Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3 มัลติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล

บทที่ 3 มัลติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล

Published by สุภาวิตา ทองน้อย, 2019-10-16 22:36:58

Description: บทที่ 3 มัลติมิเตอร์ชนิดดิจิตอล

Search

Read the Text Version

วิชา เครอื่ งมอื วดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ บทที่ 3 1 รหสั วชิ า 2104 – 2204 บทที่ 3 มัลติมเิ ตอร์ชนดิ ดิจติ อล วตั ถปุ ระสงค์ 1. บอกคณุ ลกั ษณะและการใชง้ าน มัลติมเิ ตอร์ดิจิตอลได้ 2. ใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรด์ จิ ิตอลวดั ค่าต่างๆได้อยา่ งถูกต้อง 1.1 บทนา มัลติมิเตอร์ดิจิตอล (Digital Multimeters) คือ เครื่องวัดไฟฟ้าท่ีสามารถวัดปริมาณ ไฟฟ้าได้หลาย ๆ อย่าง หรือเป็นเคร่ืองวัดอเนกประสงค์ เช่น สามารถวัดกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า ความต้านทาน แบตเตอรี่ ไดโอด อุณหภูมิ(วัดด้วยหัววัดอุณหภูมิ)และวัด ความต่อเนื่อง ได้จากเครื่องมือวัดเพียงเคร่ืองเดียว และแสดงค่าที่วัดได้ด้วยระบบดิจิตอล เคร่ืองมือวัดลักษณะน้ีจึง เรยี กวา่ มัลตมิ เิ ตอร์ดจิ ติ อล ดงั รปู ท่ี 3.1 รูปท่ี 3.1 มลั ติมเิ ตอรด์ ิจิตอล แบบต่างๆ NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 1

วชิ า เคร่อื งมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ บทท่ี 3 2 รหสั วชิ า 2104 – 2204 1.2 มลั ตมิ ิเตอรแ์ บบดิจิตอล มลั ติมเิ ตอร์แบบดิจิตอล จะเป็นมัลติมิเตอร์ท่ี ตั้งค่าท่ีจะวัดได้หลายค่า โดยสวิตช์เลือก พิสัยการวัด มีทั้งแบบกดปุ่มเลือก และแบบหมุนบิดเลือกค่า ค่าที่วัดได้จะอ่านค่าได้ง่าย กว่า แบบเข็มชี้(แอนะล็อก) เพราะมีตัวเลขแบบดิจิตอลขนาดใหญ่ท่ีแสดงผล บนจอแสดงผลท่ี ชดั เจน สายวัดของมิเตอร์ จะมสี องสาย คือสายสแี ดง และสายสดี า เหมอื นกบั มลั ตมิ เิ ตอร์ แอนะล็อก ดงั แสดงในรปู ที่ 3.2 รปู ที่ 3.2 สวติ ชเ์ ลอื กพิสัย จอแสดงผล และสายวัดของ มลั ตมิ ิเตอร์ดิจติ อล 1.3 การเลือกพิสัยการวัด พสิ ัยการวดั หรือ ยา่ นวัด สามารถเลือกไดจ้ าก สวิตช์หมุน ท่ีอยู่ด้านหน้า ของ มัลติมิเตอร์ ดจิ ติ อล โดยปกตเิ มือ่ ไมใ่ ช้งาน มัลติมิเตอร์ดิจิตอล จะต้องเลือกสวิตช์ ไปท่ีตาแหน่งปิดเคร่ือง (OFF) เสมอ เพอ่ื ประหยัดแบตเตอร่ีภายในมิเตอร์ดังรูปท่ี 3-3 (ก) ถ้าต้องการวัดแรงดันไฟฟ้า กระแสตรง (DCV) จะต้องเลือกสวิตช์ ไปท่ีตาแหน่ง V— ที่ย่านสูงก่อน เช่น ท่ีย่านวัด 200 VDC ดังรูปที่ 3-3 (ข) หรือ ถ้าต้องการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (ACV) จะต้องเลือก สวิตช์ ไปทีต่ าแหน่ง V ท่ียา่ นสูงกอ่ น เช่น ทยี่ ่านวดั 600 VAC ดงั รปู ที่ 3-3 (ค) เปน็ ต้น NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 2

วชิ า เครอื่ งมอื วดั ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ บทท่ี 3 3 รหัสวชิ า 2104 – 2204 รปู ท่ี 3.3 (ก) รูปที่ 3.3 (ข) รปู ที่ 3.3 (ค) 1.4 การใชง้ านมลั ตมิ เิ ตอรด์ ิจิตอล 1.4.1 การวัดค่าความตา้ นทาน มลั ตมิ เิ ตอร์ รุน่ น้ี จะมีย่านการวดั ท้งั หมด 5 ยา่ น คอื 200, 2K, x20K, 200K และ 2M อา่ น คา่ ความต้านทานไดต้ งั้ แต่ 200 Ω ถึง 2 MΩ รูปที่ 3.4 (ก) รปู ท่ี 3.4 (ข) ลาดับขั้นตอนการใช้มัลตมิ ิเตอร์ดิจติ อล วดั คา่ ความตา้ นทาน 1. ต้ังยา่ นใช้งานของมเิ ตอร์ท่ีย่านΩ 2. ใช้สายวดั สแี ดงเสียบเข้าทขี่ ว้ั ต่อขั้วบวก (+) และสายวดั สีดาเสียบเข้าทข่ี ว้ั ต่อ ขัว้ ลบ(-) หรอื (COM) NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 3

วิชา เคร่อื งมอื วดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ บทท่ี 3 4 รหสั วชิ า 2104 – 2204 3. ปรับสวิตชเ์ ลอื กพิสัยการวัดให้ถูกต้อง เชน่ 20KΩ ท่หี น้าจอจะแสดงค่า OL หมายถงึ Over Range หรอื คา่ ที่วดั เกนิ ยา่ นวัดทีต่ ั้งค่าไว้ เพราะ ปลายของสายวดั ไมต่ อ่ กนั ดงั รูป 3.4(ก) 4. นาไปวัดตวั ตา้ นทาน ดงั รูปท่ี 3.4(ข) ค่าทีว่ ัดไดค้ อื 10.2 KΩ 5. การวดั ค่าความต้านทานในวงจรไฟฟา้ ต้องแน่ใจว่าปดิ (OFF) สวติ ช์ไฟฟ้า ทกุ ครง้ั 1.4.2 การวัดฟวิ ส์ ต้ังมัลติมิเตอร์ดิจิตอล เพ่ือวัดค่าความต้านทาน ที่ยา่ นวัด ค.ต.ท. ตา่ ๆเช่น 200Ω เพ่ือ วัดฟิวส์ดังรูปที่ 3.5(ก) และนาฟวิ ส์ทต่ี ้องการวดั มาตอ่ วัดดังรูปท่ี 3.5(ข) รปู ที่ 3.5 (ก) รปู ที่ 3.5 (ข) ลาดับข้ันตอนการใช้มัลติมเิ ตอรด์ จิ ิตอล วดั ฟิวส์ 1. ตัง้ ยา่ นใชง้ านของมเิ ตอร์ท่ียา่ นΩ 2. ใช้สายวดั สีแดงเสียบเขา้ ทีข่ ว้ั ต่อข้ัวบวก (+) และสายวดั สดี าเสียบเขา้ ที่ขั้วต่อ ขวั้ ลบ(-) หรอื (COM) NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 4

วิชา เคร่อื งมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ บทท่ี 3 5 รหสั วิชา 2104 – 2204 3.ปรับสวติ ช์เลือกพิสัยการวัดใหถ้ กู ต้อง เชน่ 200Ω ทีห่ นา้ จอจะแสดงคา่ OL หมายถงึ Over Range หรือ ค่าท่ีวดั เกินย่านวดั ท่ีตั้งคา่ ไว้ เพราะปลายสายวัดไมต่ ่อกนั ดังรปู 3.5(ก) 4.นาไปวัดฟวิ ส์ ดงั รปู ท่ี 3.5(ข) 4.1 วัดแล้ว ได้ค่า OL หรือ หมายความว่า วงจรเปิดนั่นเองแสดงว่า ฟิวส์น้ีขาด ต้อง เปลย่ี นใหม่ 4.2 ถา้ วัดแล้วได้คา่ น้อยมาก เช่น 0.0 Ω หรือ ต่ากว่า แสดงว่า ฟิวส์นป้ี กติ 1.4.3 การวดั ไดโอด มัลติมิเตอร์ดิจิตอลท่ี มีโหมดวัดไดโอด ให้สังเกตที่รูป ไดโอด สามารถ วัดได้ทั้งกรณีไดโอดดีหรือเสีย และวัดได้ท้ังไดโอดเปล่งแสง โดยต้ังสวิตช์เลือกการ วดั ท่ี การวดั แบบไบแอสตรง ดังรูปที่ 3.6 (ข) และการวดั แบบไบแอสกลับ ดังรปู ท่ี 3.6 (ก) รูปท่ี 3.6 (ก) รปู ที่ 3.6 (ข) 1. วัดแบบไบแอสกลับ(ข้ัวA สายสีดา)แล้ว ได้ค่า OL และวัดแบบไบแอสตรง(ขั้วA สายสีแดง ได้ค่าแรงดันตกคร่อมไดโอดเท่ากับ 0.60V หรือ ค่าที่ใกล้เคียง หมายความ วา่ ไดโอดปกติ 2. หากวดั แล้ว เปน็ ค่าอ่ืนๆ หมายความวา่ ไดโอดเสยี NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 5

วิชา เครอ่ื งมอื วัดไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บทที่ 3 6 รหัสวชิ า 2104 – 2204 1.4.4 การวัดแบตเตอร่ี โดยตั้งสวติ ช์เลือกพสิ ัยการวดั ที่ ใชส้ ายสแี ดง เสียบข้วั บวก สายสีดาเสียบข้ัวลบ ของมิเตอร์ และวัดท่ีขั้วแบตเตอรี่ โดยใช้โปรบสีแดง วัดที่ข้ัวบวก สายโปรบสีดาวัดท่ีขั้วลบ ดงั รปู ท่ี 3.7 อา่ นค่าได้ 12.45 V แสดงวา่ แบตเตอร่นี ้ี มรี ะดบั แรงดันไฟฟ้าปกติ(แรงดัน ถ้าเกิน กวา่ 12.0V คอื ค่าปกติ หากตา่ กว่านี้ ควรนาแบตเตอรี่ไปประจไุ ฟฟ้าใหม่) รปู ท่ี 3.7 การวัดแรงดันไฟฟ้า ของ แบตเตอรี่ 1.4.5 การวดั โวลต์ เอ.ซี. รูปท่ี 3.8 การวัดแรงดนั ไฟฟา้ เอ.ซ.ี โดยต้ังสวิตช์เลือกพิสัยการ วัดสูงสุด เช่นที่ 600 ใช้สายสี แดง เสยี บข้ัวบวก สายสีดาเสียบข้ัว ลบของมิเตอร์ และวัดที่เต้ารับ ไฟฟ้า โดยใช้โปรบสีแดง และสาย โปรบสีดาวัดท่ีเต้ารับ ดังรูปท่ี 3.8 ที่จอแสดงผลอ่านค่าได้ 220Vac แสดงวา่ ไฟฟา้ กระแสสลบั ที่เต้ารับ น้มี รี ะดบั แรงดันไฟฟ้าปกติ NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 6

วชิ า เคร่อื งมอื วดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ บทท่ี 3 7 รหัสวิชา 2104 – 2204 1.4.6 การวัดไดโอดเปลง่ แสง(แอล.อ.ี ดี) ตั้งมลั ติมเิ ตอรด์ ิจิตอล เหมือนการวัดไดโอด ให้สังเกตท่ีรูป ไดโอดเปล่งแสง โดยตั้งสวิตช์เลือกการวัดที่วัดไดโอด การวัดแบบไบแอสตรง ดังรูปท่ี 3.9 (ข) และการวัด แบบไบแอสกลับ ดงั รปู ท่ี 3.9 (ก) จากรปู ที่ 3.9 (ข) ไดโอดเปลง่ แสง จะตดิ สว่างเมอ่ื วดั แบบไบแอสตรง แรงดันตกคร่อม ไดโอดเปล่งแสง เท่ากับ 0.6V และการวัดกระแสไบแอสกลับไดโอดเปล่งแสงจะไม่สว่าง ดงั รปู ท่ี 3.9 (ก) แสดงว่าไดโอดเปล่งแสงน้ี ปกติ รปู ที่ 3.9 (ก) รปู ท่ี 3.9 (ข) รูปท่ี 3.10สัญลักษณ์ และขว้ั ของ ไดโอดเปล่งแสง NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 7

วิชา เคร่ืองมือวัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ บทท่ี 3 8 รหัสวิชา 2104 – 2204 1.4.7 การวดั ความตอ่ เนื่อง จะทาให้สามารถบอกได้ว่าสายไฟขาดหรือมีจุดที่ต่อตรงไหนหลวมหรือไม่ โดยไม่ ต้องตรวจสอบสายไฟท้งั สายหรือถอดฉนวนออก และการวัดน้ีจะช่วยบอกได้ว่าจุดสองจุดใด เชอ่ื มต่อกันทางไฟฟ้าหรอื ไม่ ใช้ในการวัดฟวิ ส์ หรือวดั สายไฟฟ้าว่าขาดหรือไม่ ดังรูปที่ 3.11 เม่ือวัดในโหมด ความต่อเนื่องจะมีเสียง ป๊ีบๆๆๆๆๆ ดังข้ึน อย่างต่อเน่ือง แสดงว่าสายไฟฟ้า ที่ทดสอบนไี้ ม่ขาด รูปท่ี 3.11 การวัดความต่อเนอื่ งของสายไฟฟ้า 1.4.8 การวดั ในวงจรไฟฟ้า การวดั แรงดันไฟฟ้า ให้ ต้ังย่านวัดแรงดัน เช่น ถ้าเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ให้ตั้งท่ี VDC หรอื V- ละใชส้ ายวัด สแี ดง วดั ทขี่ ั้ว บวก และสายวัดสีดาวดั ทข่ี ว้ั ลบของ จุดท่ีต้องการวัด เช่น ในรูปท่ี 3.12 เปน็ วงจรหลอดไฟฟ้า หากต้องการวัดวดั ค่าแรงดันของ แหล่งจ่ายไฟฟ้า ให้ทา การวัด ตามรูป จะได้แรงดนั ไฟฟา้ เท่ากบั 12.2 V เปน็ ต้น NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 8

วิชา เครอื่ งมอื วัดไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ บทที่ 3 9 รหสั วิชา 2104 – 2204 รูปที่ 3.12 การวดั ค่า แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงของ แหลง่ จ่ายไฟฟ้า การวดั กระแสไฟฟา้ ให้ ตั้งย่านวัดกระแสไฟฟ้า เช่น ถ้าเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ให้ตั้งที่ ADC หรือ A- เช่นตั้งที่ย่านวัด 10A และใช้สายวัด สีแดง วัดท่ีขั้ว บวก และสายวัดสีดาวัดท่ี ขั้วลบของ จุดที่ต้องการวัด คือกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านหลอดไฟฟ้าในรูปท่ี 3.13 กรรวัด กระแสไฟฟ้าจะต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้า สายบวกสีแดง ของมิเตอร์ และ ให้ กระแสไฟฟา้ ไหลออกจากมเิ ตอร์ทางสายลบ สดี า ดังรูป ค่ากระแสไฟฟ้าท่ีวัดได้เท่ากับ 1.1A เป็นต้น รูปที่ 3.13 การวดั ELWE(THAILAND) หนา้ 9 คา่ กระแสไฟฟา้ กระแสตรง ของหลอดไฟฟา้ NAPAT WATJANATEPIN

วชิ า เครอื่ งมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ บทที่ 3 10 รหสั วิชา 2104 – 2204 การวดั แรงดนั ไฟฟ้า และกระแสไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง พร้อมกัน ทาได้โดย การใช้มัลติมิเตอร์ดิจิตอล 2 ตัว ตัวท่ี 1 ตั้งให้วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (V-) ตัวท่ี 2 ต้ัง ให้วัดค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรง (A-) ดังรูปท่ี 3.14 ค่ากระแสไฟฟ้าที่วัดได้เท่ากับ 1.1A และ คา่ แรงดันไฟฟ้าเทา่ กบั 12.2 V เปน็ ตน้ รูปที่ 3.14 การวัดคา่ กระแส และแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง ดว้ ยมัลตมิ ิเตอรด์ ิจิตอล NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 10

วิชา เครื่องมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ บทท่ี 3 11 รหสั วิชา 2104 – 2204 แบบฝึกหัด เร่ือง มลั ติมิเตอร์ดิจิตอล จงวงกลมลอ้ มรอบข้อทถ่ี ูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดยี ว 1. ข้อใดไมใ่ ช่ มัลตมิ เิ ตอร์แบบ ดจิ ติ อล ก. ข. ค. ง. 2. มลั ตมิ ิเตอร์รูปท่ี 3.15 วัดขอ้ ใดต่อไปนีไ้ ม่ได้ วดั แรงดันไฟตรง (DCV) ก. วดั ความต้านทาน (Ω) ข. วัดความจุไฟฟา้ (C) ค. วัดไดโอด ง. 3. มัลตมิ เิ ตอร์รูปท่ี 3.15วดั คา่ แรงดัน ดี.ซ.ี ได้ สูงสดุ เทา่ ไร ก. 50V ข. 150V ค. 250V ง. 1000V 4. มัลตมิ เิ ตอร์รูปท่ี 3.15วัดคา่ แรงดนั เอ.ซ.ี ได้ ต่าสุดเท่าไร ก. 50V ข. 200V ค. 100V ง. 1000V รูปท่ี 3.15 ELWE(THAILAND) หนา้ 11 NAPAT WATJANATEPIN

วชิ า เครอ่ื งมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ บทที่ 3 12 รหัสวิชา 2104 – 2204 5. มัลตมิ เิ ตอร์รูปท่ี 3.15 วดั คา่ ความต้านทาน ไดเ้ ทา่ ไร ก. 200Ω - 2000kΩ ข. 200Ω - 200kΩ ค. 200Ω - 20kΩ ง. 20Ω - 200kΩ 6. มัลติมิเตอรร์ ูปท่ี 3.16 วดั คา่ อะไร,และวดั ได้เทา่ ไร ก. VDC, 27.9mV ข. VDC, 29.7mV ค. VAC, 27.9mV ง. VAC, 29.7mV 7. มลั ตมิ ิเตอรร์ ูปท่ี 3.16 วดั ค่า VAC ไดห้ รือไม่ ก. ได้ ข. ไมไ่ ด้ ค. ไมแ่ น่ใจ ง. ผิดทุกขอ้ 8. มลั ติมเิ ตอรร์ ูปท่ี 3.16 วดั ค่า ADC ได้หรอื ไม่ และได้คา่ สงู สุดเทา่ ไร ก. ได,้ 10mA ข. ได,้ 1A ค. ไมแ่ น่ใจ ง. ได,้ 10A รปู ที่ 3.16 9. การใชม้ ลั ติมเิ ตอร์ดิจติ อล วัดไดโอดเปล่งแสง จะติดสวา่ งเมอื่ วัดแบบไบแอสตรง ไดแ้ รงดันตกคร่อมไดโอดเปล่งแสง เทา่ กับ 0.6V และการวดั กระแสไบแอสกลับ ไดโอดเปลง่ แสงจะไม่สว่าง แสดงวา่ ไดโอดเปลง่ แสงนี้ ........... ก. เสีย ข. ขาด ค. ปกติ ง. ลดั วงจร 10.มัลตมิ เิ ตอร์ดจิ ติ อล เม่ือนาไปวัดวัด ไดโอด ต้องตง้ั ยา่ นวัดอย่างไร ก. ต้งั ย่านวัด Ω ข. ตง้ั ยา่ นวดั hfe ค. ตัง้ ยา่ นวัด ง. ตัง้ ย่านวัด R NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 12

วิชา เคร่อื งมือวดั ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ บทท่ี 3 13 รหัสวชิ า 2104 – 2204 11. มลั ตมิ เิ ตอร์แบบดิจติ อล ต่างจากแบบแอนะล็อกอยา่ งไร ก. ตั้งย่านวดั งา่ ยกวา่ ข. ตั้งย่านวดั ยากกว่า ค. อ่านค่าได้ง่ายกว่า ง. อ่านค่าได้ยากกว่า NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook