Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวปฎิบัติการเลี้ยงไก่

แนวปฎิบัติการเลี้ยงไก่

Published by สุภาวิตา ทองน้อย, 2019-05-21 01:11:40

Description: แนวปฎิบัติการเลี้ยงไก่

Search

Read the Text Version

การปฏบิ ัตทิ างการเกษตรทดี่ สี าหรับ ฟาร์มไก่พืน้ เมืองแบบเลยี้ งปล่อย มกษ.6914-2560 นายสัตวแพทย์สมบัติ ศุภประภากร ผู้อานวยการส่ วนมาตรฐานการปศุสัตว์ สานักงานปศุสัตว์เขต 5 กรมปศุสัตว์

ความเป็ นมา  สานักงานปศุสัตว์เขต 5 ได้มหี นังสือถึงสานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เม่ือวันที่ 9 มิถุนายน 2558 ขอให้จัดทาหลกั เกณฑ์การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรับฟาร์มไก่พื้นเมือง โดยมี วตั ถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสม สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง เหมาะสมกบั เกษตรกรรายย่อยทม่ี ีการเลยี้ ง ไก่พื้นเมืองแบบเลีย้ งปล่อยอิสระ ให้สามารถได้รับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ลดความ เสี่ยงต่อการเกดิ โรคระบาดสัตว์ปี ก ได้ผลผลติ ทีม่ คี ุณภาพเป็ นทยี่ อมรับของผู้บริโภค



คุณค่าของไก่พืน้ เมือง ผลการศึกษา • อตั ราการเปลย่ี นอาหารเป็ นเนื้อ เท่ากบั 2.70 • ต้นทุนค่าอาหารต่อตัว เท่ากบั 39.50 +7.55 บาท • ต้นทุนการผลติ ท้ังหมดเท่ากบั 61.29 +6.03 บาท • คุณภาพซากดี ไม่พบขนหมุดสีดา • ไก่มีความเครียดน้อยกว่าไก่ที่เลยี้ งแบบขังกรง (Happy chicken)

คุณค่าของไก่พืน้ เมือง

คุณค่าของไก่พืน้ เมือง

คุณค่าของไก่พืน้ เมือง

คุณค่าของไก่พืน้ เมือง

ประเภทมาตรฐานฟาร์มสัตว์ปี ก การปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรทดี่ สี าหรับฟาร์มสัตว์ปี ก(GAP) - ไก่เนื้อ / ไก่พนั ธ์ุ / ไก่ไข่ - ไก่พืน้ เมือง ปศุสัตว์อนิ ทรีย์



มาตรฐานฟาร์มไก่พืน้ เมืองแบบเลยี้ งปล่อย การปฏิบตั ทิ างการเกษตรท่ดี สี าหรับฟาร์มไก่พืน้ เมืองแบบเลยี้ งปล่อย (มกษ.6914-2560) แนวปฏิบตั ใิ นการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรสาหรับฟาร์มไก่พื้นเมือง แบบเลยี้ งปล่อย(มกษ. 6914(G)-2560)

ทาไม ? ต้องทามาตรฐานฟาร์ม จดั ทาระบบความปลอดภยั  ป้องกนั โรคระบาดสตั วแ์ ละ ทางชีวภาพ(Biosecurity โรคสตั วส์ ู่คน System)  ลดหรือป้องกนั ความสูญเสีย  เพ่ือให้ได้ผลผลติ ท่ีปลอดภยั ทางเศรษฐกิจ ต่อการบริโภค  ผลผลิตปลอดภยั จากสาร ตกคา้ งยาสัตว์ ยาฆ่าแมลง และ สารเคมีตกคา้ งต่างๆ ลดอตั ราการเจบ็ ป่ วยของ ผบู้ ริโภค ลดค่าใชจ้ ่ายภาครัฐจากการ รักษา

วัตถุประสงค์ • คุ้มครองผ้บู รโิ ภคภายในประเทศ • พฒั นาคุณภาพสินค้าปศสุ ัตวเ์ พ่อื การส่งออก • ปกป้องผลประโยชนข์ องเกษตรกรภายในประเทศ • ด้านสวสั ดิภาพคมุ้ ครองสตั ว์ และด้านส่งิ แวดล้อม มาตรฐานฟารม์ เป็นมาตรฐานแบบสมคั รใจ

ไก่พืน้ เมือง เป็ นแหล่งอาหาร สร้างความมน่ั คงทางอาหารให้แก่คนไทยมาโดยตลอด เป็ นทางเลือกในการสร้างอาชีพให้แก่เกษตรกรรายย่อย เป็ นทตี่ ้องการของตลาดและมรี าคาแพง สามารถเพม่ิ คุณค่าและขยายตลาดทสี่ ูงกว่า

ไก่พืน้ เมือง/ไก่พืน้ เมืองลูกผสม ไก่พนั ธ์ุประดู่หางดา ไก่ชี้ฟ้า ไก่พนั ธ์ุชี ไก่พนั ธ์ุเหลืองหางขาว ไก่ดาภูพาน ไก่ฟ้าหลวง ไก่แม่ฮ่องสอน ไก่พนั ธ์ุคอล่อน

ขอบข่าย  มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ครอบคลุมข้อกาหนดการปฏบิ ัตทิ างการเกษตรทด่ี สี าหรับฟาร์มไก่พืน้ เมือง แบบเลยี้ งปล่อยเพื่อการค้า ต้งั แต่องค์ประกอบฟาร์ม อาหาร นา้ การจัดการฟาร์ม การจดั การสุขภาพสัตว์ การจัดการสวัสดภิ าพสัตว์ การจดั การด้านสิ่งแวดล้อม และการบันทกึ ข้อมูล เพ่ือผลติ ไก่พืน้ เมืองที่มี สุขภาพแข็งแรง และได้เนื้อไก่ทเ่ี หมาะสมสาหรับการบริโภค

นิยาม  ไก่พืน้ เมือง (indigenous chicken/native chicken) หมายถงึ ไก่ท่ีมีชื่อ วทิ ยาศาสตร์ว่า Gallus gallus หรือ Gallus domesticus ครอบคลุมไก่พืน้ เมืองไทยหรือไก่พืน้ เมืองลกู ผสม เป็ นสายพนั ธ์ุทที่ นทานต่อสภาพแวดล้อม สามารถเลยี้ งแบบปล่อยได้ เช่น ไก่พนั ธ์ุประดู่หางดา ไก่พนั ธ์ุเหลืองหางขาว ไก่พนั ธ์ุแดงและไก่พนั ธ์ุชี  การเลยี้ งไก่แบบปล่อย (free range chicken farming) หมายถึง การจัดการเลยี้ งไก่ ซ่ึงมชี ่วงเวลาในแต่ละวนั ทปี่ ล่อยให้ไก่ได้ออกมาภายนอกโรงเรือน ซึ่งเป็ นพืน้ ดินที่มหี ญ้าหรือพืชทเ่ี ป็ น อาหารได้อย่างอสิ ระ ไก่ได้แสดงพฤตกิ รรมตามธรรมชาติ เช่น การไซร้ขน คุ้ยเขีย่ จิกกนิ พืชผกั ทาให้ ไก่อารมณ์ดแี ละมีความสุข

นิยาม  ฟาร์มไก่พืน้ เมืองแบบเลยี้ งปล่อย (free range indigenous chicken farm) หมายถึง สถานทเ่ี ลยี้ งไก่พืน้ เมืองเพ่ือการค้า ซ่ึงครอบคลมุ ถึง โรงเรือน และพืน้ ทเี่ ลยี้ งปล่อย สถานทเ่ี กบ็ และเตรียมอาหารสัตว์บริเวณสาหรับทาลายซาก จุดรวบรวมขยะ เป็ นต้น  โรงเรือน (house) หมายถึง อาคารหรือส่ิงปลกู สร้างใช้เลยี้ งไก่พืน้ เมืองสาหรับเป็ นทพี่ กั อาศัย มหี ลงั คากนั แดดกนั ฝนและมวี สั ดุล้อมรอบโรงเรือน เช่น โครงไม้ทมี่ ตี าข่าย และป้องกนั ไม่ให้สัตว์อื่นเข้า เช่น นก  พืน้ ทเ่ี ลยี้ งไก่แบบปล่อย หมายถึง บริเวณการเลยี้ งไก่ท่เี ป็ นพืน้ ดินนอกโรงเรือน มีหญ้าหรือพืช ทเ่ี ป็ นอาหาร และอยู่เช่ือมต่อกบั โรงเรือน เพ่ือมีบริเวณให้ไก่แสดงพฤตกิ รรมตามธรรมชาติ

1.องค์ประกอบฟาร์ม 1.1 สถานทตี่ ้งั ต้องได้รับการยนิ ยอมจากหน่วยราชการส่วนท้องถิ่น(ใบ อภ.2/หนังสือรับรองจากท้องถ่นิ ) ต้งั อยู่ในพืน้ ทท่ี เี่ หมาะสม ไม่ส่งผลกระทบต่อชุมชน และมีแหล่งนา้ สะอาดเพยี งพอต่อการ เลยี้ งสัตว์ ต้งั อยู่ในสภาพแวดล้อมทไี่ ม่เสี่ยงต่อการปนเปื้ อนจากอนั ตรายทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพ เว้นแต่ มมี าตรการป้องกนั อนั ตรายท่ีมปี ระสิทธิภาพ

พนื้ ท่ไี ม่เหมาะสมในการตงั้ ฟาร์ม 1. พนื้ ท่ลี ุ่มนา้ ชนั้ 1 และ 2 • ตามมติ ครม.เพ่อื อนุรักษ์แหล่งต้นนา้ ลาธาร ลงวันท่ี 14 มกราคม 2518 และวันท่ี 13 กรกฎาคม 2520 2. พนื้ ท่ปี ่ าอนุรักษ์ • ตาม พรบ.ป่ าไม้ พ.ศ.2504, พรบ.ป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507, พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า พ.ศ.2505 3. พนื้ ท่มี ีความลาดชนั โดยเฉล่ียมากกว่าร้อยละ 35 ตามมติ ครม.ลงวันท่ี 3 ธันวาคม 2528 4. พนื้ ท่เี ขตควบคุมมลพษิ ตาม พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่งิ แวดล้อม พ.ศ.2535 5. พนื้ ท่ชี ุ่มนา้ ตามอนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) 6. แหล่งชุมชน แหล่งนา้ ตามธรรมชาติ และท่มี นุษย์สร้างขนึ้ 7. พืน้ ท่นี า้ ท่วมซา้ ซาก

• สานักงานผงั เมืองในท้องถน่ิ หรือผงั เมืองจังหวดั • Download ผงั เมืองรวมรายจงั หวดั ได้ในเวบไซด์ www.dpt.go.th /lawmap/main_lawmap.html

ฟาร์มไก่ต้องมที ตี่ ้งั แยกออกจากฟาร์มสัตว์ชนิดอ่ืนทส่ี ามารถก่อให้เกดิ การแพร่กระจายของเชื้อโรค และควรอยู่ห่างจากแหล่งอพยพของสัตว์ปี กธรรมชาติ แหล่งรวมสัตว์ปี ก เช่น ตลาดค้า สัตว์ปี กโรงฆ่าสัตว์ปี ก โรงงานรวบรวมหรือแปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากมูลหรือซากสัตว์ปี ก อย่างน้อย 5 กโิ ลเมตร หรือมมี าตรการป้องกนั โรคทด่ี เี พื่อป้องกนั ไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ฟาร์ม

1.องค์ประกอบฟาร์ม 1.2 ผงั และลกั ษณะฟาร์ม พืน้ ท่ีฟาร์มมีขนาดเพยี งพอเหมาะสมในการเลยี้ งสัตว์ ไม่ก่อให้เกดิ ผลกระทบต่อสุขภาพ สัตว์และส่ิงแวดล้อม มรี ้ัวรอบพืน้ ทก่ี ารเลยี้ ง มกี ารวางผงั ฟาร์มทด่ี ี และจดั พืน้ ที่เป็ นสัดส่วนอย่างชัดเจน เหมาะสมตามวตั ถุประสงค์ เช่น บริเวณเลยี้ งสัตว์ เกบ็ อาหารสัตว์ เกบ็ อุปกรณ์ ทาลายซากสัตว์ รวบรวมขยะและ สิ่งปฏิกลู และทพ่ี กั อาศัย

1.องค์ประกอบฟาร์ม 1.3 โรงเรือน สร้างด้วยวสั ดทุ คี่ งทน แขง็ แรง ง่ายต่อการทาความสะอาดและบารุงรักษา มีการระบาย อากาศทด่ี แี ละไม่ก่อให้เกดิ อนั ตรายต่อคนและไก่สามารถป้องกนั นกไม่ให้เข้าสู่บริเวณ โรงเรือนได้ มพี ืน้ ท่เี พยี งพอในการเลยี้ งไก่ ให้ไก่สามารถแสดงพฤตกิ รรมตามธรรมชาตไิ ด้ ในกรณที ใี่ ช้วสั ดรุ องพืน้ ภายในโรงเรือน วสั ดุทใี่ ช้ต้องใหม่ สะอาดแห้ง และมีการฆ่าเชื้อ ก่อนนามาใช้

รูปแบบฟาร์มเลยี้ งไก่พืน้ เมืองแบบเลยี้ งปล่อย

1.องค์ประกอบฟาร์ม 1.4. พืน้ ทเี่ ลยี้ งปล่อย มพี ืน้ ทเี่ ลยี้ งปล่อยภายนอกโรงเรือนอย่างเพยี งพอ ให้ไก่มคี วามเป็ นอยู่ตาม ธรรมชาติ เป็ นพืน้ ทมี่ หี ญ้าหรือพืชทเ่ี ป็ นอาหาร

ภายในโรงเรือน นา้ หนักไก่พืน้ เมืองรวมไม่เกนิ 15 กโิ ลกรัม ต่อพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร เพื่อให้ไก่มีอสิ ระในการ เคลื่อนไหว และสามารถแสดงพฤตกิ รรมตามธรรมชาติได้ มคี อนให้ไก่เกาะภายในโรงเรือน มีพืน้ ทเี่ ลยี้ งปล่อยสาหรับไก่หลงั จากช่วงอนุบาลภายนอก โรงเรือนอย่างน้อย 1 ตร.ม./ตวั

โรงเรือนต้องมโี ครงสร้างแขง็ แรง ง่ายต่อการบารุงรักษาและทาความสะอาด มหี ลงั คาสาหรับกนั แดดกนั ฝน มกี ารระบายอากาศทดี่ ี ไม่ควรมีส่วนย่ืนทแ่ี หลมคมซึ่งทาให้สัตว์หรือผู้ปฏบิ ตั งิ านได้รับอนั ตราย สามารถป้องกนั นกเข้าโรงเรือนได้ เช่น การทาตาข่ายรอบโรงเรือน เน่ืองจากนก อาจนาโรคมาสู่ไก่ได้

โรงเรือนไก่พืน้ เมือง

โรงเรือนสัตว์ป่ วย

2. อาหารสาหรับไก่พืน้ เมือง กรณีที่ใช้อาหารสาเร็จรูป ต้องมคี ุณภาพและมาตรฐานตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพ อาหารสัตว์ และให้ตรวจสอบคุณภาพอาหารไก่ทางกายภาพในเบื้องต้น และเกบ็ ตวั อย่างอาหาร ในแต่ละรุ่นเพื่อใช้วเิ คราะห์ทางห้องปฏิบตั ิการหากเกดิ กรณมี ปี ัญหาหรือข้อสงสัย ในกรณที ผี่ สมอาหารเองในฟาร์ม วตั ถุดบิ ทีใ่ ช้หรือส่ิงทเี่ ติมในอาหารต้องมีคุณภาพ ปลอดภยั และ ห้ามใช้สารต้องห้าม ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ ใช้ภาชนะให้อาหารท่สี ะอาดและเหมาะสมกบั จานวนและอายุของไก่และจดั วางในโรงเรือนเท่าน้ัน และอยู่ในตาแหน่งทไี่ ก่ทุกตวั เข้าถึงอาหารสัตว์ได้

2. อาหารสาหรับไก่พืน้ เมือง(ต่อ)  การผสมสารเคมหี รือยาในอาหารเพื่อรักษาโรค ต้องอยู่ภายใต้การดูแลรับผดิ ชอบของสัตวแพทย์ ผู้ควบคุมฟาร์ม รวมถึง มสี ถานทเี่ กบ็ อาหารสัตว์ผสมยาแยกออกจากการเกบ็ อาหารทวั่ ไปและมปี ้าย บ่งชี้  มีสถานที่เกบ็ อาหารไก่ทสี่ ามารถป้องกนั การปนเปื้ อนและการเส่ือมสภาพของอาหารสัตว์ได้

 ภาชนะให้อาหารทสี่ ะอาดและเหมาะสม กบั จานวนและอายุของไก่  สถานทเี่ กบ็ อาหารไก่ทส่ี ามารถป้องกนั การปนเปื้ อนและ การเสื่อมสภาพของอาหารสัตว์ได้  อาหารสัตว์ทม่ี คี ุณภาพมคี วามปลอดภยั ไม่หมดอายุ และไม่มกี าร ผสมยาสัตว์หรือสารเคมตี ้องห้ามลงในอาหารสัตว์ เช่น ไนโตรฟู แรน คลอแรมเฟนิคอล สารเร่งเนื้อแดง

3. นา้ สาหรับไก่พืน้ เมือง  แหล่งนา้ ทใี่ ช้ในฟาร์มต้องสะอาด เพยี งพอ และอยู่ในบริเวณทไี่ ม่เสี่ยงต่อการปนเปื้ อนจากสิ่งท่ี เป็ นอนั ตราย  ใช้ภาชนะให้นา้ ทส่ี ะอาด เพยี งพอ  อยู่ในตาแหน่งทไ่ี ก่ทุกตัวเข้าถึงภาชนะให้นา้ ได้สะดวก  การผสมสารเคมหี รือยาในนา้ เพื่อรักษาโรค ต้องอยู่ภายใต้การดูแลรับผดิ ชอบของสัตวแพทย์ ผู้ควบคุมฟาร์ม

นา้ ที่ใชเ้ ลียงสตั ว์ การผสมสารเคมหี รือยาใน นา้ เพ่ือรักษาโรค ต้องอยู่ ภายใต้การดูแลรับผดิ ชอบ ของสัตวแพทย์ผู้ควบคุม ฟาร์ม ควรใช้นา้ สะอาด หรือมี ระบบการฆ่าเชื้อในนา้ ใช้

4. การจัดการฟาร์ม  4.1 มคี ู่มือการจดั การฟาร์มท่แี สดงรายละเอยี ดการปฏิบัตงิ านทส่ี าคญั ภายในฟาร์ม ได้แก่ ระบบการเลยี้ ง การจดั การอาหารและนา้ สาหรับไก่ การทาความสะอาดและบารุงรักษา การ จัดการด้านสุขภาพไก่ การจดั การด้านสวสั ดภิ าพสัตว์ปี ก การจดั การด้านส่ิงแวดล้อม และแบบ บนั ทกึ ข้อมูล

คู่มือการจดั การฟาร์ม 1. การเตรียมโรงเรือน 2. การกกลกู ไก่ 3. การจัดการด้านการเลยี้ งไก่ (ตามช่วงอายุ) 4. การจัดการด้านอาหารและนา้ 5. การทาความสะอาดและบารุงรักษา 6. การจดั การด้านสุขภาพสัตว์ปี ก ประกอบด้วย โปรแกรมการใช้วคั ซีน การใช้ยา การสุ่มตรวจ สภาวะโรคและระดบั ภูมคิ ุ้มกนั โรค การจดั การไก่ป่ วย หรือไก่ตาย 7. การควบคุมสัตว์พาหะ 8. การจัดการเรื่องสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม เช่น การระบายอากาศ การกาจัดของเสีย 9. การคุ้มครองและดูแลสวสั ดภิ าพสัตว์ปี ก ณ สถานทเ่ี ลยี้ งและการขนส่ง

บนั ทึกการจัดการฟารม์

การจดั การฟาร์ม ปิ ดพกั โรงเรือนก่อนนาไก่รุ่นใหม่เข้าเลยี้ งอย่างน้อย 14 วนั และกรณเี กดิ โรคระบาดให้ปฏบิ ัติตามประกาศและระเบยี บของกรมปศุสัตว์ พกั พืน้ ทเี่ ลยี้ งปล่อยก่อนนาไก่รุ่นใหม่เข้าเลยี้ งอย่างน้อย 21 วนั และกรณเี กดิ โรคระบาดให้ปฏบิ ตั ิตามประกาศและระเบยี บของกรมปศุสัตว์ พืน้ ทเ่ี ลยี้ งปล่อยภายนอกโรงเรือนต้องมกี ารจดั การสภาพแวดล้อมทด่ี ี และเป็ นพืน้ ทที่ ม่ี หี ญ้าหรือพืชทเี่ ป็ นอาหารอย่างน้อยร้อยละ 40 ของพืน้ ท่ี แปลงหญ้าหรือพืชอาหาร อาจมกี ารหมุนเวยี นหรือพกั แปลง ให้หญ้าได้งอกใหม่ และตดั วงจรพยาธิ ไก่ควรถูกปล่อยเลยี้ งภายนอกโรงเรือนไม่น้อยกว่าวนั ละ 8 ช่ัวโมง ท้งั นีใ้ ห้พจิ ารณาความเหมาะสมและสอดคล้องกบั พฤตกิ รรม สรีระ ของไก่พืน้ เมืองในแต่ละช่วง อายุ รวมท้งั สภาพอากาศ ในกรณที เี่ กดิ โรคระบาดในสัตว์ปี กจาเป็ นต้องจากดั บริเวณการเลยี้ งไก่เฉพาะในโรงเรือน

4. การจดั การฟาร์ม 4.2 บุคลากร  มกี ารจัดการแรงงานทเี่ หมาะสม ดังนี้ (1) มีหนังสือสัญญาการจ้างงาน (2) จ้างแรงงานทมี่ ีอายุไม่น้อยกว่า 18 ปี บริบูรณ์ (3) กรณีเป็ นแรงงานต่างด้าวต้องมหี นังสือเดนิ ทาง /หนังสือกากบั (บัตรสีชมพ)ู ทถ่ี ูกต้องตามกฎหมาย และมใี บอนุญาตทางาน (4) จดั สวสั ดกิ ารแก่ผู้ใช้แรงงานอย่างเหมาะสมและพอเพยี ง (5) จดั หาอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน (6) ปฏิบตั ิต่อลกู จ้างชายและหญงิ โดยเท่าเทยี มกนั ในการจ้างงาน

4. การจัดการฟาร์ม 4.2 บุคลากร  มจี านวนบุคลากรพอเหมาะกบั จานวนไก่ทีเ่ ลยี้ ง มีการจัดแบ่งหน้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบอย่าง ชัดเจน  บุคลากรทท่ี าหน้าทเี่ ลยี้ งไก่ต้องมีความรู้และได้รับการฝึ กอบรมหรือได้รับการถ่ายทอดความรู้ เพ่ือให้เลยี้ งไก่ได้อย่างถูกต้อง  มสี ัตวแพทย์ทม่ี ีใบรับรองเป็ นผู้ควบคุมฟาร์มสัตว์ปี กกากบั ดูแลด้านสุขภาพไก่  บุคลากรต้องมสี ุขลกั ษณะส่วนบุคคลทดี่ แี ละต้องได้รับการตรวจสุขภาพประจาปี

4. การจดั การฟาร์ม 4.3 การทาความสะอาดและบารุงรักษา  โรงเรือน และอปุ กรณ์ต้องสะอาด ถูกสุขลกั ษณะ  บารุงรักษาโรงเรือนและอปุ กรณ์ให้อยู่ในสภาพดี มีความปลอดภยั ต่อไก่และผู้ปฏบิ ตั งิ าน  ทาความสะอาด ฆ่าเชื้อโรงเรือนและอุปกรณ์หลงั จากย้ายไก่รุ่นเก่าออกและก่อนนาไก่รุ่นใหม่เข้าเลยี้ ง  หลงั จากย้ายไก่รุ่นเก่าออก ให้ปิ ดพกั โรงเรือนก่อนนาไก่รุ่นใหม่เข้าเลยี้ งหรือปฏบิ ตั ิตามทกี่ รมปศุสัตว์กาหนด  พืน้ ทเี่ ลยี้ งแบบปล่อยต้องมีการทาความสะอาดและฆ่าเชื้อหลงั จากย้ายไก่รุ่นเก่าออก และก่อนนาไก่รุ่นใหม่เข้า มาเลยี้ ง  สารเคมี ยาฆ่าเชื้อ หรือวตั ถุอนั ตรายทใี่ ช้ในกระบวนการต่างๆ ให้ใช้ตามคาแนะนาของฉลากผลติ ภณั ฑ์ทข่ี นึ้ ทะเบยี นกบั กรมปศุสัตว์ หรือตามคาแนะนาของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มสัตว์ปี ก

บุคลากรทท่ี าหน้าทเ่ี ลยี้ งไก่ต้องมคี วามรู้และได้รับการ - การจัดการดูแลไก่ระยะต่างๆ ฝึ กอบรม หรือได้รับการถ่ายทอดความรู้เพ่ือให้เลยี้ งไก่ได้ - การเตรียมโรงเรือน อย่างถูกต้อง - หลกั สวัสดิภาพสัตว์ปี ก - สุขลกั ษณะส่วนบุคคล - การสุขาภิบาล - การปฏบิ ตั ิเม่ือเกดิ เหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟฟ้าดับ อคั คภี ัย อทุ กภยั สารเคมีร่ัวไหล - การดูแลสุขภาพไก่ - ระบบมาตรฐานฟาร์ม

4. การจดั การฟาร์ม 4.4 การจัดการพืน้ ที่เลยี้ งปล่อย พืน้ ทเ่ี ลยี้ งปล่อยภายนอกโรงเรือน หญ้า หรือพืชทเ่ี ป็ นอาหารต้องมกี าร หมุนเวยี นหรือพกั แปลง หรือกรณหี ญ้า หรือพืชทเี่ ป็ นอาหารไก่ไม่เพยี งพอ ต้อง มกี ารเสริมหญ้าหรือพืชจากภายนอก

5. สุขภาพสัตว์ 5.1 การป้องกนั และควบคุมโรค  การจดั การสุขภาพสัตว์ การใช้ยา และโปรแกรมวคั ซีน อยู่ภายใต้ความดูแลของสัตวแพทย์ผ้คู วบคุมฟาร์ม หรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมายจากสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม  มกี ารป้องกนั และฆ่าเชื้อโรค ยานพาหนะ อุปกรณ์ และบุคคลก่อนเข้า-ออกฟาร์ม รวมถงึ มีการจดบนั ทกึ การผ่านเข้า-ออกฟาร์มของบุคคลภายนอกท่สี ามารถตรวจสอบได้  มีมาตรการควบคุมสัตว์พาหะนาเชื้อ  กรณเี กดิ โรคระบาดหรือสงสัยว่าเกดิ โรคระบาด ให้ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์และ คาแนะนาของกรมปศุสัตว์  การจัดการซากไก่ให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มด้วยวธิ ีเหมาะสม

มกี ารป้องกนั และฆ่าเชื้อโรค ยานพาหนะ อุปกรณ์ และบุคคลก่อนเข้า-ออกฟาร์ม บุคคลทม่ี ปี ระวตั ิสัมผสั กบั สัตว์ปี กในฟาร์มอ่ืน ก่อนเข้าพืน้ ทเ่ี ลยี้ งไก่จะต้องมรี ะยะพกั โรค โดยไม่ไปสัมผสั ไก่ใน พืน้ ทเ่ี ลยี้ งเป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 วนั

ระบบความปลอดภยั ทางชีวภาพที่มปี ระสทิ ธภิ าพ

ระบบความปลอดภยั ทางชีวภาพที่มปี ระสทิ ธภิ าพ

5. สุขภาพสัตว์ 5.2 การบาบดั โรคสัตว์ อยู่ภายใต้การดูแลของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มโดยปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยวชิ าชีพ การสัตวแพทย์ และฉบบั แก้ไขเพมิ่ เตมิ และตามข้อกาหนดในมาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 9032 เรื่อง ข้อปฏบิ ตั กิ ารควบคุมการใช้ยาสัตว์ และห้ามใช้ฮอร์โมนเร่งการ เจริญเตบิ โต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook