยบางบาย หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 24) ห้วยวังหงวน หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านนา 25) ห้วยต้นเรียน หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา 26) ห้วยเตย หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านนา 27) ห้วยเตย หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา บ้ า น น า |   1 6

ทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะของไม้และป่าไม้ เป็นป่าไม้ประเภทป่าดิบชื้น ในเขต พื้นที่นี้ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ จึงทำให้มีพรรณไม้น้ อยใหญ่นานา ชนิ ด พรรณไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ตะเคียนหิน กะบาก ยางนา จำปา ไข่เขียว ตาเสือ หลุมพอ เสียดช่อ อินทนิ ล ส้าน สมอภิเภก มะเม่า ก่อ แซะ มะเฟืองช้าง ไทรย้อยใบคู่ ทรหิน สะตอ มะปริง และ เต่าร้าง สำหรับพรรณไม้ที่เป็นอาหารของสัตว์ป่า ได้แก่ มะกอกป่า ไทร มะม่วงป่า พะเนี ยง กระท้อนป่า มะหาด หว้า ขนุนป่า ไผ่ผาก ระกำ และหวาย เป็นต้น และพรรณไม้พื้นล่างต่าง ๆ หลายชนิ ด เช่น ปาล์ม เฟิร์น และกล้วยไม้ เป็นต้น

คมนาคม การคมนาคมขนส่ ง มีถนนเส้ นทางหมายเลข 4130 ซึ่งเป็นเส้ นทางหลักในการ เดินทางคมนาคม โดยสามารถ ใช้เส้ นทางของถนนสายนี้ เดิน ทางไปยังอำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนองและเชื่อมโยงไป ยังต่างจังหวัดคือ จังหวัดพังงา และเส้ นทางที่จะใช้เดินทางไป ยังกรุ งเทพมหานคร บ้ า น น า |   1 8

โ ค ร ง ส ร้ า ง ชุ ม ช น ด้ า น ก า ร ป ก ค ร อ ง เขตการปกครองเขตพื้นที่องค์การบริหารส่ วนตำบลบ้านนา ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน นายสถาพร สิงห์แก้ว หมู่ที่ 6 นายเกรียงศักดิ์ เมืองมินทร์ กำนั น (ผู้ใหญ่บ้าน) บ้านนาเดิม หมู่ที่ 4 (ผู้ใหญ่บ้าน) บ้านแพรกซ้าย หมู่ที่ 1 บ้านนา นายนที สอนสวัสดิ์ หมู่ที่ 5 นายวาลิต เพชรนุ้ ย (ผู้ใหญ่บ้าน) บ้านแพรกขวา (ผู้ใหญ่บ้าน) นายเสมา ก้อนแก้ว หมู่ที่ 2 นายมนตรี โอชารส (ผู้ใหญ่บ้าน) บ้านกลาง (ผู้ใหญ่บ้าน) หมู่ที่ 7 บ้านทองหลางล่าง หมู่ที่ 3 บ้านทองหลาง นายกัณจัตพงศ์ คงประพันธ์ หมู่ที่ 8 นายเฉลียว ขนอม (ผู้ใหญ่บ้าน) บ้านทรัพย์สมบูรณ์ (ผู้ใหญ่บ้าน)

ด้ า น ป ร ะ ช า ก ร ชาย 1,100 คน มีครัวเรือน ทั้งหมด 770 ครัวเรือน จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริง ทั้งหมด 2,196 คน หญิง 1,096 คน ด้านการศึ กษา โรงเรียน 2 แห่ง - โรงเรียนบ้านนา - โรงเรียนบ้านทองหลาง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแพรกซ้าย - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทองหลาง ด้ า น ศ า ส น า ผู้นั บถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.38 ของจำนวนประชากร ทั้งหมดในเขต อบต. ผู้นั บถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 0.33 ของจำนวนประชากร ทั้งหมดในเขต อบต. ผู้นั บถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 0.21 ของจำนวนประชากร ทั้งหมดในเขต อบต. ผู้นั บถืออื่น ๆ ร้อยละ 0.04 ของจำนวนประชากร ทั้งหมดในเขต อบต. บ้ า น น า |     2 0

โ ค ร ง ส ร้ า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ อ า ชี พ (1) การเกษตร เกษตรกรร้อยละ 40 ของจำนวน เกษตรกรทั้งหมดใช้พื้นที่ทำการเกษตร แบบไร่นาสวนผสมและเกษตรผสมผสาน ร้อยละ 20 ของจำนวนเกษตรกรทั้งหมด ใช้พื้นที่ทำการเกษตรแนบเชิงเดี่ยว พืชที่ ปลูกมาก ได้แก่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา กาแฟ ไม้ผล พืชผัก ฯลฯ (2) การประมง เกษตรกรในพื้นที่มีการเลี้ยงสัตว์น้ำ จำนวน 320 ครัวเรือนรวม 324 บ่อ การเลี้ยงสัตว์น้ำที่ สำคัญ ได้แก่ ปลานิ ล ปลาตะเพียนขาว ปลาดุก ฯลฯ (3) การปศุสัตว์ ส่ วนใหญ่เป็นการเลี้ยงสั ตว์เพื่อบริโภคในครัว เรือน มีเลี้ยงโคเพื่อจำหน่ าย เพียงไม่กี่รายประกอบ ด้วยการเลี้ยงโคเนื้ อ จำนวน 4 ครัวเรือน สุกร 30 ครัวเรือน ไก่ 360 ครัวเรือน บ้ า น น า |     2 1

(4) การบริการ ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่ วนตำบล บ้านนายังไม่โรงแรมหรือรีสอร์ท ให้บริการ มีเพียงบ้านพักหรือบ้านเช่าเท่านั้ น (5) อุตสาหกรรม ส่ วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน อาศั ยแรงงานจากสมาชิกในครอบครัวและ แรงงานในพื้นที่เป็นหลักโรงงานขนาดใหญ่ ยังไม่มี (6) การพาณิ ชย์และกลุ่มอาชี พ ไม่มีร้านสะดวกซื้อ หรือร้านค้าปลีก ขนาดใหญ่ ส่ วนใหญ่เปิดบริการเป็น ร้านโชห่วย ร้านอาหารตามสั่ ง ร้านข้าวราดแกง ร้านค้าสิ นค้า รับซื้อยางพารา ปั้ มน้ำมันขนาดเล็ก สถานที่รับซื้อปาล์มน้ำมัน (ลานปาล์ม) กลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่มเป็ดบ้านนา กลุ่มชาตะไคร้ กลุ่มเลี้ยงโค กลุ่มเลี้ยงปลา ฯลฯ (7) แรงงาน ส่ วนใหญ่ทำอาชีพเกษตรกรรม ใช้แรงงาน ในครัวเรือนเป็นหลัก ส่ วนที่ใช้แรงงาน ต่างด้าว เช่น เมียนมาร์มีจำนวนไม่มากนั ก

ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม (1) ประเพณีงานลอยกระทง มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัย เรียกว่า การลอย พระประทีป หรือลอยโคม ต่อมานางนพมาศ หรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วง ได้คิดประดิษฐ์ดัดแปลงเป็นรูปกระทงดอกบัว แทนการลอยโคม อันที่จริงลอยกระทงเป็น ประเพณี ขอขมาธรรมชาติมาแต่ดึกดำบรรพ์ จังหวัดระนองได้จัดประเพณี ลอยกระทงในวัน เพ็ญเดือน 12 ของทุกปี อันเป็นวันพระจันทร์ เต็มดวง และเป็นช่วงที่น้ำหลากเต็มตลิ่ง (2) ประเพณีวันสงกรานต์ วันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย แบบโบราณ เมื่อมีโอกาสดีๆ มาถึงบรรดา ลูกหลานจึงไปคารวะผู้ใหญ่ที่มีอายุมากๆ เพราะบางครั้งตนอาจจะกระทำล่วงเกินไป บ้างโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ทั้งกายกรรม วจี กรรม มโนกรรม ดังนั้ นจึงมีการกราบเพื่อ ขอขมาและขอศีลขอพร โดยนำดอกไม้ธูป เทียน ข้าวเกรียบเงิน ใส่พานเสื้อผ้าชุด ใหม่ ผ้าขาวม้าใหม่หรือผ้าถุงโหม่ไปขอขมา และขอศีลขอพรกำหนดจัดงานในวันที่ 13-14 เมษายนของทุกปี

(3) ประเพณีสวดกลางบ้าน เป็นการสวดภาณยักษ์ไล่ภูตผีปีศาจทั้ง หลาย โดยชาวบ้านทุกครัวเรือนจะดัดผม ตัดเล็กห่อด้วยกระดาษขาวหรือกระดาษ แข็งใส่ ลงแพที่ทำด้วยไม้ระกำและประดับ ประตารอบๆ แพด้วยธงแดงที่ทำจาก กระดาษสี เมื่อน้ำทะเลหรือน้ำในแม่น้ำขึ้น เต็มที่ก็จะมีการปล่อยแพไปตามแม่น้ำ ถือ เป็นการสะเดาะเคราะห์ มีการจัดการวัน 3 คืน และมีมหรสพจัดแสดงด้วยกำหนดจัด งานประมาณเดือนมกราคมหรือเดือน เมษายนของทุกปี (4) ประเพณีออกพรรษา ในวันออกพรรษา จะมีประเพณีที่นิ ยมปฏิบัติกัน ดังนี้ ประเพณีทำพุ่มหรือผ้าป่าจะทำกันในตอนบ่าย ของวันออกพรรษาโดยแต่ละบ้านจะจัดทำพุ่มไว้ ถวายพระสงฆ์หลังจากถวายผ้าป่าแล้วพระภิกษุก็จะ ซักผ้าบังสุกุลแล้วให้พระแก่เจ้าของพุ่มกำหนดจัด งานในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ของทุกปี (5) ประเพณีตักบาตรเทโว เกิดจากความเชื่อกันว่าในวันออกพรรษานี้ เป็น วันที่องค์สมเด็จพระสั มมาสั มพุทธเจ้าเสด็จลงมา จากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ลงมาโปรตมนุษย์โลก เมื่อ ถึงวันนี้ ชาวพุทธจะนำอาหารคาวหวานไปใส่บาตร ซึ่งเป็นประเพณี ทางศาสนาที่ปฏิบัติสื บทอดกันมา ช้านาน กำหนดจัดงานในวันออกพรรษาของทุกปี บ้ า น น า |     2 4

สถานที่สำคัญ วัดป่ าสะเดา สำนั กสงฆ์ทองหลางล่าง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ท อ ง ห ล า ง โ ร ง เ รี ย น บ้ า น น า บ้ า น น า |     2 5

วั ด วัดป่าสะเดา หมู่ที่ 4 ตําบลบ้านนา อําเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง วัดวังทอง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง สำนั กสงฆ์ สำนั กสงฆ์ทรัพย์สมบูรณ์ หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง สำนั กสงฆ์ทองหลางล่าง หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง โ ร ง เ รี ย น โรงเรียนบ้านนา หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง เปิดสอนอนุบาล-มัธยมศึ กษาตอนต้น โรงเรียนบ้านทองหลาง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง เปิดสอนอนุบาล-ประถมศึ กษา ศู นย์พั ฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแพรกซ้าย หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทองหลาง หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง

สถานที่ท่องเที่ยว ภูสู่เล ที่ มาของคำว่า “ภูสู่ เล” ภู หมายถึง ภูเขา เล หมายถึง ทะเล โดยความหมายของคำว่าภูสู่ เล คือ การเที่ยวจากภูเขาจนไปถึงทะเล กิ จ ก ร ร ม มีกิจกรรม Avengers ให้เล่นมากมายไม่ว่าจะเป็น ล่องแก่ง เดินป่า เดินเขา เป็นต้น ติ ด ต่ อ นายเผชิญศั กดิ์ เจียกขจร 081-8613852 ที่ อยู่ ภูสู่ เล โฮมสเตย์ 415 หมู่ 7 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์จังหวัด ระนอง 85120 บ้ า น น า |     2 7

PHUSULAE HOMESTAY RANONG

น้ำตกละอองดาว ตั้งอยู่ตำบลบ้านนาในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองนาคา สภาพ โดยรอบเป็นป่าดิบชื้นที่อุดมสมบูรณ์ด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นน้ำตก ที่ขึ้นชื่อว่าสวยงามมากของจังหวัดระนอง สายน้ำตกไหลลดหลั่นลงมา ตามแนวหินซึ่งมีสีเขียวของพรรณไม้แทรกแชม การเดินทางเข้าไปเส้น ทางสู่น้ำตกค่อนข้างยากลำบาก ลุยธารน้ำ และปีนป้ายขึ้นภูเขาที่มี ความชัน NAMTOK LA-ONG DAO

การเดินทาง การเดินทาง จากตัวอำเภอ กะเปอร์ ไปตามทางหลวง หมายเลข (เส้นทางไปพังงา) ประมาณ 25 กิโลเมตร ถึง กิโลเมตรที่ 685-686 เลี้ยว ซ้ายตามป้าย 200 เมตร ถึงที่ ทำการเขตรักษาพันธุ์สั ตว์ป่า คลองนาคา ติดต่อเจ้าหน้าที่อุ ทยานฯ เพื่อเดินทางต่อไปที่ หน่วยพิทักษ์ป่าบ้านนา ระยะ ทาง 45 กิโลเมตร ซึ่งเป็นจุด เตรียมตัวเริ่มต้นการเดินทาง สู่ น้ำตกละอองดาว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา โทร. 07787 4210 ต้องเตรียมพร้อมอุปกรณ์ในการเดินป่าและพักแรม เช่น เสื้อผ้ารัดกุมสะดวก สำหรับการท่อง น้ำ และปีนเขา ถุงกันทาก เปลสนาม ผ้าใบกันฝนเสื้อกันฝน ขวดน้ำดื่มพกพา กระเป๋าหรือเป้ที่สามารถกันน้ำเข้าได้ ผู้ที่จะเข้าไปเที่ยวน้ำตก แห่งนี้ ต้องมีสุขภาพดี และร่างกายแข็งแรง ใช้เวลาการท่องเที่ยว 2 วัน 1 คืน หรือ 3 วัน 2 คืน โดยต้องติดต่อที่ทำการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองนาคา เพื่อ ขออนุญาตการเข้าไปท่องเที่ยว พร้อมมีเจ้าหน้าที่อุทยานฯ นำทาง NAMTOK LA-ONG DAO บ้ า น น า |     3 0

แลธรรมชาติ น้ำตกละอองดาว 3 วั น 2 คื น จุดตั้งแค้มป์ เริ่มออกเดินทาง วันแรก เห็ดระหว่างทาง เช้า เย็น - ติดต่อเจ้าหน้ าที่เขตรักษาพันธุ์ - เดินทางถึงจุดตั้งแคมป์ใกล้ลำธาร สัตว์ป่าคลองนาคา นำทางในการ รับประทาน อาหารเย็น นอนพัก ติดต่อ ลูกหาบ การจัดเตรียมอาหาร ค้างแรมบนเปล และน้ำดื่ม ผู้เดินทางเข้าไปต้องมี ร่างกายแข็งแรงด้วย เส้นทางสมบุก สมบัน สอบถามข้อมูล โทร. 077874210 - จากหน่ วยพิทักษ์ป่าบ้านนา เริ่ม เดินเข้าสู่ เส้นทางน้ำตกละอองดาว ผ่านป่าดิบชื้น ลุยธารน้ำ และปีนเขา - รับประทานอาหารกลางวัน ระหว่างเส้ นทาง

ลำธารใกล้น้ำตก ข้อแนะนำในการท่องเที่ยว เดินป่า วันที่สอง - สอบถามข้อมูลของสถานที่ที่จะ เช้า ไป เพื่อ เตรียมอุปกรณ์ ให้พร้อม - เตรียมอุปกรณ์เดินป่าที่คล่องตัว - รับประทานอาหารเช้า และจำเป็น เช่น ถุงนอน เต็นท์ ผ้า - ออกเดินทางไปน้ำตกละอองดาว กันฝน ยารักษาโรค ไฟฉาย มีดพก - ชื่นชมความสวยงามสายน้ำตกไหล ยาไล่แมลง เข็มทิศ ลดหลั่น ผ่านผาหินแทรกแซมด้วยสี - ศึกษาฤดูกาลของธรรมชาติ เช่น เขียวของพรรณไม้ ดอกไม้ นกอพยพ เตรียมกล้องส่อง - รับประทานอาหารกลางวัน ทางไกล สมุดบันทึก ดินสอ ปากกา - เพลิดเพลินกับการเล่นน้ำตก แผนที่ - ศึกษาเส้นทางดูแผนที่ก่อนออก เย็น เดินทาง เลือกเส้นทางเดินตาม สันเขา เดินง่ายกว่า ตามหุบเขา - ออกเดินทางจากน้ำตกกลับมาที่ ปฏิบัติตามคำแนะนำของ เจ้าหน้ าที่ ตั้งแคมป์เดิม ใกล้ลำธาร อย่างเคร่งครัด - รับประทานอาหารเย็น - พักผ่อนนอนเปลสัมผัสธรรมชาติ แคมปิ้ ง ป่ายามค่ำคืน - เตรียมเต็นท์ ถุงนอน ผ้าใบกันฝน วันที่สาม อุปกรณ์ เครื่องครัว เช่น หม้อสน เตาแก๊ส เตาน้ำมัน อาหารแห้ง น้ำ เช้า ดื่ม รองเท้าผ้าใบ หมวก - ตรวจสอบทิศทางลมก่อนกาง - รับประทานอาหารเช้า เต็นท์ กางเต็นท์ ต้นลม ส่วนกอง - ออกเดินทางจากเส้นทางน้ำตก ไฟ ห้องส้วม ต้องอยู่ใต้ลม กาง ละอองดาว มาที่หน่ วยพิทักษ์ป่า เต็นท์บนเนิ นหรือที่สูง อยู่ในที่โล่ง บ้านนา ริมห้วย - เดินทางกลับ - กวาดเศษหญ้า ใบไม้ ก่อนตั้งแคม ป์ เพราะอาจเป็นที่อยู่ของแมลง สัตว์เลื้อยคลาน ต่าง ๆ - หาเชื้อฟืนจากเศษไม้ในป่า/คลื่น ซัดมา ติดหาดและดับกองไฟก่อน เข้านอน - ดูแลความสะอาดทุกครั้งที่เก็บ แคมป์ให้ เหมือนสภาพเดิม บ้ า น น า |   3 2

ผลิตภัณฑ์ชุมชน --- ของดีบ้านนา --- ที่มาของบ้านขนมคุณย่า เดิมทีคุณย่าทำขนมเพียงคน เดียว ต่อมาในปี 2559 มีผู้สนใจทำ ขนมมากขึ้น จึงได้จัดตั้ง เป็นกลุ่ม สั มมาชีพขนมบ้านคุณย่า ตำบล บ้านนา มาจนถึงปัจจุบัน “ขนมครองแครง บ้ า น คุ ณ ย่ า \" Banna. นางราตรี รักนุช ที่อยู่ เลขที่ 115 หมู่ 4 ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง 099-6470763

Banna “ ก ลุ่ ม สั ม ม า ชี พ ข น ม บ้ า น คุ ณ ย่ า \" วัตถุดิบ 1.แป้งอเนกประสงค์ 2.ไข่ไก่ 3.น้ำกะทิ 4.น้ำปูนใส 5.เกลือ 6.รากผักชี 7.พริกไทย 8.กระเทียม 9.น้ำตาลปี๊ บ 10.น้ำปลา วิธีการทำ (1) นำแป้งอแนกประสงค์ใส่ชามผสม ตาม ด้วยเกลือป่น น้ำปูนใส และกะทิ (2) นวดให้เข้ากัน จนแป้งเนี ยน ไม่ติดมือ (3) นำแป้งที่นวดเตรียมไว้ มาแบ่งเป็น ก้อนเล็ก ๆ ประมาณหัวนิ้ วก้อย แล้วนำไป กดลงพิมพ์ครองแครง กดรูดไปด้านหน้ า จะทำให้เกิดลายขึ้น (4) นำกระทะขึ้นตั้งไฟป่านกลาง เทน้ำมัน สำหรับทอดลงไป และรอจนร้อน (5) นำครองแครงลงไปทอดจนเหลือง กรอบ และตักออกพักไว้ เพื่อสะเด้ดน้ำมัน (6) นำครองแครงที่ทอดเตรียมไว้ ลงไป คลุกกับน้ำตาลเคลือบ โรยต้นหอม คลุก เค้า ให้เข้ากัน บ้ า น น า |     3 4

เป็ดบ้านนา สื บสานการอนุรักษ์เป็ดบ้านนา นางยุพา คงกระพันธ์ หัวหน้ ากลุ่มอนุรักษ์สายพันธุ์สั ตว์ ประจำถิ่นเป็ดบ้านนา 093-0623781 มีการทำวิจัยสายพันธุ์เป็ดบ้านนา ซึ่งเป็นเป็ดกึ่งเนื้ อกึ่งไข่ ที่เดิมชาวจีนที่ เข้ามาทำเหมืองแร่ในพื้นที่ตำบลบ้านนา อำเภอกะเปอร์ ได้นำเป็ดพันธุ์นี้ เข้ามา เลี้ยงไว้เพื่อเป็นอาหารบริโภคในครัว เรือน และมีชื่อเสียงในเรื่องของรสชาติที่ เป็นเอกลักษณ์ แต่เป็ดสายพันธุ์มีข้อจำกัดในการดูแลและขยายพันธุ์ทำให้ไม่เป็นที่ นิ ยมในการเพาะเลี้ยง จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ.2535 พบว่าเหลือเป็ดสาย พันธุ์บ้านนาแท้ๆ เพียง 4 ตัว จึงเป็นที่มาของการอนุรักษ์และหาทางเพิ่ม จำนวนจนเพิ่มขึ้นเป็น 80 ตัวในปี พ.ศ.2540

Ban Na duck สืบสานการอนุรักษ์เป็ดบ้านนา สัตว์ปีกประจำถิ่น ไม่ให้สูญพันธุ์ เป็ดบ้านนา บ้ า น น า |   3 6



บ้ า น น า |   3 8



บ้ า น น า |   4 0

บ้ า น น า |   4 1





บ้ า น น า |   4 4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook