Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KMMango1

KMMango1

Published by สุภาวิตา ทองน้อย, 2019-04-29 02:12:15

Description: KMMango1

Search

Read the Text Version

คู่มือการปลูกมะม่วง มะม่วง จัดเป็นไม้ผลเขตร้อนท่ีมีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย มีพันธ์ุปลูกมากกว่า 100 พันธ์ุ มะม่วง สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิอากาศ ของประเทศไทยได้ดี ปลูกได้เกือบทั้งประเทศ จึงเป็นไม้ผลท่ีมีผู้นิยมปลูกและ รับประทานมากเปน็ อันดับหนึง่ ของประเทศไทย แตก่ ารเลอื กพ้ืนท่ปี ลกู ใหเ้ หมาะสม ตอ้ งคานงึ ด้านต่างๆ ดังนี้ สภาพพืน้ ที่ทเ่ี หมาะสม • ควรเปน็ พนื้ ทีม่ ีความสูงจากระดบั น้าทะเล 10-300 เมตร • ปลกู ได้ทั้งพ้นื ที่ดอนและทลี่ ุ่ม นา้ ไมท่ ่วมขัง • พนื้ ทม่ี ีความลาดเอียงไม่เกิน 15 เปอร์เซน็ ต์ • มกี ารคมนาคมและการขนสง่ สะดวก ลักษณะดิน • ดนิ ที่เหมาะสมควรเปน็ ดนิ รว่ มปนทราย มีการระบายน้าได้ดี • มีความเป็นกรดปานกลางถึงด่างเลก็ นอ้ ยประมาณ 5.5-7.5 ซง่ึ โดยทัว่ ไปแลว้ มะมว่ งมีความสามารถในการ เจรญิ เติบโตและใหผ้ ลผลิตได้ดใี นสภาพความเปน็ กรด - ดา่ ง ของดนิ ท่คี ่อนข้างจะกว้าง สภาพภมู อิ ากาศ • อุณหภูมทิ ่ีเหมาะสมเฉลี่ยท้ังปีประมาณ 20-34 องศาเซลเซียส • ต้องการชว่ งแลง้ ก่อนการออกดอกประมาณ 2 เดอื น และอุณหภมู ิตา่ ประมาณ 15-20 องศาเซลเซยี ส ต่อเนอ่ื งกันประมาณ 2 สัปดาห์ ขน้ึ อย่กู บั พันธุ์ • มะม่วงบางพันธุ์ ไม่ต้องการอุณหภูมติ า่ เพื่อกระตุ้นการสร้างตาดอก เชน่ พนั ธทุ์ มี่ ีนิสัยการออกดอกทะวาย • ปริมาณน้าฝนทเ่ี หมาะสมควรอยรู่ ะหวา่ ง 700-1500 มลิ ลิเมตรตอ่ ปี และการตกของฝนกระจายตวั สม่าเสมอ ในฤดฝู น แหลง่ น้า ควรมแี หล่งนา้ ทส่ี ะอาด • ไม่มสี ารท่เี ป็นพิษปนเปอ้ื น • น้ามคี วามเป็นกรดเปน็ ดา่ งท่เี หมาะสมประมาณ 6.0-7.5 • ต้องมนี ้าใช้อยา่ งเพยี งพอ โดยเฉพาะในระยะพฒั นาผล •

การปลูกมะม่วง การเตรยี มพน้ื ที่ พ้นื ทด่ี อน ปรบั พืน้ ทใี่ หส้ ม่าเสมอ แล้วไถดะและพรวน 1-2 ครง้ั พน้ื ท่ลี ุ่ม ควรยกรอ่ งให้สนั ร่องสูงกวา่ ระดับน้าที่เคยท่วมสงู สุด 0.5 - 1.0 เมตร ปลกู มะมว่ งบนสนั ร่อง ระยะระหว่าง สนั รอ่ ง 6-8 เมตร รอ่ งน้ากวา้ ง 1.0 - 1.5 เมตร การเลือกต้นพันธ์มุ ะม่วง • เปน็ พันธุท์ ่คี ดั เลือกจากสวนหรอื แหล่งพันธุ์ท่เี ชื่อถือได้ • ตน้ พนั ธ์ุไดจ้ ากการขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศ เช่น การทาบก่ิง การเปลยี่ นยอด เป็นต้น • ตน้ มีความสูงมากกวา่ 60 เซนติเมตร มรี ะบบรากแขง็ แรงไม่ขดหรืองอ ระยะปลูก ระยะปลูกทัว่ ไปคือ ระยะระห่างแถว 6-8 เมตร ระหวา่ งต้น 6-8 เมตร • ระบบการปลูกชดิ เชน่ ปลูกระยะ 4x4 เมตร ไดจ้ านวนต้นและผลผลิตต่อหนว่ ยพน้ื ที่มาก ขณะท่กี ารลงทนุ เพิ่ม • มากข้ึน มกี ารควบคุมทรงพุ่มและการจัดการมากย่ิงขนึ้ กวา่ ระยะปลูกปกติ • ข้ันตอนการปลูก • ขดุ หลมุ ปลกู ขนาด 50x50x50 เซนติเมตร กรณีพนื้ ทีด่ ินมีความอดุ มสมบูรณ์ต่า ควรขุดหลุมใหม้ ขี นาดใหญข่ ึ้น และใช้วัสดุปรบั ปรุงดินเพ่ิมมากขน้ึ • วัสดุปรับปรงุ ดินท่ใี ชก้ บั หลมุ ขนาดปกติ ประกอบด้วยหนิ ฟอสเฟต 0.5 กิโลกรมั ปุ๋ยอินทรีย์ 5-10 กิโลกรมั ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 อัตรา 200-300 กรัม คลุกเคลา้ กบั ดนิ นามะม่วงออกจากถงุ แลว้ ปลูกมะม่วงลงกลาง หลุม ปกั หลกั ยึดตน้ กันการโยกคลอน แล้วใช้มีดกรดี เอาพลาสตกิ บริเวณรอยต่อระหว่างยอดพันธุ์กับต้นตอออก • ในแหล่งปลูกท่ีมลี มแรงควรปลกู ไมบ้ งั ลมเป็นแถว หรือเปน็ แนวขวางทิศทางลมล่วงหนา้ หรอื ปลกู พร้อมๆ กับ การปลูกมะมว่ ง เชน่ สะเดา หรอื ไผ่ เปน็ ต้น ฤดูปลกู ตน้ ฤดฝู นเหมาะสมที่สดุ มะม่วงทีป่ ลกู จะมีการเจริญเตบิ โต และตง้ั ตวั ได้ก่อนถึงฤดแู ลง้ แต่ถา้ หากมรี ะบบการให้นา้ ก็ สามารถปลูกมะมว่ งได้ทุกฤดูกาล

การดูแลรักษา การเตรยี มความพร้อมต้นมะม่วง มะมว่ งเร่ิมปลกู ถึงก่อนใหผ้ ลผลิต  กาจดั วัชพชื ใต้ทรงพุ่ม ใสป่ ยุ๋ และให้นา้ อย่างสม่าเสมอตลอดปี  ตัดแต่งก่ิง และจดั โครงสรา้ งต้น ใหเ้ หมาะสมกบั ระยะปลกู  ปอ้ งกนั กาจัดศัตรูพืชให้มะม่วงมีกง่ิ แข็งแรงมีใบสมบูรณ์ มะมว่ งระยะเจรญิ ทางกิ่งใบ  หลังเกบ็ เกีย่ วผลผลิตเสร็จแลว้ ทาการตดั แต่งกิ่งและใสป่ ุ๋ยทางดนิ ทันที พรอ้ มกับการให้น้า อย่างเพียงพอ เพ่ือ กระต้นุ การเจรญิ เตบิ โต และสรา้ งความสมบูรณ์ของตน้  มะม่วงแตกใบใหม่อย่างนอ้ ย 2 รนุ่ ในรอบปี ดูแลรกั ษาให้ต้นและใบมะมว่ งสมบรู ณเ์ ตม็ ท่ี การเตรยี มความพร้อมสา้ หรับการสรา้ งตาดอก ปลายฤดูฝนได้ต้นมะม่วงที่แข็งแรงสมบูรณ์ ควบคุมให้ต้นพักตัวและสะสมอาหารมะม่วงจะสร้างตาดอก ในระยะนี้ โดยงดการให้น้ากอ่ นฤดูออกดอกอย่างน้อย 2 เดือน และไถพรวนรอบนอกทรงพุ่ม เป็นการตัดรากมะม่วงบางส่วนและกาจัด วัชพืชพร้อมกัน ในกรณีที่มีฝนหลงฤดูตกลงมา ควรพ่นปุ๋ยทางใบ เช่น สูตร 2-52-34 อัตรา 100-150 กรัมต่อน้า 20 ลิตร เพือ่ ชว่ ยให้มะม่วงไมแ่ ตกใบออ่ นและยงั คงมีการสะสมอาหารต่อไป การเพิม่ ปรมิ าณและปรับปรุงคณุ ภาพผลผลติ พัฒนาการของตาดอก มะมว่ งจะพักตวั ระยะหนง่ึ แล้วจะเร่มิ แทงชอ่ ดอก ในระยะน้ีควรเรม่ิ ใหน้ ้าปริมาณนอ้ ย ๆ แลว้ คอ่ ย ๆ เพม่ิ ข้นึ เป็น ลาดับเพ่อื สง่ เสริมการเจริญเติบโตของชอ่ ดอกทาการปอ้ งกันกาจดั ศัตรูพชื ตามคาแนะนา การเพ่มิ การติดผล หลงั จากมะม่วงเร่ิมติดผลแลว้ ควรเพ่ิมปรมิ าณการใหน้ ้าขนึ้ โดยในระยะ 7-10 วนั หลังการตดิ ผล เพ่มิ ปริมาณการให้ น้ามากขน้ึ อย่างตอ่ เน่ืองจนถึงระดับท่มี ะม่วงต้องการอยา่ งเต็มท่ี การสง่ เสริมการพฒั นาของผล  โดยการให้นา้ ไปตลอดและหยุดการให้นา้ ก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลติ ประมาณ 10-15วัน  ใส่ปยุ๋ ตามพฒั นาการของผล การป้องกันผลผลิตเสียหาย การหอ่ ผล ห่อเมือ่ ผลอายุ 45-60 วัน จะทาให้มะม่วงมีคณุ ภาพดี เช่น ผิวผลสวยลดการรว่ งของผล ลดหรอื ป้องกัน การเข้าทาลายของโรคและแมลงบางชนิด เป็นต้น การใหป้ ยุ๋ กาจัดวัชพชื ใต้ทรงพมุ่ ก่อนใส่ปุ๋ยทกุ คร้ัง มะมว่ งอายุ 1-2 ปี ใสป่ ยุ๋ สตู ร 15-15-15 อัตรา 1-2 กโิ ลกรมั ตอ่ ต้นต่อปี แบ่งใส่ 2 ครง้ั เท่ากันในช่วงตน้ และ  ปลายฤดฝู น ใสร่ อบโคนตน้ แล้วพรวนดนิ กลบ 

 มะม่วงที่ให้ผลผลิตแล้วหรือต้นอายุ 3 ปีขน้ึ ไป มีการใสป่ ุ๋ยเป็นระยะตามพัฒนาการหรือความตอ้ งการดังนี้  ระยะบารงุ ตน้ หลงั เก็บเกี่ยวผลผลิตและตัดแต่งกิ่งแลว้ ใช้ป๋ยุ สตู ร 15-15-15 หรอื 20-10-10 หรอื 30-10-10 อัตรา 1-2 กโิ ลกรัมต่อตน้ ตอ่ ครง้ั รว่ มไปกับปุ๋ยอินทรยี ์ อัตรา 10-20 กโิ ลกรัมตอ่ ต้นต่อคร้ัง โดยใสร่ อบทรงพุ่ม แล้วพรวนดินกลบ ใสป่ ุ๋ยอกี ครง้ั เม่ือมะม่วงเริ่มแตกใบชดุ ท่ี 2 โดยใชส้ ูตรปุย๋ และอัตราเดิม  ระยะเรง่ สรา้ งตาดอก ก่อนมะมว่ งออกดอก 2-3 เดอื น ใส่ปุ๋ย 12-24-12 หรือ 8-24-24 อตั รา 1-2 กิโล กรัมตอ่ ตน้ สาหรับต้นอายุ 2-4 ปี อัตรา 2-4 กิโลกรมั ต่อตน้ สาหรับต้นอายุ 5-7 ปี และ 4-6 กิโลกรมั ตอ่ ตน้ เมื่อต้น อายุ 8 ปขี ้นึ ไป  ระยะบารุงผล หลงั ดอกบาน 1 เดอื น ใสป่ ุ๋ยสูตร 15-15-15 อตั รา 1-2 กิโลกรัมตอ่ ต้น  ระยะปรบั ปรงุ คณุ ภาพผลผลิต กอ่ นเก็บเก่ียวผลผลิต 1 เดือน ใสป่ ุย๋ 13-13-21 อัตรา 1-2 กโิ ลกรมั ตอ่ ต้น และ อาจพน่ ปุ๋ยทางใบร่วมในระยะนดี้ ้วย หมายเหตุ : อตั ราการใสป่ ๋ยุ ควรปรบั ใชต้ ามขนาดตน้ อายุพชื และความอุดมสมบูรณ์ของดิน ใช้ตามค่าการวเิ คราะห์ ดนิ และพชื การให้น้า วธิ กี ารให้นา้  ระบบใหน้ า้ แบบหัวเหว่ียงเลก็ การปฏิบตั งิ านทาไดส้ ะดวก ประหยัดแรงงานและพืชได้นา้ สม่าเสมอ  การใหน้ ้าแบบสายยางรดหรือแบบปล่อยตามร่องขนาดเล็ก มีต้นทุนต่ากว่าระบบแรก แต่ควบคุม ปริมาณน้าท่ี ให้พชื ได้ยาก ไมส่ มา่ เสมอ ใช้นา้ แรงงาน และเวลามากกวา่ ระบบหวั เหวี่ยงเล็ก ปริมาณน้า  มะมว่ งระยะบารุงตน้ มคี วามต้องการนา้ ประมาณ 0.5 เท่าของอัตราการระเหยน้า กล่าวคือ ถ้าสภาพ อากาศมี อัตราการระเหยน้า 5 มิลลิเมตรต่อวัน (การระเหย 1 มิลลิเมตรเทียบเท่ากับน้า 1 ลิตรต่อ ตารางเมตร) ต้น มะม่วงทมี่ ีเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางทรงพุม่ 3 เมตร จะต้องใหน้ า้ ประมาณ 22.5 ลิตรต่อต้น ตอ่ วัน (ครง้ั )  มะม่วงหลังการติดผล ถอื เปน็ ระยะวิกฤตท่ีมะม่วงต้องการใช้น้ามากที่สุด ประมาณ 0.7-0.8 เท่าของ อัตราการ ระเหยน้า กล่าวคือ ถ้าสภาพอากาศมีอัตราการระเหยน้า 5 มิลลิเมตรต่อวัน ต้นมะม่วงที่มี เส้นผ่าศูนย์กลาง ทรงพมุ่ 5 เมตร จะต้องใหน้ า้ ประมาณ 87.5-100 ลิตรตอ่ ตน้ ต่อวัน (คร้ัง) ความถข่ี องการให้น้า ขึ้นกับเน้อื ดินและสภาพอากาศ ดนิ ที่มเี น้ือดนิ เป็นดนิ ทรายใหน้ ้า 2-3 วันตอ่ คร้งั เน้อื ดนิ เป็นดิน เหนยี วใหน้ ้า 4-5 วันต่อครง้ั อย่างไรก็ตามอาจใชว้ ธิ ีสังเกตจากความชื้นดิน และสภาพของใบมะม่วงประกอบการวางแผนใหน้ ้ากจ็ ะได้ผลดี ยง่ิ ข้ึน จากตัวอย่างท่ยี กมาจากข้างบน ปรมิ าณการใหน้ ้ามะม่วง ระยะบารงุ ต้นพืชต้องการนา้ 22.5 ลติ รต่อตน้ ต่อวัน ถา้ ตอ้ งการให้น้า 4 วันต่อครงั้ ดงั น้นั ตอ้ งใหน้ า้ เท่ากับ 90 ลติ รต่อครง้ั การงดให้น้า ในชว่ งก่อนมะมว่ งออกดอกจะตอ้ งงดใหน้ า้ จนกวา่ มะม่วงเรม่ิ แทงช่อดอกแลว้ จึงจะเร่ิมให้น้าอีก การตัดแต่งก่งิ การจดั ทรงหรอื สรา้ งทรงพุ่มมะมว่ ง  เลือกลาต้นหลกั 1 ลาตน้ ความสูง 75-100 เซนตเิ มตร  ทาลายตายอด ทาให้ตาข้างผลิเกิดเปน็ กงิ่ แขนง คัดเลอื กกิง่ ไว้ในทศิ ทางทต่ี ้องการ 3-5 ก่งิ และเลอื กกิง่ ไว้ ไปอีก 2-3 ครั้ง ตามขนาดทรงพ่มุ ท่ีตอ้ งการ

 ขนาดพุ่มตน้ ควรคานึงถึงความสะดวกในการทางานรวมถงึ ความปลอดภัยและเหมาะสมกบั เคร่ืองมือทีม่ ี วิธีการตัดแตง่ กิง่ การตัดแต่งกิ่งแบบบางเบา  เป็นการบงั คับ และเลือกกิ่งให้เจริญเตบิ โตไปในทิศทางท่ีต้องการ  ตัดแตง่ กิ่งทไี่ มต่ อ้ งการออก เช่น กง่ิ ท่ีโรคและแมลงทาลาย กิง่ กระโดง กิ่งไขว้ ก่งิ ไม่สมบรู ณ์ ก่งิ ทผี่ ลบิ รเิ วณ ปลายก่งิ ที่แนน่ มากเกนิ ไปออก การตดั แต่งแบบปานกลาง  เมื่อพมุ่ ตน้ ใกลจ้ ะชนกัน ตัดก่งิ รอบนอกทรงพมุ่ ท้ังหมดจากปลายยอดลกึ เข้าหาศูนย์กลางต้นยาวประมาณ 50-100 เซนติเมตร  มะม่วงจะผลติ า แตกกง่ิ – ใบใหม่มาทดแทน  คดั เลอื กก่งิ และตัดแต่งกิง่ อย่างบางเบา หลงั การตดั แตง่ แบบปานกลางอีก 1-2 ครงั้ การตัดแต่งกง่ิ แบบหนกั  เม่ือตน้ อายมุ าก ต้นถูกโรคและแมลงทาลาย หรือต้นทรุดโทรม  สร้างโครงสร้างต้นมะม่วงใหม่ โดยตดั แต่งกิ่งเปดิ กลางทรงพุ่มให้มีความสูง 1.5-3.0 เมตร ปริมาตรทรงพุ่ม ตดั ออกไปประมาณครึ่งหนึง่  กิ่งที่ถูกตดั เป็นแผลขนาดใหญ่ควรทาแผลด้วยยาปอ้ งกันกาจัดเชอ้ื รา หรือสนี ้ามันจากนัน้ กง่ิ จะผลิตาให้กิ่ง แขนงใหม่ ทาการคดั เลอื กและตัดแต่งกงิ่ อย่างบางเบา 1-2 ครัง้  เมอ่ื กิ่งแขนงใหมบ่ รเิ วณกลางทรงพ่มุ มโี ครงสร้างเจริญเติบโตแข็งแรงมาทดแทนกง่ิ เดิม และคาดการณ์ จะ สามารถให้ผลผลติ ในปตี อ่ ไปได้ ให้ตัดแต่งก่ิงโครงสร้างเก่าทอี่ ยูร่ อบนอกของ โครงสร้างใหมอ่ อก มีความยาว ใกล้เคียงกบั การตัดแตง่ ก่งิ เปดิ กลางทรงพมุ่ คดั เลือกกง่ิ และตัดแตง่ ก่ิงแบบบางเบา 1-2 ครั้ง  ผลผลิตจะลดลงบา้ งประมาณ 20-40 เปอร์เซ็นต์ สามารถให้ผลผลิตได้เตม็ ที่ในปีท่ี 3 หลงั จากเริม่ ตัดแตง่ กิ่ง อย่างหนัก หมายเหตุ : หลงั จากตดั แต่งก่ิงทุกครั้งควรบารงุ ตน้ มะมว่ งทันที ด้วยการใส่ปยุ๋ และให้น้า เพอื่ เรง่ การ ผลติ สรา้ งกิ่ง และใบใหม่ที่สมบรู ณ์มาทดแทนได้อย่างรวดเร็ว ปอ้ งกันกาจัดศัตรูพืชทุกครัง้ ทมี่ กี ิ่ง - ใบอ่อน ผลมิ าใหม่ การเก็บเก่ียว อายุการเก็บเก่ียว อายกุ ารเก็บเก่ียวมผี ลต่อคุณภาพมะม่วง และระยะเวลาการวางจาหน่าย รวมทงั้ การยอมรับจากผบู้ ริโภค อายเุ ก็บ เก่ยี วสาหรับมะม่วงเพ่ือการบริโภคสด ต้องเกบ็ เมื่อผลแก่แตย่ งั ไมส่ กุ นั้นคือมะม่วงมพี ัฒนาการทางสรีระมากเพยี งพอ ท่จี ะ สามารถสกุ ไดเ้ ป็นปกติ สงั เกตได้จากปจั จยั ตา่ ง ๆ ได้แก่  นวลทผี่ ิว รูปทรง สีของผลและสีของเน้อื  จานวนวนั หลงั จากติดผลหรอื แทงชอ่ ดอกจนถึงเกบ็ เกีย่ ว ได้ขอ้ มูลจากการประมาณการของปกี ่อน ๆ แต่ สภาพอากาศมสี ว่ นให้เกดิ การคลาดเคลอ่ื นของวันเก็บเก่ยี วได้  ทดสอบโดยการนามะม่วงแชน่ ้า มะมว่ งแก่ความถ่วงจาเพาะจะมากกว่านา้ จงึ จมน้า หมายเหตุ : อายุเก็บเกี่ยวแปรตามฤดูกาล เชน่ ในพ้นื ทเ่ี ขตภาคตะวนั ออก พนั ธุ์นา้ ดอกไมส้ ที อง ถ้าออก ดอกชว่ ง เดือนพฤษภาคม ถงึ มิถุนายน เกบ็ เกยี่ วได้ในเดือนกนั ยายน นบั จากดอกโรยต้องใชเ้ วลาประมาณ 85 วนั แต่ถา้ ออกดอกปลาย ตุลาคม ถึงพฤศจิกายน เพ่ือเกบ็ เกีย่ วในเดือนมีนาคม ต้องใชเ้ วลาประมาณ 110-120 วัน

อายเุ ก็บเก่ียวส้าหรับมะม่วงแปรรปู  ต้องเก็บเม่ือแกจ่ ัดแตย่ ังไม่สุก มะมว่ งท่ีอ่อนหรือสกุ แลว้ โรงงานจะไมร่ บั ซอื้ สาหรบั ผลติ ภัณฑป์ ระเภท มะม่วงในน้าเชื่อม แช่อม่ิ อบแหง้ มะมว่ งดองเกลือ น้ามะม่วง  ใช้มะม่วงได้ทง้ั แก่ และอ่อนผลเล็ก ซงึ่ อาจเปน็ ผลกระเทยหรือผลท่ไี มส่ มบรู ณส์ าหรับผลติ ภณั ฑป์ ระเภท ผลติ ภณั ฑ์มะม่วงเส้นดองเค็มและอบแห้ง วิธกี ารเก็บเกยี่ ว  ใชว้ ธิ กี ารปฏบิ ัติในขณะทาการเก็บเก่ียวอย่างระมดั ระวงั ต้องไม่ทาให้มะมว่ งเกิดแผลรอยขดี ขว่ น แตก หรือ เกดิ การชอกชา้  กรณีของมะมว่ งเพือ่ แปรรูป หากตอ้ งมีการเขยา่ ตน้ ต้องอยา่ ใหม้ ะมว่ งตกกระแทกพนื้ ต้องมผี า้ ใบหรอื วสั ดุ รองรับเพ่ือลดการตกกระแทก และปนเปือ้ นเศษดนิ  ใช้วิธกี ารเก็บเกย่ี วให้เหลอื ขวั้ ผลยาว ปอ้ งกนั นา้ ยางไหลจากผล  มีภาชนะรองรับเพื่อสะดวกในการขนย้ายมะม่วง ภาชนะท่ีใช้ควรมวี ัสดรุ องรับแรงทเี่ กิดจากการกระแทก ใน ระหว่างท่ีทาการขนยา้ ยมะมว่ ง เชน่ ตะกรา้ พลาสติกสาหรับผลไมท้ ่ีสามารถวางซ้อนกนั ไดโ้ ดยไมก่ ดทบั มะม่วงในตะกรา้ ที่อย่ชู ้นั ลา่ ง  รีบนามะมว่ งทีเ่ ก็บเก่ียวแล้วเขา้ ที่ร่มและเย็นระหว่างรอการเก็บเกี่ยวให้เสร็จ  รบี ขนยา้ ยมะม่วงท้งั หมดไปยังโรงเรอื นคดั บรรจุ เพ่ือปฏิบัติการหลังการเก็บเก่ียว วิทยาการหลังการเกบ็ เกยี่ ว การเก็บรกั ษาผลสด การชะลอการเสอ่ื มคณุ ภาพ ทง้ั จากทางกายภาพ และชวี ภาพเพ่ือให้สามารถเก็บรักษา หรอื มีอายวุ างจาหนา่ ย ได้ นาน เมื่อมะม่วงถึงโรงเรอื นคัดบรรจุ ควรปฏบิ ัตดิ งั น้ี  คดั เลอื กเอาผลที่มีตาหนิออก เชน่ ผลที่มแี ผล หรือลักษณะทผี่ ดิ ปกตจิ ากโรค เชน่ แอนแทรคโนส และขว้ั ผล เน่า หรอื ตาหนจิ ากแมลง เชน่ เพล้ียไฟ เพลี้ยหอย ราดา เป็นตน้ เพอื่ มใิ ห้เปน็ แหล่ง แพร่กระจายของเชื้อท่ี เป็นสาเหตใุ ห้เกดิ การเนา่ ในภายหลัง  ตัดขัว้ มะม่วงใหม้ ีความยาวเหลอื ไมเ่ กนิ 1 เซนติเมตร เพื่อใหน้ ้ายางไหลพุง่ ออกจากผล  พักรอใหน้ า้ ยางท่ีเหลือค่อย ๆ ไหลออกจากผลจนแหง้ ดว้ ยการควา่ ผลลงบนตะแกรงให้ไหล่ผล วางรองบน วสั ดทุ ไี่ ม่คมหรือไมท่ าให้ผลมะม่วงเกิดแผลหรือช้าปล่อยให้น้ายางไหลผา่ นชอ่ งระบาย ลงท่อรองรับจนกวา่ นา้ ยางแห้ง  ลา้ งทาความสะอาดมะมว่ งในน้าทีส่ ะอาด นา้ ทใ่ี ชค้ วรเปน็ น้าท่ไี หลหรือเปลยี่ นนา้ บ่อยคร้ัง  ทใ่ี ช้อาจผสมสารชว่ ยทาความสะอาดผลไม้ที่เป็นที่ยอมรบั วา่ ไม่ก่อให้เกิดผลเสียตอ่ สขุ อนามัย และ ปลอดภยั ต่อผู้บริโภค เชน่ คลอรีน 75 มลิ ลิกรัมต่อกโิ ลกรมั  ผ่งึ ใหน้ า้ ทีเ่ กาะบนผวิ มะม่วงแหง้  คดั ขนาดผลและระดบั คุณภาพ  บรรจลุ งภาชนะหรือทาการปฏบิ ัตขิ ้นั ตอนต่อไปเพ่ือการเก็บรกั ษา ขนส่ง หรือจาหน่าย การยืดอายุมะม่วง การยืดอายุมะมว่ งระหว่างรอการจาหน่าย หรอื การขนสง่ อาจใช้ด้วยวิธกี ารใดวธิ ีการหนงึ่ หรือหลายวิธีรว่ มกนั ดังน้ี การห่อผล เพือ่ ลดการคายนา้ ลดการกระแทก การเสยี ดสี และอาจป้องกนั การติดต่อของโรค อาจใชว้ ัสดหุ ่อ อย่างใด อย่างหนง่ึ ร่วมกับการบรรจุภัณฑ์ ก่อนการจาหนา่ ยดังน้ี

 ใชโ้ ฟมตาข่ายเพ่ือลดการกระแทก  ใช้กระดาษหอ่ เพ่อื ลดการเสียดสี  ใช้พลาสตกิ ที่มรี ูพรนุ ขนาดเล็ก เพื่อลดการคายนา้ และปรับสภาพแวดล้อมทห่ี ุ้มหอ่ มะม่วงใหม้ ี ความชื้นสงู พอเหมาะ โดยไม่เกดิ การควบแนน่ เป็นหยดน้า การลดอุณหภูมิและเพ่ิมความชน้ื สัมพนั ธ์  เพื่อชะลอการหายใจและการคายน้า สามารถยืดอายมุ ะม่วงให้อย่ใู นสภาพสดไดน้ านขน้ึ  สภาพทเ่ี หมาะสมในการเกบ็ รักษา คือ อุณหภูมิ 13-15 องศาเซลเซยี ส ความชื้นสมั พัทธ์ 85-95%  หลีกเลี่ยงการใชอ้ ุณหภูมิทตี่ า่ กวา่ 13 องศาเซลเซยี ส ในการเก็บรกั ษา เพราะอาจทาให้สีผิวของผลมะม่วง มี สีคล้าหรือเปลย่ี นสี ผลน่วมฉา่ นา้ ถา้ รนุ แรง ผลจะไม่สุกเน่ืองจากอาการท่เี รยี กว่าสะท้านหนาว  สรา้ งความทนทานตอ่ ความเย็นโดยวธิ กี ารคอ่ ย ๆ ลดระดับอุณหภมู ิลงเปน็ ชว่ ง ๆ หรอื เป็นระยะ เพอ่ื ให้ มะมว่ งเกิดการปรับตวั ตอ่ สภาพอุณหภมู ิท่ีต่าได้ การเคลือบผวิ  เพอ่ื ให้ผิวมีความเงางามและลดการคายน้า ขณะเดยี วกันยังช่วยยืดอายุการเก็บรักษา  สารทีใ่ ช้เคลือบผิวอาจมีส่วนประกอบของไขคารน์ บู า ไขมนั จากพืชหรือสัตว์  สารเคลอื บผิวทใี่ ชต้ ้องปลอดภัยต่อผู้บริโภคและไมม่ ีผลเสียต่อคณุ ภาพของมะมว่ ง เชน่ ทาใหป้ ริมาณ การ แลกเปลีย่ นก๊าซ ในการหายใจของมะม่วงผดิ ปกติไป จนทาใหเ้ กิดกล่นิ และรสทไี่ มพ่ ึงประสงค์ ประเทศใน เอเซีย และออสเตรเลีย จงึ ไม่นยิ มเคลอื บผิวมะม่วงเพือ่ ลดความเส่ียงดงั กลา่ ว การใช้สารยบั ยั้งการสงั เคราะห์เอทธีลีน เพอ่ื ยดื อายุการเก็บรักษา ในอนาคตอาจมีการใชส้ ารท่ียบั ย้ังการสังเคราะห์เอทธลี นี เพ่ือชะลอการสุก สารดังกลา่ ว เชน่ ไดอะไซเพนทาไดอนี (DACP) การบม่ สกุ เพอื่ ใหก้ ารสกุ ของมะมว่ งสม่าเสมอพร้อมสาหรบั การจาหนา่ ยหรือบรโิ ภค และลดความเสี่ยงจากการเนา่ วิธีการบ่ม อาจใชว้ ธิ ีการใดวิธีการหนง่ึ ดังน้ี  การรมในห้องปิดสนิทดว้ ยแก๊สเอทธลี ีน โดยใชค้ วามเข้มขน้ 0.01 ไมโครลติ รต่อลติ รที่ 20-25 องศา เซลเซียส ความชนื้ สมั พทั ธ์ 90-95 เปอร์เซ็นต์ นาน 24 ชว่ั โมง วธิ นี ช้ี ลอเวลาในการสกุ ได้ 3-7 วนั  การบม่ ด้วยแกส๊ อะเซทธีลนี หรือถา่ นแกส๊ ทห่ี ่อดว้ ยกระดาษหนังสือพมิ พ์ ในอตั รา 50 กรัม ตอ่ มะม่วง ประมาณ 15 กิโลกรมั โดยตอ้ งระวังอยา่ ใหผ้ ลมะม่วงสมั ผัสกับถ่านแก๊ส ทาการปิดคลมุ ด้วยผ้าใบ 1-2 คืน ก่อนเปดิ ผ้าใบเพื่อให้มะมว่ งเริ่มสกุ  การจุ่มในสารละลายเอทธีฟอน ความเขม้ 750 มลิ ลิลติ รตอ่ ลติ ร ท่ีมี 2-chloroethyl phosphonic acid เปน็ active ingredient นาน 2-3 นาที แล้วผง่ึ ใหแ้ ห้งเพ่ือบม่ สุก ปิดคลมุ ด้วยผ้าใบ 1 คืน จึงเปิดผ้าคลุม และปล่อยให้มะมว่ งบ่มสกุ หมายเหตุ : มะม่วงน้าดอกไม้สีทองแม้เก็บแก่ แตห่ ลงั จากบ่มถ่านแกส๊ 2 คืน รสชาติจะยงั เปรีย้ ว จึงต้องรอให้บ่มสกุ อีก 3 วนั มะมว่ งจงึ สุกและมีรสหวานจดั การบม่ มะม่วงเพ่ือแปรรูป แช่ในสารละลายเอธีฟอน หรือผสมเอธีฟอนในน้า แลว้ ใส่บัวรดมะมว่ งท่ีใส่ในถงั ขนาดบรรจุ 5-7 ตนั ปิดด้วยผ้าใบ พลาสตกิ เป็นเวลา 1 คืน ทาการเปิดผ้าใบในวนั รุ่งขึ้น และปลอ่ ยมะม่วงไว้อีกประมาณ 24 ชวั่ โมง ก่อนทาการแปรรูป หาก ตอ้ งใช้มะมว่ งสุกมากในการแปรรูป อาจตอ้ งเพิม่ ระยะเวลาในการบม่ ใหน้ านขึ้น *********************************** ท่ีมา : กรมวิชาการเกษตร http://it.doa.go.th/vichakan/print.php?newsid=37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook