Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะกีฬาฟุตซอล

ทักษะกีฬาฟุตซอล

Published by สุภาวิตา ทองน้อย, 2019-09-19 00:46:37

Description: ทักษะกีฬาฟุตซอล

Search

Read the Text Version

แบบฝกึ ทักษะกีฬา 1 ฟุตซอล กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม ประวตั ิและความสาคญั ของกฬี าฟุตซอล นายกฤช บญุ กล้า ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนบา้ นหนองกุลา สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1

2 คานา กีฬาฟตุ ซอลเป็นกฬี าทีไ่ ดร้ บั ความนิยมอย่างแพร่หลาย ท้งั ในและต่างประเทศ ทั่วโลก จะเหน็ ไดอ้ ย่างในระดับตา่ งๆ จะมีผูใ้ หค้ วามสนใจสง่ นักกฬี าเขา้ รว่ มการแข่งขนั และมผี ชู้ มกีฬาชนิดนเี้ ปน็ อยา่ งมาก ผจู้ ดั ทาได้สร้างแบบฝึกทักษะกีฬาฟตุ ซอล เป็นสอื่ เพอื่ ใชป้ ระกอบการเรยี น การสอนวชิ าฟุตซอล ในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วยแบบทดสอบ แบบฝกึ ทักษะ ซง่ึ จะชว่ ยเตรยี มความพร้อมแก่ครูผู้สอน สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการจัดกระบวนการเรียนรนู้ ักเรียน โดยใชแ้ บบทกั ษะกีฬาฟตุ ซอลเลม่ นี้ จะทา ให้นักเรยี นมคี วามรูแ้ ละทักษะเกย่ี วกบั ประวัติและความสาคัญของกฬี าฟุตซอล ซึ่งมี รูปแบบกิจกรรมทีห่ ลากหลาย แบบฝึกในหน่วยการเรยี นรู้ เร่ิมจากแบบฝกึ งา่ ย ซึง่ เปน็ ตวั กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความท้าทายในการปฏิบัติ ทาใหน้ กั เรียนเกดิ ความชานาญมากขน้ึ นอกจากนย้ี ังเหมาะสมกับวัย ความสามารถของนักเรยี น อีกทง้ั ยงั สามารถสร้าง ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชท้ ักษะชวี ติ การใชเ้ ทคโนโลยี ความมวี ินยั ความมุ่งมัน่ ในการทางาน ความมีจิตสาธารณะ และการอยอู่ ยา่ งพอเพียงได้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั สมรรถนะสาคัญในการเรยี นรู้และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตาม จดุ มงุ่ หมายของหลักสูตรการเรยี นรวู้ ิชาฟุตซอล ผจู้ ัดทาหวงั วา่ แบบฝกึ ทักษะฟตุ ซอล จะเป็นแนวทางสาหรับครผู ้สู อนและนักเรียน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หผ้ เู้ รียนบรรลุวัตถุประสงค์ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ กฤช บุญกล้า

สารบญั 3 เรื่อง หนา้ คานา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ค วัตถปุ ระสงคแ์ บบฝกึ ทกั ษะ 1 บทบาทของครู 1 บทบาทของนกั เรยี น 3 คาช้แี จง 4 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 5 5 ผลการเรียนรู้ 7 เอกสารแนะนารายวิชา 10 ความรูท้ วั่ ไปเกยี่ วกับกีฬาฟุตซอล 14 ประโยชน์ของกีฬาฟุตซอล 15 มารยาทของกฬี าฟุตซอล 17 แบบทดสอบทกั ษะ 35 แบบทดสอบหน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 37 บรรณานกุ รม 38 ภาคผนวก 39 เฉลยแบบทดสอบ 40 แบบบันทกึ คะแนน

สารบัญภาพ 4 ภาพ หนา้ แบบทดสอบทักษะการเดาะบอล 18 แบบทดสอบทกั ษะการเตะบอลกระทบฝาผนัง 21 แบบทดสอบทกั ษะการเล้ียงบอล 24 แบบทดสอบทกั ษะการเตะบอลโด่ง 26 แบบทดสอบทกั ษะการโหมง่ บอล 30 แบบทดสอบทักษะการยงิ ประตู 33

5 วัตถุประสงคแ์ บบฝึกทกั ษะ แบบฝกึ ทกั ษะกีฬาฟตุ ซอล มีวตั ถุประสงคด์ ังน้ี 1. เพือ่ พฒั นาและปฏบิ ัติทักษะการเล่น เฉพาะบุคคล และกล่มุ 2. เพ่ือส่งเสรมิ ความรู้ ความเขา้ ใจของกฬี าฟตุ ซอล 3. เพ่อื สง่ เสรมิ การทางานรว่ มกันตามหลกั ประชาธิปไตย 4. เพอื่ ฝึกการเปน็ ผ้นู าและผตู้ ามท่ดี ี บทบาทของครู เพอ่ื ใหแ้ บบฝกึ ทกั ษะกฬี าฟตุ ซอล มปี ระสทิ ธิภาพ กอ่ นจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ครูผ้สู อนเตรยี มบทบาทของตนเอง ดงั นี้ 1. ศกึ ษาองค์ประกอบของแบบฝกึ ทกั ษะกฬี าฟตุ ซอล ไดแ้ ก่ 1.1 ศกึ ษาเน้ือหาอยา่ งละเอยี ดโดยตลอด 1.2 ตรวจสอบสอ่ื การเรียนการสอนใหค้ รบสมบูรณ์ 1.3 ศึกษาแผนการจดั การเรยี นรู้ 2. การจดั สื่อการเรยี นการสอน อุปกรณ์ 2.1 กาหนดสนามทีล่ งปฏิบตั ิ 2.2 จดั เตรยี มอปุ กรณ์ เชน่ ลกู ฟตุ ซอล หลักกรวย เปน็ ตน้

6 3. เตรยี มจดั กลมุ่ นกั เรียน แลว้ แต่กรณี ดังน้ี 3.1 ครูจดั กลมุ่ คละกันทงั้ เด็กเกง่ ปานกลาง หรือไมม่ ปี ระสบการณ์ มาเลย 3.2 นักเรียนจบั กล่มุ กนั เองตามใจชอบ 3.3 จับฉลากแบ่งกล่มุ 4. ชแ้ี จงบทบาทนักเรยี น กอ่ นการจัดการเรยี นการสอน ครูช้แี จงบทบาทของนกั เรียนใหเ้ ขา้ ใจ ตรงกันกอ่ น เพ่ือนกั เรียนจะไดป้ ฏิบตั ิไดถ้ กู ต้อง 5. การจัดการเรยี นการสอนตามลาดบั ขน้ั ตอน ดังน้ี 5.1 นาเขา้ สบู่ ทเรยี น 5.1.1 นกั เรียนอบอุ่นร่างกาย 5.1.2 นาเข้าสูบ่ ทเรียนตามแผนทีก่ าหนด 5.2 นาเข้าสู่บทเรยี น 5.2.1 ดแู ลนักเรียนอยา่ งใกล้ชดิ 5.2.2 สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียน ระหวา่ งปฏิบัติกิจกรรม 5.2.3 บันทึกการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมนกั เรียน 5.2.4 เมอื่ นกั เรียนคนใดมปี ญั หาครตู ้องเข้าช่วยเหลอื แกไ้ ขทนั ที แนะนาข้อบกพร่อง 5.2.5 ส่งเสรมิ นักเรียนแสดงความสามารถอยา่ งเต็มที่ 5.3 ขนั้ สรปุ บทเรียน 5.3.1 สรปุ บทเรียนตามแผนที่กาหนด 5.3.2 นักเรียนทาแบบทดสอบ 6. การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 6.1 จากการสังเกต ครคู วรสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นอยา่ งใกลช้ ดิ ในเร่อื ง ต่อไปน้ี 6.1.1 ด้านเจตคติ 6.1.2 ดา้ นสมรรถภาพ 6.1.3 ด้านสมรรถนะสาคญั 6.1.4 ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

7 6.1.3 ด้านสมรรถนะสาคัญ 6.1.4 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6.2 จากการปฏิบตั ิการสอน 6.2.1 แบบทดสอบภาคสนาม 6.2.2 แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ *เพ่อื ทราบความกา้ วหนา้ ทางการเรยี นของนกั เรยี น และกระบวนการ เรยี นการสอนท่ีจดั ไวเ้ หมาะสมหรือไม่* 7. การปรับปรงุ พัฒนา นาผลการจดั การเรยี นการสอนไปพิจารณาปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพ่อื ใหไ้ ดแ้ บบ ทกั ษะกฬี าฟตุ ซอลที่กอ่ ให้เกิดการเรียนรู้ทีม่ ีประสิทธิภาพตอ่ ไป

8 บทบาทของนกั เรยี น ในการเรียนวชิ าฟตุ ซอล ผู้เรียนต้องปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. นักเรยี นทุกคนตอ้ งตรงตอ่ เวลา 2. นักเรียนทกุ คนเขา้ แถวเพ่ือรอเช็คช่อื กอ่ นเรียน 3. นักเรียนต้องแตง่ กายชดุ พลศึกษาใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม ก่อนและหลงั ชวั่ โมงเรียน 4. มรี ะเบียบวินยั เช่อื ฟงั ปฏิบตั ติ ามครูผู้สอนและหัวหนา้ หอ้ ง 5. นกั เรียนทกุ คนต้องตง้ั ใจเรียน และปฏบิ ตั ิกิจกรรมตาม ท่ีกาหนดเพื่อใหเ้ กิดความรู้และทักษะ 6. ในระหว่างเรียนนักเรียนต้องเปน็ ผนู้ าและผู้ตามที่ดี ใหค้ วามรว่ มมอื มน่ั ใจและกล้าแสดงออก

9 คาชีแ้ จง เพื่อใหก้ ารใชแ้ บบฝึกทกั ษะเกิดประโยชน์ต่อผ้เู รยี นมากท่สี ุด ควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 1. ศึกษาคาแนะนาและวตั ถุประสงคแ์ บบฝึกทกั ษะกฬี าฟตุ ซอลใหเ้ ข้าใจ 2. ศึกษาแบบฝึกทักษะ 3. ฝกึ ปฏบิ ตั ิแบบฝึกทักษะ 4. ทาแบบทดสอบ 5. ตรวจสอบคาตอบแบบทดสอบ 6. ปฏบิ ัตแิ บบทดสอบทกั ษะ

10 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ประวัติและความสาคัญของกฬี าฟตุ ซอล

11 ผลการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ ค่าของกีฬาฟุตซอล เอกสารประกอบกิจกรรม เกมรวมกลุม่ จดุ ประสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นร้จู ักการทางานเปน็ หมคู่ ณะ รู้จักการเป็นผ้นู าและ ผูต้ ามทด่ี ี 2. เพ่ือให้นกั เรียนรจู้ ักใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์และหา่ งไกลยาเสพตดิ อปุ กรณ์ 1. นกหวีด วธิ กี ารเล่น

12 เอกสารแนะนารายวิชา สอนโดย นายกฤช บญุ กลา้ 1. ชื่อวิชา ฟุตซอล 2. สภาพวชิ า เพ่ิมเติม 0.5 หน่วยกติ 3. คาอธิบายรายวชิ า ศึกษา ประวัตกิ ีฬาฟตุ ซอล กตกิ า มารยาทในการเลน่ และการดฟู ุตซอล สมรรถภาพ ทางกายและการอบอนุ่ รา่ งกายแบบอยูก่ บั ที่ แบบเคลื่อนท่ี และ เหน็ คณุ คา่ ของการออกกาลัง พ้นื ฐานในการเลน่ ฟุตซอล การรับ ส่งลกู การเลย้ี งลกู การโหมง่ การเป็นผู้รกั ษาประตู การยิงประตู วธิ กี ารเล่นฟตุ ซอล โดยใชก้ ระบวนการเรียน ความรู้ ความเขา้ ใจ กระบวนการสรา้ งความคิด รวบยอด กระบวนการสรา้ งทักษะการปฏบิ ตั ิ กระบวนการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ กระบวนการสร้างค่านยิ ม เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้เหน็ คณุ ค่าของกีฬาฟุตซอล ตลอดจนมีทกั ษะปฏิบัติ เกย่ี วกับการอบอุน่ รา่ งกายแบบตา่ ง ๆ สามารถนาไปใชใ้ นการเลน่ กฬี าฟุตซอลได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยรว่ มเล่นและแข่งขนั อยา่ งสนุกสนานและปลอดภยั ปฏิบตั ิ ไดต้ ามกฎ กตกิ า มนี า้ ใจนกั กีฬา มจี ติ วญิ ญาณในการแข่งขัน มีสุทรียภาพของ การกีฬา ทง้ั ในการเล่น การดู และการแข่งขนั แสดงออกถึงความรว่ มมือ ความรับผดิ ชอบของตนเองในการเข้ารว่ มกจิ กรรม มกี ารวางแผนในการออก กาลงั กาย และการเลน่ กีฬา เพ่อื พฒั นาบคุ ลกิ ภาพและสมรรถภาพของตนเองเปน็

13 4. สาระการเรยี นรู้ 1. ประวตั แิ ละความสาคญั ของกีฬาฟตุ ซอล 2. การอบอนุ่ รา่ งกายและการยืดเหยียดกลา้ มเน้ือ 3. สมรรถภาพทางกาย 4. การสร้างความคนุ้ เคยกับลกู บอล 5. การเดาะบอล 6. การเตะบอล 7. การรับ หยดุ บอล 8. การเลี้ยงบอล 9. การเล้ียงหลบหลอก 10. การบังบอล 11. การโหม่งบอล 12. ยุทธวธิ ใี นการสง่ บอล 13. ทักษะของผรู้ กั ษาประตู 14. การยิงประตู 15. กติกาการแข่งขัน 5. วธิ ีการสอน 5.1 จดั การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning) : เทคนิคคู่คดิ ส่สี หาย, เทคนคิ การตอ่ เร่อื งราว 5.2 อธบิ ายประกอบการสาธิต 5.3 นักเรียนศกึ ษาคน้ ควา้ รายงาน 5.4 นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ 6. กาหนดการเรยี นการสอน ที่ ชื่อหน่วย แผนจดั การเรียนรู้เรอ่ื ง เวลา การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) ประวตั แิ ละความสาคญั ของกฬี าฟตุ ซอล 2 1 ความรทู้ วั่ ไป การอบอนุ่ รา่ งกายและการยืดเหยียด 1 เกย่ี วกบั กล้ามเน้ือ 1 สมรรถภาพทางกาย กีฬาฟตุ ซอล

14 ที่ ชื่อหน่วย แผนจัดการเรียนรูเ้ รอื่ ง เวลา การเรียนรู้ (ชวั่ โมง) 2 การเตะบอล การเตะบอล 1 1 3 การรบั หยดุ บอล การรบั หยดุ บอล 1 1 การเล้ียงบอล 1 1 4 การเลี้ยงบอล การเลย้ี งหลบหลอก 1 การบังบอล 2 5 การโหมง่ บอล การโหมง่ บอล 2 6 ยทุ ธวิธใี นการ ยุทธวธิ ใี นการสง่ บอล 3 สง่ บอล 20 7 ทกั ษะของผูร้ ักษา ทกั ษะของผ้รู กั ษาประตู ประตู 8 การยงิ ประตู การยิงประตู 9 กติกาการแข่งขัน กติกาการแขง่ ขัน รวม

15 ความร้ทู ัว่ ไป เกี่ยวกบั ฟุตซอล ประวตั แิ ละความเป็นมาของกฬี าฟตุ ซอล ชัยสทิ ธ์ิ สุริยจนั ทร์ (2550 : 5-6) ได้กลา่ วถึงประวัติและความเป็นมาของกฬี า ฟตุ ซอลไว้ดังนี้ หลายประเทศในทวปี ตา่ ง ๆ ทว่ั โลก เม่อื เรม่ิ เขา้ สชู่ ่วงฤดหู นาวจะประสบกับ ปัญหาหิมะตกและสภาพอากาศหนาวเยน็ ทาให้ไมส่ ามารถจัดการแข่งขันกีฬา กลางแจง้ ชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ รวมท้งั กฬี าฟตุ บอล จงึ ถือเป็นช่วงสิน้ สุดฤดกู าลแข่งขัน เนือ่ งจากฤดูหนาวมรี ะยะเวลาท่ียาวนานและสภาพอากาศทไ่ี มเ่ อ้อื อานวย จงึ เปน็ ปัจจัย หนง่ึ ทท่ี าใหค้ นหนั มาเลน่ กฬี าในรม่ แทนและนค่ี อื ทม่ี าของกฬี าฟตุ บอลในรม่ หรอื ท่ี เรียกวา่ “ฟุตซอล” (FUTSAL) FUTSAL มาจากภาษาสเปน ทเ่ี รยี กฟตุ บอลวา่ “FUTbol” หรือจากภาษา โปรตุเกสทเ่ี รยี กฟุตบอลว่า “FUTtebol” รวมกบั คาว่า “SALa”ในภาษาฝรง่ั เศส หรือ “SALon” ในภาษาสเปน ทีแ่ ปลวา่ อนิ ดอร์ หรือในรม่ โดยนาคาว่า “FUT” กับคาว่า ”SAL” มารวมกนั จึงเปน็ คาวา่ “FUTSAL” หมายถงึ การเตะฟุตบอลในสนามขนาดเลก็ ในรม่ กลายเป็นคาเรียกขานกันแทนคาว่า “Five – A – Side” หรอื ฟุตบอล 5 คน ใน ปจั จุบนั ฟุตซอลเร่ิมมกี ารแข่งขันมาตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 1930 ณ กรุงมอนเตวเิ ดโอ ประเทศ อุรกุ วยั โดยผทู้ ่ีคิดดดั แปลงนามาเลน่ ได้แก่ Juan Carlos Ceriani (ฮวน คารล์ อส เซรีอานี) ครสู อน พลศกึ ษาชาวอุรุกวัย ซง่ึ เป็นเกมท่ีชาวอเมรกิ าใต้นยิ มเลน่ กนั มาก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในประเทศบราซิลซ่ึงเป็นชาติที่มีทกั ษะความสามารถเฉพาะตัวใน

16 การแข่งขนั ฟตุ ซอลในระดับนานาชาติ ชัยสิทธ์ิ สรุ ยิ จนั ทร์ (2550 : 6) ได้กล่าวถึงการแขง่ ขนั ฟุตซอลในระดับนานาชาติไว้ ดงั นี้ ค.ศ. 1965 จดั การแข่งขันครัง้ แรกในทวปี อเมริกาใต้ ประเทศปารากวัยควา้ แชมป์ทวีป อเมริกาใต้ ค.ศ. 1976 มกี ารจัดการแข่งขนั ในทวปี อเมรกิ าใต้ 6 ครั้ง โดยนักเตะจากประเทศ บราซิล คว้าแชมปไ์ ด้ท้ังหมด ค.ศ. 1980 และ ค.ศ. 1984 มกี ารแข่งขนั แพนอเมรกิ าใต้ โดยนักเตะจากประเทศ บราซลิ คว้าแชมป์ไดท้ ้งั หมด ค.ศ. 1982 มกี ารแขง่ ขนั ชงิ แชมปโ์ ลก (อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ) เป็นครง้ั แรก ณ กรงุ เซาเปาโล ประเทศบราซลิ และประเทศบราซลิ ได้เปน็ แชมป์ ค.ศ. 1985 มกี ารจดั การแขง่ ขนั ฟตุ ซอลชงิ แชมป์โลก(อย่างไมเ่ ป็นทางการ) ครง้ั ท่ี 2 ณ ประเทศสเปน ประเทศบราซลิ ควา้ แชมปไ์ ด้ ค.ศ. 1988 มีการจดั การแข่งขนั ฟุตซอลชงิ แชมปโ์ ลก ครั้งท่ี 3 ณ ประเทศ ออสเตรเลีย ประเทศบราซิลเสียแชมป์ให้แก่ประเทศปารากวยั เปน็ คร้ังแรก ค.ศ. 1989 ตอ่ มาสหพนั ธฟ์ ตุ บอลนานาชาติ (FIFA)ไดเ้ ขา้ มาดแู ลการแขง่ ขนั ชงิ แชมป์ โลก ครั้งแรกซึ่งจดั การแข่งขนั ณ ประเทศฮอลแลนด์ และประเทศบราซิลยงั ครองความ เป็นแชมป์ รองแชมป์เป็นสเปน อันดบั สามเป็นประเทศรัสเซีย ค.ศ. 1992 มีการจัดการแข่งขันฟตุ ซอลชิงแชมปโ์ ลก ครง้ั ที่ 2 ณ ประเทศฮ่องกง และประเทศบราซิลคว้าแชมป์ได้ รองแชมป์เป็นประเทศสหรฐั อเมริกาอนั ดบั สามเปน็ ประเทศสเปน ค.ศ. 1996 มกี ารจดั การแข่งขันฟุตซอลชงิ แชมป์โลก ครงั้ ที่ 3 ณ ประเทศสเปน และ ประเทศบราซิลยงั ครองความเปน็ แชมปอ์ นั ดบั 1 ของโลกอยา่ งเหนยี วแน่น รองแชมป์ เป็นประเทศฮอลแลนด์ อนั ดับสามเป็นประเทศสหรฐั อเมรกิ า ค.ศ. 2000 มีการจัดการแข่งขันฟตุ ซอลชิงแชมป์โลก คร้งั ท่ี 4 ณ ประเทศกวั เตมาลา และประเทศสเปนสามารถล้มบราซิลแชมปเ์ กา่ สามสมัย รองแชมป์ประเทศบราซลิ อนั ดบั สาม เป็นประเทศโปรตุเกส

17 ค.ศ. 2004 มกี ารจดั การแข่งขันฟุตซอลชงิ แชมปโ์ ลก ครัง้ ที่ 5 ณ ประเทศไตห้ วนั และประเทศสเปนคว้าแชมปไ์ ปครอง รองแชมป์เปน็ ประเทศอติ าลี อนั ดบั สามเป็น ประเทศบราซิล ค.ศ. 2008 มกี ารจดั การแขง่ ขันฟตุ ซอลชงิ แชมป์โลก คร้ังท่ี 6 ณ ประเทศบราซิล ประเทศบราซิลยังครองความเป็นแชมป์ รองแชมป์เปน็ สเปน อันดับสามเป็นประเทศ รสั เซยี ค.ศ. 2012 มกี ารจัดการแขง่ ขันฟุตซอลชงิ แชมป์โลก ครง้ั ที่ 7 ณ ประเทศไทย การแข่งขันฟตุ ซอลในประเทศไทย ชยั สิทธ์ิ สุรยิ จันทร์ (2550:6-7) ได้กล่าวถึงการแขง่ ขันฟุตซอลในประเทศไทย ไว้ดังน้ี ประเทศไทยมกี ารจัดการแขง่ ขันฟตุ ซอลข้นึ เปน็ ครง้ั แรกในปี พ.ศ. 2540 ใน รายการ (STAR INDOOR SOCCER 1997) เม่ือวันที่ 12 – 21 กรกฎาคม 2540 ณ เดอะมอลล์ บางกะปิ โดยมี 12 สโมสรช้นั นาจากไทยแลนดล์ ีกเข้าร่วมการแข่งขนั และทมี สโมสรการท่าเรอื ควา้ แชมปไ์ ปครอง พ.ศ. 2541 มีการจดั การแข่งขนั ข้ึนอีกเปน็ คร้งั ท่ี 2 ครง้ั นีท้ มี กรุงเทพมหานคร ควา้ แชมป์ไปครอง พ.ศ. 2543 มกี ารจัดการแขง่ ขันฟุตซอลชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย รายการ “AMTEL FUTSAL THAILAND CHAMPIONSHIP 2000” ณ เดอะมอลล์ บางกะปิ โดยมกี ารแขง่ ขัน ในรอบคดั เลอื กในแต่ละภาคเพอื่ นาทีมชนะเลศิ และรองชนะเลศิ มา แข่งขนั กบั ทีมสโมสรช้นั นาจากไทยลีกการแข่งขันครัง้ น้ี ทมี สโมสรทหารอากาศ ไดเ้ ปน็ แชมป์ ตอ่ มาประเทศไทยมโี อกาสเป็นเจา้ ภาพจัดการแขง่ ขนั ฟตุ ซอลชิงแชมป์เอเซีย และ ประเทศไทยไดอ้ นั ดับ 3 และไดส้ ทิ ธเ์ิ ขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ฟุตซอลชิงแชมป์โลกรอบ

18 ในปีเดียวกัน ไดม้ กี ารจดั การแข่งขนั ฟุตซอลระดบั เยาวชน 18 ปี ในรายการ ควิก จูเนยี รฟ์ ุตซอลไทยแลนดแ์ ชมปเ์ ปยี นชิพ ครงั้ ท่ี 1 โดยมีการแข่งขันในรอบ คดั เลอื กในแต่ละภาคเพอื่ นา ทีมชนะเลศิ และรองชนะเลศิ มาแข่งขันกบั ทมี โรงเรียน รบั เชญิ ในกรงุ เทพมหานครทเ่ี ดอะมอลลบ์ างกะปิ พ.ศ. 2544 มีการจัดการแขง่ ขันท้งั ในระดับภูมภิ าคและระดับประเทศ ทงั้ ระดับ เยาวชนและประชาชน เช่น การแข่งขันฟุตซอล ควิก จูเนยี ร์ฟุตซอลไทยแลนด์ แชมปเ์ ปียนชิพ และการแขง่ ขนั ฟตุ ซอลชงิ ชนะเลศิ แห่งประเทศไทย “AMTEL FUTSAL THAILAND CHAMPIONSHIP 2001” และทมี ชาติไทยสามารถสรา้ งผลงาน ชนะเลิศระดบั อาเซยี น ทีป่ ระเทศมาเลเซยี และชนะเลศิ ระดบั ดวิ ชิ น่ั 2 ไทเกอร์คพั ที่ ประเทศสิงคโปร์ พ.ศ. 2545 มกี ารจัดการแข่งขันทั้งในระดบั ภูมภิ าคและระดับประเทศ ทงั้ ระดบั เยาวชนและประชาชน เช่น การแข่งขันฟุตซอล ควิก จูเนยี ร์ฟุตซอลไทยแลนด์ แชมปเ์ ปยี นชิพ และการแข่งขันฟุตซอลชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ทมี ราชนาวสี โมสร ควา้ แชมปไ์ ปได้ พ.ศ. 2547 ทีมชาติไทยสามารถควา้ อนั ดับท่ี 3 ในรายการชิงแชมป์เอเชยี ไดส้ ทิ ธิ์ เดนิ ทางไปแข่งขนั ชงิ แชมปโ์ ลกรอบสุดทา้ ยท่ปี ระเทศไตห้ วนั พ.ศ. 2551 ทมี ชาติไทยสามารถคว้ารองชนะเลิศรายการชิงแชมปเ์ อเชียไดส้ ิทธิ์ เดินทางไปแข่งขนั ชงิ แชมปโ์ ลกรอบสดุ ทา้ ยทปี่ ระเทศบราซลิ พ.ศ. 2554 มีการจัดการแขง่ ขันฟุตซอลไทยแลนด์ลีก ทมี ชนะเลศิ คือ ธอส. อารแ์ บค จะเห็นไดว้ า่ กฬี าฟตุ ซอลเปน็ ที่นิยมอยา่ งแพรห่ ลายในปัจจบุ ัน ทั้งหนว่ ยงานของ รฐั บาลและเอกชนท่ีให้การสนบั สนุนอยา่ งดี ทาใหก้ ฬี าฟุตซอลได้รับการพัฒนาอยา่ ง ตอ่ เนื่อง

19 ประโยชนข์ องกีฬาฟุตซอล อทุ ัย สงวนพงษ์ (2548 : 10-11) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของกฬี าฟุตซอล ไว้ดงั น้ี ฟตุ ซอล เปน็ กีฬายอดนยิ ม เนอ่ื งจากเป็นกฬี าทเี่ ลน่ ง่าย อปุ กรณไ์ มม่ าก ราคาถกู ผเู้ ล่นสามารถเล่นไดจ้ านวนมาก เล่นได้เกอื บทุกสถานท่ี และทกุ โอกาส การเล่นฟุต ซอลทาใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ผ้เู ล่นดงั น้ี 1. กตกิ าไม่ยงุ่ ยาก สนามที่ใชเ้ ลน่ ฟุตซอลไมก่ วา้ งมากนัก เลน่ ได้ท้ังในรม่ และ กลางแจ้ง 2. การฝกึ ความเรว็ ผเู้ ลน่ ตอ้ งเคลอื่ นไหวตลอดเวลา เพราะการเลน่ ตอ้ งอาศยั ความคล่องแคล่วว่องไว รวดเร็ว โดยใช้ความเรว็ สงู ในระยะสนั้ ตลอดเวลาเพราะ สถานการณ์ ในสนามการเล่นหรอื แขง่ ขันจะบบี บังคับใหผ้ ้เู ลน่ ตอ้ งใช้ความเรว็ ท่ีสงู ทั้งความเรว็ ในการคดิ ความเรว็ ในการตัดสินใจ และความเร็วในการเคลอ่ื นไหว ซ่ึงในชวี ติ ประจาวนั ของมนุษย์จะต้องมีการตัดสินใจและแกป้ ัญหา เฉพาะหนา้ อยเู่ สมอ ฟุตซอลจึงเป็นกฬี าชนิดทีช่ ว่ ยฝึกฝนให้ผเู้ ล่นมีปฏภิ าณไหวพรบิ ทีช่ าญฉลาด สามารถ แก้ปัญหาอยา่ งฉับพลนั ได้ดี 3. การใช้สตแิ ละสมาธิ การเล่นฟตุ ซอลผเู้ ล่นตอ้ งมีจติ ใจทม่ี นั่ คง สมาธดิ ี มีอารมณ์มนั่ คง เพราะผเู้ ล่นท่ีมอี ารมณม์ ุทะลุดุดนั ขาดสมาธิ จะทาให้เกิดการ ผิดพลาดบ่อย ๆ รวมท้ังตอ้ งมกี ารช่วยเหลอื กันเพ่ือแย่งลูกบอลมาครอบครอง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ ลน่ ภายในทีม จะต้องรกั สามัคคี เป็นอันหน่งึ อนั เดยี วกัน จงึ จะทาให้ทมี มชี ยั ชนะ ผลของการ เลน่ ฟตุ ซอลสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ ในชวี ติ ประจาวันใหม้ ีความรกั ใคร่ สามคั คี ปรองดองกนั ในหมคู่ ณะได้เชน่ กนั 4. การเคลอ่ื นไหว ฟุตซอลเปน็ กีฬาท่ชี ่วยส่งเสรมิ กิจกรรมทรี่ วมการเคล่อื นไหว ตามธรรมชาตขิ องมนุษยเ์ กอื บทุกชนิด เช่น การวงิ่ หลบหลอก หลอกลอ่ การแย่ง การรับ การสง่ การเตะ การเลยี้ งลกู ตลอดจนการใชเ้ ทา้ ใหส้ ัมพนั ธ์กบั สายตาด้วย 5. สอนใหเ้ คารพกฎกตกิ า ผ้เู ล่นมีโอกาสสมั ผสั ลูกบอลไดบ้ อ่ ย ๆ และมีโอกาสที่ จะทาประตูได้มากเพราะสนามทใ่ี ชเ้ ล่นไม่กวา้ งไมย่ าวมากนกั แต่ผเู้ ลน่ ก็ตอ้ งปฏิบตั ิ ตามกฎกตกิ าการเลน่ จึงเป็นการชว่ ยสอนให้ผูเ้ ลน่ รจู้ ักความยตุ ิธรรม ยอมรับฟงั ความ คิดเหน็ ของผู้อ่นื รจู้ ักการเปน็ ผู้นาและผตู้ ามท่ดี ี มคี วามอดทน อดกลั้น มีนา้ ใจ นกั กีฬา

20 6. การสอ่ื สาร การเล่นฟตุ ซอลเป็นการฝึกการเรียนรเู้ รื่องการสอ่ื สารทง้ั เพือ่ น รว่ มทมี และคณะผูฝ้ กึ สอน จากกลมุ่ เลก็ ไปสู่ทีม จากการฝกึ ซอ้ มไปสกู่ ารแขง่ ขัน ซงึ่ การสือ่ สารจะเป็นการสอื่ สารทีใ่ ช้สัญญาณเสียง หรอื ใชส้ ญั ญาณจากสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย หรือภาษาใบ้ ซงึ่ สามารถใช้ได้ ท้งั นอกสนาม การส่ือสารจงึ มคี วามสาคญั ในการชว่ ยพฒั นา ผู้เล่นในสนาม เชน่ กระตุ้นผู้เลน่ ชว่ ยเพ่มิ ความคล่องแคลว่ ในการ สับเปลยี่ นตาแหน่งเปลี่ยนพนื้ ท่ี เป็นตน้ 7. ชื่อเสยี งเกยี รติคณุ ผเู้ ลน่ มที ักษะการเลน่ ฟุตซอลที่ดยี อ่ มมีโอกาสในการ คดั เลือก เปน็ ตัวแทนของโรงเรยี น สถาบนั สโมสร หรือตัวแทนของชาติ เพ่อื เข้าร่วม การแขง่ ขันกีฬาฟตุ ซอลในระดบั ตา่ ง ๆ เช่น กฬี าเยาวชนแห่งชาติ กีฬาแหง่ ชาติ ฟุตซอลลีก เปน็ ตน้ ประโยชนข์ องกีฬาฟุตซอล ชยั สทิ ธ์ิ สุริยจันทร์ (2547 : 33) ได้กลา่ วถงึ มารยาทของกฬี า ฟุตซอล ไว้ดังน้ี กฬี าฟตุ ซอล กเ็ หมอื นกบั การเล่นกีฬาประเภทอน่ื ๆ ทีผ่ ู้เล่นจาเปน็ ต้องมมี ารยาท ในการเลน่ เพ่อื ให้การเลน่ ดาเนนิ ไปด้วยดี นอกจากนีผ้ ู้ดูก็ควรมีมารยาทในการดู เชน่ เดียวกันจงึ จะทาใหเ้ กิด ผลดีตอ่ การกีฬาอย่างสมบูรณ์ มารยาทของผูเ้ ล่นฟตุ ซอลทีด่ ี 1. แต่งกายด้วยชุดท่เี หมาะสมกบั การเล่นฟตุ ซอล 2. ไมแ่ สดงกริ ยิ าหรือกล่าวถอ้ ยคาอนั ไมส่ ภุ าพตอ่ ผูด้ หู รอื ผู้เลน่ อื่น ๆ 3. ไมแ่ สดงกริ ิยาอาการไม่พึงพอใจ หากเพือ่ นร่วมทีมเลน่ ผิดพลาด 4. ลงสนามแล้วเคารพผดู้ ูอยา่ งมีระเบยี บ 5. ปฏิบัติตามกฎกตกิ าการเล่นโดยเคร่งครดั 6. ไมก่ ระทาการใด ๆ อนั เปน็ การยว่ั ยหุ รือกลั่นแกล้งผู้เลน่ ฝ่ายตรงข้าม 7. ไม่กระทาการใด ๆ อันเปน็ การเจตนาถ่วงการเลน่

21 8. เช่ือฟังการตดั สินของผ้ตู ดั สนิ โดยไมแ่ สดงกริ ยิ าทไ่ี มเ่ หมาะสมแก่ ผู้ตัดสินใน การตัดสิน 9. กอ่ นและหลงั การแขง่ ขันเสร็จสน้ิ ลง ควรจับมือกบั ผเู้ ล่นของทมี ฝ่ายตรงข้าม ไมว่ า่ ทมี ของตนจะแพ้หรือชนะก็ตาม มารยาทของผูด้ ฟู ตุ ซอลทด่ี ี 1. ไมก่ ล่าวถ้อยคาหรอื แสดงกิริยาทเี่ ยาะเยย้ ถากถางผูเ้ ล่นท่ผี ิดพลาด 2. แสดงความยนิ ดแี กผ่ ู้เล่นที่ดี เชน่ การปรบมอื เปน็ ตน้ 3. ไมก่ ระทาตวั เปน็ ผู้ตดั สินเสียเอง เชน่ ตะโกนดา่ ว่ากรรมการ 4. ไมเ่ ชยี ร์ในสงิ่ ทเ่ี ป็นการส่อเสยี ดในทางไมด่ ีต่อทีมใดทมี หนง่ึ 5. ไม่กระทาสง่ิ ใด ๆ ทท่ี าให้ผตู้ ดั สินหรือเจา้ หน้าทีอ่ น่ื ๆ ปฏบิ ัติงานไมส่ ะดวก 6. ไมก่ ระทาสิ่งใด ๆ อันเป็นการกดี ขวางการเล่นของผู้เล่น

22 แบบทดสอบทกั ษะ กฬี าฟุตบอล แบบทดสอบทักษะ การเดาะบอล

23 แบบทดสอบทักษะกฬี าฟตุ บอล ของนายณฐั วฒุ ิ ปลอ้ งเจริญ (2534 : 67-76) วตั ถุประสงค์ เพือ่ วัดความสามารถในการควบคุมลูกบอล คณุ ภาพ คา่ ความเช่อื ม่นั 0.979 อุปกรณ์ 1. ลูกฟตุ บอล จานวน 1 ลกู 2. นาฬิกาจับเวลา ผทู้ ดสอบ รศั มี 10 หลา ภาพที่ 1 แบบทดสอบทักษะการเดาะบอล ท่มี า ; ภาพโดย นายกฤช บญุ กลา้

24 วิธกี ารทดสอบ ให้ผู้รับการทดสอบใชม้ ือโยนลกู ฟุตบอลข้นึ แลว้ ใชเ้ ท้า เขา่ หนา้ ขาท่อนบน ศรี ษะหรือส่วนหนงึ่ สว่ นใดของรา่ งกาย ยกเวน้ มอื หรอื แขน เดาะบอลขึน้ ในอากาศ ภายในพน้ื ท่วี งกลมรศั มี 10 หลา ให้ไดจ้ านวนคร้ังมากท่ีสดุ โดยกาหนดระยะเวลา ทดสอบ 45 วินาที ให้ทาการทดสอบ 2 ครั้ง ซึ่งในการทดสอบคร้ังทีห่ น่ึงและครั้งที่ สองตอ้ งใหผ้ ู้รบั การทดสอบพกั ไม่นอ้ ยกว่า 10 นาที สาหรับในกรณีท่ีลูกฟตุ บอลตกพนื้ อนุญาตใหผ้ ู้เขา้ รับการทดสอบใชม้ อื โยนลกู ฟุตบอลขนึ้ เพื่อเดาะต่อไปไดแ้ ล้วใหน้ บั จานวน คร้ังต่อไป ก่อนท่ีลกู ฟุตบอลจะตกพ้ืน หรือกรณีท่ีผู้รบั การทดสอบใช้มือจับลกู ฟตุ บอลถือ เขา้ มาภายในบรเิ วณพืน้ ทีว่ งกลม แล้วโยนข้นึ เพ่ือทาการเดาะบอลต่อไปไดแ้ ลว้ นับ จานวนครง้ั ในการเดาะบอลตอ่ ไปกอ่ นทล่ี ูกฟุตบอลจะออกจากพ้นื ที่วงกลม การใหค้ ะแนน ให้คิดคะแนนจากผลรวมของจานวนครัง้ ในการเดาะบอลได้จากการทดสอบ 2 ครัง้ เป็นคะแนนการทดสอบ

เกณฑ์การประเมินทักษะการเดาะบอล 25 เกณฑค์ ะแนน คะแนน 10 รายการ ชาย หญิง 9 การเดาะลูก 8 (1 นาที) 37 ขน้ึ ไป 19 ขนึ้ ไป 7 6 33-36 17-18 5 4 29-32 15-16 3 2 25-28 13-14 1 21-24 11-12 17-20 9-10 13-16 7-8 9-12 5-6 5-8 3-4 1-4 1-2 เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 6-9 ควรปรบั ปรงุ ชว่ งคะแนน 14-15 12-13 10-11 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ เกณฑ์การผา่ น ระดับคุณภาพ ดี

26 แบบทดสอบทกั ษะ การเตะบอลกระทบฝาผนัง

27 แบบทดสอบทกั ษะกีฬาฟตุ บอล ของนายณัฐวฒุ ิ ปล้องเจรญิ (2534 : 67-76) วตั ถุประสงค์ เพ่อื วดั ความสามารถในการเตะและหยุดลกู บอล คุณภาพ ค่าความเช่อื มั่น 0.915 อุปกรณ์ 1. ลกู ฟตุ บอล จานวน 3 ลูก 2. นาฬกิ าจบั เวลา 3. ผนงั ขนาดกว้าง 8 ฟตุ สูง 3 ฟตุ ฝาผนงั ยาว 8 ฟตุ สงู 3 ฟตุ 18 ฟตุ ผู้ทดสอบ 1 ฟุต

28 ภาพท่ี 2 แบบทดสอบทักษะการเตะบอลกระทบฝาผนัง ท่มี า ; ภาพโดย นายกฤช บญุ กลา้ วธิ กี ารทดสอบ ใหผ้ รู้ บั การทดสอบพรอ้ มลูกฟตุ บอล 1 ลูก ยนื อยู่หลังเสน้ เรมิ่ ซง่ึ อยู่หา่ งจากผนัง ขนาดกวา้ ง 8 ฟตุ สงู 3 ฟตุ เปน็ ระยะทาง 18 ฟุต เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริม่ ” ใหเ้ ตะ ลกู ฟุตบอลไปกระทบ ฝาผนังใหก้ ระดอนออกมาหลงั เสน้ เรม่ิ แลว้ หยดุ ลกู ฟุตบอล ไว้หลังเส้นเรม่ิ กอ่ นทีจ่ ะเตะลูกฟตุ บอลกลับเขา้ ไปอกี โดยให้จานวนคร้งั ของการหยุดลูก ฟตุ บอลไว้หลงั เส้น เรมิ่ มากทส่ี ดุ ภายใน 30 วินาที กรณีลูกฟุตบอลเสยี การควบคุม ใหผ้ เู้ ขา้ รับการทดสอบใชล้ กู ฟตุ บอลท่ีสารองไว้อีก 2 ลกู ในวงกลมรัศมี 1 ฟตุ ซ่งึ หา่ ง จากเส้นเรมิ่ 6 ฟุต ถา้ ลกู ฟุตบอลทีส่ ารองไวเ้ สียการควบคมุ อกี ผรู้ บั การทดสอบสามารถ ทจ่ี ะไปเกบ็ ลูกฟุตบอลลูกใดลูกหนึ่งในจานวน 3 ลูกมาทาการทดสอบตอ่ ไปได้ ใหท้ าการ ทดสอบ 2 ครั้ง การให้คะแนน ใหค้ ิดคะแนนจากผลรวมของจานวนครงั้ ในการหยุด

29 เกณฑก์ ารประเมนิ ทกั ษะการเตะลูกบอลกระทบฝาผนงั เกณฑค์ ะแนน รายการ ชาย หญิง คะแนน การเตะลกู (1 นาที) 15 45 ข้นึ ไป 28 ขน้ึ ไป 14 13 41-45 25-27 12 11 36-40 22-24 10 9 31-35 19-21 8 7 26-30 16-18 6 21-25 13-15 16-20 10-12 11-15 7-9 6-10 4-6 1-5 1-3 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 6-9 ควรปรับปรงุ ช่วงคะแนน 14-15 12-13 10-11 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ เกณฑ์การผ่าน ระดบั คุณภาพ ดี

30 แบบทดสอบทกั ษะ การเล้ยี งบอล แบบทดสอบทกั ษะกีฬาฟตุ บอล ของนายณฐั วุฒิ ปลอ้ งเจรญิ (2534 : 67-76) ผลการเรียนรู้ เพือ่ วัดความสามารถในการเล้ียงลูกฟุตซอล คณุ ภาพ ค่าความเช่ือม่นั 0.908 อปุ กรณ์ 1. ลูกฟตุ ซอล 1 ลูก 2. หลกั กรวย 5 อนั 3. นาฬกิ าจับเวลา

31 4 ฟุต 8 ฟตุ 30 ฟุต 10 ฟุต ผู้ทดสอบ 5 ฟุต ภาพท่ี 3 แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงบอล ที่มา ; ภาพโดย นายกฤช บญุ กลา้ วิธีการทดสอบ ให้ผ้รู ับการทดสอบพร้อมด้วยลกู ฟตุ ซอลยนื อยู่ในพน้ื ทหี่ ลังเส้นเริ่มตน้ ซึ่งเป็นรปู สเ่ี หลีย่ มจตั ุรัสขนาดกวา้ งและยาวดา้ นละ 5 ฟตุ เม่อื ได้ยินสญั ญาณ “ระวงั ” “เร่มิ ” ให้ผู้รับการทดสอบเล้ียง ลูกฟุตซอลออ้ มหลัก 5 อัน ซ่ึงตั้งอยูใ่ นระยะและทศิ ทางตา่ ง ๆ กัน (ภาพประกอบ) แลว้ เลย้ี ง ลูกฟุตซอลออ้ มหลักกลับมาอยใู่ นพ้ืนท่ีเรมิ่ ตน้ ทง้ั ผูร้ ับการ ทดสอบและลูกฟตุ ซอล โดยใช้ระยะเวลานอ้ ยทส่ี ดุ ให้ทาการทดสอบ 2 ครัง้ การใหค้ ะแนน ให้คิดคะแนนจากผลรวมของเวลาจากการทดสอบท้ัง 2 คร้ัง

32 เกณฑ์การประเมินทักษะการเลีย้ งบอล เกณฑ์คะแนน รายการ ชาย หญิง คะแนน การเล้ียงลูกบอล 15 29 ลงมา 33-34 14 ( 2 คร้งั ) 13 30-32 35-36 12 11 33-34 37-38 10 9 35-36 39-40 8 7 37-38 41-42 6 39-40 43-44 41-42 45-46 43-44 47-48 45-50 49-50 50 ขึน้ ไป 51 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ

33 ช่วงคะแนน 14-15 12-13 10-11 6-9 ระดับคณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผ่าน ระดบั คุณภาพ ดี

34 แบบทดสอบทักษะ การเตะบอลโดง่ แบบทดสอบทกั ษะกีฬาฟตุ บอล ของนายณฐั วฒุ ิ ปลอ้ งเจริญ (2534 : 67-76) วตั ถุประสงค์ เพื่อวดั ความสามารถในการเตะลูกฟตุ บอ ให้ลอยขน้ึ เหนอื พืน้ ในระยะไกล คณุ ภาพ คา่ ความเชื่อมั่น 0.903 อุปกรณ์ ลูกฟตุ บอล จานวน 3 ลูก

35 ผูท้ ดสอบ 20 10 2 หลา ฟตุ ฟุต 4 หลา 20 ภาพที่ 4 แบบทดสอบทักษะ หลา การเตะบอลโด่ง ท่ีมา ; ภาพโดย นายกฤช บญุ กลา้ 1 คะแนน 2 คะแนน วิธกี ารทดสอบ ให้ผรู้ บั การทดสอบ ยืนอยู่ในพืน้ ที่สี่เหลี่ยมผนื ผ้าทม่ี คี วามกว้าง 2 หลา ยาว 4 หลา พร้อมด้วยลูกฟตุ บอล 1 ลกู แลว้ ใช้เทา้ เข่ยี ลูกฟตุ บอลใหก้ ล้ิงไป ข้างหน้าอยา่ งนอ้ ย 1 รอบ เตะลูกฟุตบอลในขณะที่ยงั เคลอ่ื นทีอ่ ยใู่ นพนื้ ที่ สเ่ี หลย่ี มให้ลกู ฟุตบอลลอยขึ้นเหนือพ้นื ไปตกในพ้นื ท่วี งกลม 2 วง ซึ่งมีจุด ศนู ย์กลางรวมกันและห่างจากเสน้ ดา้ นกวา้ งของสี่เหล่ียมผนื ผ้า 25 หลา วงกลม ในมรี ัศมี 10 ฟตุ วงกลมนอกมีรัศมี 20 ฟุต ถา้ ลกู ฟุตบอลตกคร้งั แรกในพนื้ ท่ี หรอื เสน้ รอบวงของวงกลมในจะได2้ คะแนน ถ้าลูกฟตุ บอลตกครัง้ แรกในพ้นื ที่ ส่วนทเี่ หลอื จากวงกลมในและรวมทัง้ เส้นรอบวงกลมนอกจะได้ 1 คะแนน และถา้ จดุ ทีล่ ูกฟุตบอลตกคร้ังแรกอยนู่ อกพ้ืนที่ดงั กลา่ วหรือมกี ารปฏิบัติใน การเตะ ไมถ่ ูกตอ้ งจะได้ 0 คะแนน ใหท้ าการทดสอบ 10 ครง้ั การให้คะแนน ใหค้ ดิ คะแนนจากผลรวมของคะแนนการทดสอบ จานวน 10 คร้ัง

36

37 เกณฑ์การประเมนิ ทักษะการเตะบอลโด่ง เกณฑค์ ะแนน รายการ ชาย หญงิ คะแนน การเตะลูก (10 15 คร้งั ) 13 ข้ึนไป 10 ขึน้ ไป 14 13 12 9 12 11 11 8 10 9 10 7 8 7 96 6 85 74 5-6 3 3-4 2 1-2 1 เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 6-9 ควรปรับปรงุ ช่วงคะแนน 14-15 12-13 10-11 ระดับคณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ เกณฑ์การผ่าน ระดบั คณุ ภาพ ดี

38 แบบทดสอบทักษะ การโหมง่ บอล แบบทดสอบทกั ษะกฬี าฟุตบอล ของ นายณฐั วุฒิ ปลอ้ งเจรญิ (2534 : 67-76) ผลการเรยี นรู้ เพ่อื วัดความสามารถในการโหมง่ บอล คณุ ภาพ คา่ ความเช่อื มั่น 0.849 อุปกรณ์ ลูกฟุตบอล จานวน 3 ลูก

39 ผ้ทู ดสอบ 10 หลา 5 ฟุต 3 หลา ภาพที่ 5 แบบทดสอบทักษะการโหมง่ บอล ทมี่ า ; ภาพโดย นายกฤช บุญกลา้

40 วิธกี ารทดสอบ ใหผ้ รู้ บั การทดสอบยนื ถือลกู ฟตุ บอลอยหู่ ่างหลังเสน้ เริ่ม ซ่งึ มคี วาม ยาว 3 หลา แล้วใหโ้ ยนลูกฟุตบอลข้ึนเหนอื ศรี ษะด้วยมือท้งั สองข้างและ ใชศ้ รี ษะโหม่งลกู ฟุตบอลขณะทีต่ กลงมาไปยงั วงกลมรศั มี 5 ฟตุ ซ่งึ มี จุดศูนยก์ ลางห่างจากเส้นเรม่ิ ถ้าลกู ฟุตบอลตกภายในพ้นื ทวี่ งกลมหรือ เส้นรอบวง ใหค้ ดิ เป็น 1 คะแนน ถา้ ลกู ฟุตบอลตกนอกพนื้ ทด่ี งั กล่าว หรอื ผูร้ ับการทดสอบปฏบิ ตั ไิ ม่ถกู ต้องให้คิดเปน็ 0 คะแนน โดยใหท้ าการ ทดสอบ 10 ครั้ง การใหค้ ะแนน ใหค้ ดิ คะแนนจากจานวนลกู ท่โี หม่งตกในพน้ื ที่วงกลม จากการทดสอบ 10 คร้งั

เกณฑก์ ารประเมินทกั ษะการโหม่งบอล 41 เกณฑ์คะแนน คะแนน 10 รายการ ชาย หญิง 9 การโหม่งบอล 8 12 ขนึ้ ไป 10 ขน้ึ ไป 7 6 11 9 5 4 10 8 3 2 97 1 86 75 64 53 3-4 2 1-2 1 เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ 1-4 ควรปรบั ปรงุ ช่วงคะแนน 9-10 7-8 5-6 ระดบั คุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ เกณฑก์ ารผา่ น ระดับคุณภาพ ดี

42 แบบทดสอบทกั ษะ การยิงประตู แบบทดสอบทักษะกีฬาฟตุ ซอล ของนายวินยั หยง่ั ถึง (2550 : 106-108) วัตถุประสงค์ เพือ่ วัดความสามารถในการยิงประตู คณุ ภาพ คา่ ความเช่ือมน่ั 0.80 อปุ กรณ์ 1. ลูกฟตุ ซอล จานวน 1 ลูก 2. ผนังขนาดกวา้ ง 3 เมตร สงู 2 เมตร

43 3 3 เมตร 3 2 เมตร 1 0.7 เมตร 1.6 เมตร 0.7 เมตร 5 เมตร ผ้ทู ดสอบ ภาพที่ 6 แบบทดสอบทักษะการยงิ ประตู ทมี่ า ; ภาพโดย นายกฤช บุญกล้า วธิ กี ารทดสอบ ใหผ้ รู้ บั การทดสอบพรอ้ มลูกฟตุ ซอล 1 ลูก ยืนอยใู่ นวงกลมรศั มี 1 เมตร ซึ่งอยู่หา่ งจากจดุ กึง่ กลางผนงั 20 หลา แล้วใช้เท้าเข่ียลกู ฟตุ ซอลให้กล้งิ ไป ขา้ งหน้า จากนนั้ ยิงประตดู ้วยหลงั เท้าในขณะทล่ี ูกฟตุ ซอลยงั อย่ใู นวงกลมไป กระทบพื้นท่ีผนงั ซ่งึ ได้กาหนดคะแนนไว้ให้ทาการทดสอบ 9 ครัง้ การให้คะแนน ให้คดิ คะแนนจากผลรวมของคะแนนการทดสอบ จานวน 9 ลกู

44 เกณฑก์ ารประเมนิ ทักษะการยิงประตู เกณฑ์คะแนน รายการ ชาย หญงิ คะแนน การยิงประตู ( 9 15 คร้งั ) 13 ขึ้นไป 10 ขนึ้ ไป 14 13 12 9 12 11 11 8 10 9 10 7 8 5 96 6 85 74 5-6 3 3-4 2 1-2 1

45 เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ 1-4 ควรปรับปรุง ชว่ งคะแนน 9-10 7-8 5-6 ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ เกณฑก์ ารผา่ น ระดับคณุ ภาพ ดี

46 แบบทดสอบหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ประวตั ิและความสาคัญของกีฬาฟุตซอล คาชีแ้ จง : แบบทดสอบนเี้ ปน็ แบบเลอื กตอบ จานวน 10 ขอ้ 10 คะแนน คาสัง่ : ให้นกั เรียนทาเครอ่ื งหมายกากบาท () ทบั ขอ้ ท่ีถกู ทีส่ ดุ เพียงคาตอบเดียว 1. จดุ มุง่ หมายท่สี าคัญของฟุตซอลคืออะไร ก. เพื่อเป็นกฬี าในร่ม ข. เพื่อเป็นกฬี ากลางแจ้ง ค. เพื่อใชแ้ ขง่ ขนั ทว่ั ไป ง. เพือ่ แข่งระหวา่ งประเทศ 2. ผู้ท่คี ดิ และดดั แปลงนากีฬาฟุตซอลมาเลน่ เป็นคนแรกคือใคร ก. เกลาซิโอ เดอ โอริเวยี ร่า คาสโตร ข. โฆเซ่ มาเรยี เมนเดส ปปู สิ ค. ฮวน คาร์ลอส เซรีอานี ง. โซครา-เตส ซิโก้ โรนลั โด้ 3. ขอ้ ใดคือประโยชน์ทางด้านร่างกายของกฬี าฟตุ ซอล ก. ใหร้ จู้ ักเสยี สละ ข. เพื่อรูจ้ กั แพ้ ชนะ ค. เพ่ือฝึกการควบคมุ อารมณ์ ง. ชว่ ยสง่ เสรมิ พฒั นาทางดา้ นการว่งิ เดนิ 4. คณุ สมบตั ขิ องนักกฬี าเขา้ แข่งขัน“เจเพรส จูเนียร์ ฟุตซอลไทยแลนด์ แชมปเ์ ปย้ี นชิพ” คือข้อใด ก. เยาวชนท่วั ไป ข. กาลงั ศึกษาในโรงเรียนมธั ยม

47 ค. เยาวชนสังกดั สโมสร ง. กาลงั ศกึ ษาการศึกษานอกโรงเรียน 5. การแข่งขนั ฟตุ ซอลชงิ แชมป์โลกครั้งที่ 7 ค.ศ.2012 จดั ขน้ึ ท่ปี ระเทศอะไร ก. โปแลนด-์ ยูเครน ข. องั กฤษ ค. สเปน ง. ไทย 6. ขอ้ ใดคอื มารยาททด่ี ีในการดูการแข่งขนั กีฬาฟุตซอล ก. ต้องยนื ดทู ุกครงั้ เพอ่ื ความใกล้ชิด ข. ส่งเสยี งให้ดังท่ีสดุ เพอ่ื แสดงความดีใจ ค. โยนส่งิ ของตา่ ง ๆ ลงในสนามเพอ่ื เตอื นสติ ง. ปรบมือให้เกียรตนิ กั กีฬาทุกคนท่ลี งแขง่ ขนั 7. ขอ้ ใดเป็นสาเหตทุ ่ีทาใหล้ ูกบอลชารุดได้งา่ ยทสี่ ุด ก. ตบลกู บอลกระทบพน้ื ข. เตะลกู บอล ค. นงั่ ทบั ลูกบอล ง. ไม่มขี อ้ ถูก 8. ทีมใดเป็นแชมป์ฟุตซอลชงิ แชมปโ์ ลกครัง้ ที่ 6 ก. อหิ ร่าน ข. อิตาลี ค. บราซลิ ง. โปรตเุ กส 9. ขอ้ ใดไม่ได้บรรจกุ ฬี าฟุตซอลไวใ้ นการแขง่ ขนั ก. ไพรมนิ สิ เตอรค์ ัพ

48 ข. กฬี าแห่งชาติ ค. กีฬาเยาวชนแห่งชาติ ง. กฬี านกั เรยี นนักศึกษาแหง่ ประเทศไทย 10. กีฬาฟตุ ซอลมาจากภาษาอะไร ก. องั กฤษ ข. สเปน ค. บราซิล ง. โปรตเุ กส

49 บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย. ________. (2551). เอกสารประกอบหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตัวชีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษา และพลศกึ ษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว. ชัยสทิ ธิ์ สรุ ิยจนั ทร์. (2547). แนวชุดปฏบิ ตั จิ ริง ฟุตบอล. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์วบี ุ๊ค. ชัยสิทธ์ิ สรุ ยิ จนั ทร์. (2550). แนวชดุ ปฏบิ ัตจิ รงิ ฟุตบอล. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พว์ ีบ๊คุ ณฐั วฒุ ิ ปล้องเจรญิ . (2534). การสร้างแบบทดสอบทักษะฟตุ บอล สาหรับนักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ . ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. (พลศึกษา). กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัย ศรีนครนิ ทรว์ ิโรฒ วนิ ยั หยัง่ ถงึ . (2550). การสรา้ งแบบทดสอบทักษะฟตุ บอล สาหรับนักเรยี นระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 6. โรงเรียนราชนันทาจารย์ สามเสนวิทยาลยั 2. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. อทุ ยั สงวนพงษ.์ (2548). สนุกกบั ฟตุ ซอล. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์ บรษิ ัทพัฒนาคณุ ภาพ วิชาการ (พว.) จากดั .

50 ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook