Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

pdf

Published by สุภาวิตา ทองน้อย, 2019-04-16 23:21:48

Description: pdf

Search

Read the Text Version

หนังสอื เลม่ เลก็ “ประเพณไี ทยเปน็ เรอ่ื งของพธิ ที หี่ มชู่ น เร่อื ง “ประเพณไี ทย ๔ ภาค” หมหู่ นง่ึ รว่ มปฏบิ ตั แิ ละมแี บบแผนสบื จดั ทาโดย ตอ่ กนั มา มกี ารเปลยี่ นแปลงแกไ้ ข คงไวบ้ า้ ง ประเพณไทยแสดงถงึ ความ นางสาวจิรภัทร์ จักรสาร รหสั นักศกึ ษา ๕๕๓๐๕๐๐๓๔-๔ เปน็ ญั ลกั ษณข์ องชาติ ซง่ึ แตล่ ะภาค นายณัฏภัทร บญุ คาภา รหสั นักศกึ ษา ๕๕๓๐๕๐๒๕๘-๒ ของไทยกม็ ปี ระเพณแี ตกตา่ งกนั ไป แมว้ า่ ลกั ษณะของประเพณที แ่ี ตกตา่ ง นักศึกษาสาขาสงั คมศึกษา ชั้นปีท่ี ๒ แตม่ ลี กั ษณะบางประการทรี่ ว่ มกนั คอื เสนอ จุดประสงคท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั รศ.ดร.สมุ าลี ชยั เจริญ พระพทุ ธศาสนาและบรรพบรุ ษุ ฉะนนั้ ผศ.ดร.จารณุ ี ซามาตย์ ประเพณไี ทยทม่ี คี วามดีงามดงั กลา่ ว ควรท่จี ะอนรุ กั ษ์ คงไว้ และประพฤติ รายวชิ า 241203 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ปฏบิ ตั เิ ปน็ ประเพณตี อ่ ไป เพอื่ รกั ษาไว้ เพ่ือการเรียนรู้ ใหค้ นรนุ่ หลงั ไดช้ น่ื ชม และรว่ มกนั INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY อนรุ กั ษต์ อ่ ไป “ FOR LEARNING ภาคการเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๖ คณะศกึ ษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

๒๖ ก บรรณานกุ รม คานา ฐิติรตั น์ เกดิ หาญ. (๒๕๕๔). “ประเพณไี ทย ๔ ภาค”. หนังสือ “ประเพณสี ี่ภาค” เปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวิชา 241 กรงุ เทพฯ : สกายบกุ๊ ส.์ 203 นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การเรยี นรู้ ( Inno- vation and information technology for learning ) จดั ทาขน้ึ เพ่อื “ประเพณไี ทย”. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: ประยุกต์ใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษาให้เป็นสอื่ http://www.prapayneethai.com/. ๒๕๕๖. สบื คน้ เมื่อ ประกอบการเรยี นรู้ ในกล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๖. และวัฒนธรรม คณะผจู้ ดั ทาไดร้ วบรวมเน้ือหาเก่ียวกบั ประเพณีสี่ ภาคของประเทศไทย ซงึ่ เป็นการยกตัวอย่างและอธิบายประเพณี “ประเพณฮี ีตสิบสงิ ”. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : สาคัญของแต่ละภาคจากภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื http://www.baanmaha.com/community/ ภาคกลางและภาคใต้ โดยเป็นประเพณที มี่ คี วามโดดเด่น สมั พนั ธ์ thread5759.html. ๒๕๕๐. สบื คน้ เมอื่ ๒๒ ธนั วาคม ตอ่ วถิ ชี ีวติ และวฒั นธรรมของคนในแต่ละภาค ๒๕๕๖. คณะผู้จดั ทาไดเ้ ลอื กหัวขอ้ นเ้ี พราะเปน็ การอนุรักษ์ประเพณี สานกั ประชาสมั พนั ธ์ เขต ๗ จันทบุร.ี “ประเพณภี าคใต้”. และวัฒนธรรมไทยท้ังส่ีภาคของไทย หวังวา่ ผอู้ ่าน จะได้รบั (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://region7.prd.go.th/ ขอ้ มลู ความรจู้ ากสื่อประกอบการเรยี นรู้ฉบบั น้ีและเกดิ ประโยชน์ main.php?filename=southculture01. สืบคน้ เมอ่ื ๒๒ แกผ่ อู้ ่านทกุ ๆ ท่าน สดุ ทา้ ยน้ี หากหนังสอื มคี วามผิดพลาด ธนั วาคม ๒๕๕๖. ประการใด คณะผจู้ ัดทาจงึ ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ คณะผ้จู ดั ทา

ข ๒๕ กิตติกรรมประกาศ ประเพณชี งิ เปรต หนงั สอื เรอื่ ง ประเพณสี ภ่ี าค เลม่ น้สี าเร็จลุล่วงโดย จดั ขึ้นในวนั แรม ๑ คา่ เดือน ๑๐ และ วนั แรม ๑๕ คา่ ได้รับความอนเุ คราะหแ์ ละใหค้ าปรกึ ษาอยา่ งดจี าก ผชู้ ่วย เดอื น ๑๐ ศาสตราจารย์ ดร.จารุณี ซามาตย์ อาจารย์ผู้สอนรายวิชา \"ชงิ เปรต\" เปน็ ประเพณขี องภาคใตท้ กี่ ระทากนั ในวนั สารท 241 203 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ เดอื น ๑๐ เปน็ ประเพณสี าคญั ทจี่ ดั ขน้ึ เพอ่ื ทาบญุ อทุ ศิ แก่ ( Innovation and information technology for learning ) ซ่งึ บรรพบรุ ุษผลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ ได้ให้คาปรึกษาและเสยี สละเวลาอันมคี า่ แนะนาแนวคดิ ผู้ตงั้ เปรตจะนาอาหารอกี สว่ นหนงึ่ ไปเพอ่ื การตง้ั เปรต ขนม วธิ ีการในการจัดทาตลอดจนการดาเนินการด้วยการเอาใจใส่ ทไี่ มข่ าดคือ ขนมลา ขนมพอง ขนมบา้ ขนมเบซา(ดซี า) อย่างดยี ง่ิ คณะผู้จดั ทาจงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสงู นอกจากขนมดงั กลา่ วแลว้ ยงั มขี องแหง้ ที่ใชเ้ ปน็ เสบยี ง กรงั กจ็ ดั ฝากไปดว้ ย เชน่ ขา้ วสาร หอม กระเทยี ม รวมกัน ขอขอบพระคณุ ผู้ช่วยอาจารย์ ( Teaching assistant ) ต้ังไวบ้ น \"รา้ นเปรต\" ซง่ึ สรา้ งไวก้ ลางวดั ยกเสาสงู ท่ใี ห้ความรู้ ขอ้ เสนอแนะ ตลอดจนขอ้ แก้ไขบกพรอ่ งตา่ งๆ บนรา้ นเปรตจะมสี ายสญิ จนว์ งลอ้ มไวร้ อบและตอ่ ยาวไป สาหรบั สมดุ เลม่ นี้ และขอบขอบคณุ เพอ่ื นๆท่ีใหค้ าแนะนา จนถงึ พระสงฆท์ น่ี งั่ อยใู่ น วหิ ารทเี่ ป็นทที่ าพธิ กี รรม โดย เก่ียวกับการจดั ทาหนงั สอื เล่มน้ี จนทาใหห้ นังสือเลม่ นสี้ าเรจ็ สวดบงั สกุ ลุ อัฐหิ รือกระดาษเขียนชอื่ ของผตู้ าย ขนมตา่ ง ๆ ลุลว่ งไปได้อย่างสมบรู ณ์ จะถกู แบง่ ออกสว่ นหนง่ึ พรอ้ มกบั ของแหง้ ไวถ้ วายพระ อกี สว่ นหนงึ่ ใหเ้ ปรตชนทพี่ อมกี าลงั เขา้ มาเสพได้ ใน ขณะเดยี วกนั ผทู้ มี่ าร่วมทาบุญทง้ั หนุม่ สาว เฒา่ แก่ และดก็ จะเขา้ ไปรมุ กนั แยง่ ขนมทตี่ ง้ั เปรตดว้ ยความสนกุ สนาน เพราะถือวา่ ไดบ้ ญุ กศุ ล จริ ภัทร์ จักรสาร ณัฏภทั ร บญุ คาภา

๒๔ Concept Map ค ประเพณกี ารแขง่ เรอื กอและดว้ ยฝพี าย ประเพณี ประเพณี ประเพณี ประเพณี ยีเ่ ป็ง ทานตุง อ้สู าว ฮตี สบิ สอง ประเพณกี ารแขง่ เรอื กอและและเรอื ยาวดว้ ยฝีพายหนา้ พระทนี่ งั่ ไดจ้ ดั ขน้ึ เปน็ ประจาทกุ ปี ในระหวา่ งวนั ที่ ๒๑-๒๕ ประเพณี ภาคเหนอื กนั ยายน ซงึ่ เปน็ ระยะเวลาที่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ปอยหลวง และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ พร้อมดว้ ยพระ ภาค บรมวงศานวุ งศ์ ไดเ้ สดจ็ แปรพระราชฐานมาประทบั แรม ณ ประเพณีโคม อีสาน พระตาหนกั ทกั ษณิ ราชนิเวศน์ ลอย ประเพณไี ทย ประชาชนชาวจงั หวดั นราธวิ าสตา่ งเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ สมควรจดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั เรอื กอและอนั เปน็ ประเพณี ประเพณี ๔ ภาค เกา่ แกข่ อง ชาวจงั หวดั นราธวิ าสถวายทอดพระเนตรเพือ่ เทดิ พระเกยี รตใิ นพระมหากรุณาธคิ ณุ อนั ลน้ พน้ และเปน็ ชงิ เปรต การฟนื้ ฟปู ระเพณกี ารแขง่ เรือกอและดว้ ยฝีพาย หนา้ พระท่ี นงั่ ประเพณอี ุม้ การแขง่ ขนั ใชเ้ รือกอและระยะทาง ๖๕๐ เมตร ผู้ พระดานา้ ควบคมุ ลาละ ๑ คน จานวนฝพี ายรวมทง้ั นายทา้ ยไม่เกนิ ลาละ ๒๓ คน และมฝี พี ายสารองไม่เกนิ ลาละ ๕ คน การ ประเพณี ภาคใต้ เปลยี่ นตวั ในแตล่ ะเทย่ี วทาไดเ้ ทยี่ วละไม่เกนิ ๕ คนการ แขง่ ขันแบง่ เปน็ ๔ รอบ รอบท่ี ๑ และรอบที่ ๒ เปน็ รอบ ลอบเรอื ประเพณีรบั คดั เลือก รอบที่ ๓ เปน็ รอบรองชนะเลศิ และรอบที่ ๔ เปน็ รอบชงิ ชนะเลศิ ภาค บัว ประเพณี กลาง แขง่ เรอื กอและ ด้วย ประเพณวี ง่ิ ประเพณี ประเพณีตัก ควาย ลากพระ (ชกั บาตรเทโว ประเพณีกวน พระ) ขา้ วทพิ ย์

สารบญั ง ๒๓ คานา ก ประเพณลี ากพระ (ชกั พระ) กติ ตกิ รรมประกาศ ข Concept Map ค วนั ลากพระ จะทากนั ในวนั ออกพรรษา คอื วนั แรม ๑ สารบัญ ง คา่ เดอื น ๑๑ แรม ๒ คา่ เดือน ๑๑ จงึ ลากพระกลับ ประเพณภี าคเหนือ ๑ วดั ปฏบิ ัตติ ามความเชอื่ วา่ เมือ่ ครงั้ ทีพ่ ระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไป ประเพณีภาคอีสาน ๗ โปรดพระมารดา ณ สวรรคช์ นั้ ดาวดงึ ส์ เมื่อครบพรรษาจงึ ประเพณภี าคกลาง ๑๕ เสดจ็ กลบั มายงั โลกมนษุ ย์ พทุ ธศาสนกิ ชนไปรบั เสดจ็ ประเพณีภาคใต้ ๒๑ แลว้ อญั เชญิ พระพทุ ธเจา้ ประทบั บนบุษบกแลว้ แหแ่ หน บรรณานุกรม ๒๖ พิธกี รรม ๑. การแตง่ นมพระ นมพระ หมายถงึ พนมพระเปน็ พาหนะทีใ่ ช้บรรทกุ พระลาก นิยมทา ๒ แบบ คือ ลากพระ ทางบก เรยี กวา่ นมพระ ลากพระทางนา้ เรยี กวา่ \"เรือพระ\" ๒. การอญั เชิญพระลากขนึ้ ประดิษฐานบนนมพระ พระลาก คอื พระพทุ ธรปู ยนื แตท่ นี่ ยิ มคอื พระพทุ ธรปู ปาง อมุ้ บาตร เม่อื ถงึ วนั ขน้ึ ๑๕ คา่ เดอื น ๑๑ พทุ ธบริษทั จะสรง นา้ พระลากเปลย่ี นจวี ร แลว้ อญั เชญิ ขนึ้ ประดษิ ฐานบนนม พระ ๓. การลากพระ ใช้เชอื กแบง่ ผกู เปน็ ๒ สาย เปน็ สาย ผหู้ ญงิ และสายผชู้ าย

๒๒ ๑ ประเพณลี อยเรอื ประเพณี ภาคเหนือ เปน็ ประเพณที ่สี บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ ดง้ั เดิมของ ชาวอูรกั ลาโวย ทอ่ี าศยั อยใู่ นจงั หวดั กระบแ่ี ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง เมือ่ ถงึ เวลาสมาชกิ ในชมุ ชนและญาตพิ ีน่ อ้ งทแ่ี ยก ยา้ ยถน่ิ ไปทามาหากนิ ในแถบทะเล และหมเู่ กาะต่าง ๆ ใน ทะเลอนั ดามันจะพากนั เดนิ ทางกลบั มายงั ถ่นิ ฐาน เพ่อื ประกอบพธิ นี ี้ ในวนั ขึน้ ๑๓ คา่ ชว่ งเชา้ ชาวเลจะเดนิ ทางไปบริเวณที่ จะทาพธิ ี ผ้หู ญงิ จะทาขนม ผชู้ ายจะสรา้ งและซอ่ มแซมทพี่ กั ช่วั คราว ชว่ งเย็น ทง้ั หญงิ และชายจะไปรวมกนั ทศ่ี าลบรรพ บุรษุ เพ่ือนาอาหารเครอื่ งเซ่นไปเซน่ ไหว้ บรรพบรุ ษุ เปน็ การ บอกกลา่ วใหม้ ารว่ มพธิ ลี อยเรอื เชา้ ของวนั ข้ึน ๑๔ คา่ ผชู้ ายสว่ นหนง่ึ เดนิ ทางไปตัดไม้ เพื่อนาไม้มาทาเรือผหู้ ญงิ จะร้องราทาเพลง และคนื วนั ขนึ้ ๑๔ คา่ มพี ธิ ฉี ลองเรอื โดยมกี ารรารอบเรือ เพ่ือถวาย วญิ ญาณบรรพบรุ ุษ โตะ๊ หมอจะทาพธิ ใี นชว่ งเรมิ่ ฉลองเรือ และมีพธิ สี าดนา้ ตอนเทย่ี งคนื (เลฮบฺ าเลฮ)ฺ และทาพธิ อี กี ครงั้ ในชว่ งเชา้ ตรวู่ นั ขนึ้ ๑๕ คา่ กอ่ นนาเรือไปลอยใน ทศิ ทางลมซงึ่ แนใ่ จวา่ เรอื จะไมล่ อยกลับเขา้ ฝง่ั บ่ายวนั ขนึ้ ๑๕ คา่ ผชู้ ายแยกยา้ ยไปตัดไมแ้ ละหาใบกะพรอ้ เพอื่ ทาไมก้ นั ผีสาหรบั ทาพธิ ี ฉลองในเวลากลางคนื จนกระทงั่ ใกลจ้ ะ สวา่ งโตะ๊ หมอจะทา พธิ เี สกนา้ มนต์ ทานายโชคชะตา และสะเดาะเคราะห์ ให้สมาชกิ ทเี่ ขา้ ร่วมพธิ กี อ่ นจะ อาบนา้ มนต์

๒ ๒๑ ประเพณี ภาคใต้

๒๐ ๓ ประเพณี ประเพณี ตกั บาตรเทโว ปอยหลวง จัดขน้ึ ในวนั แรม ๑ คา่ เดอื น ๑๑ (วนั ออกพรรษา) ประเพณปี อยหลวงจดั ขนึ้ ในชว่ งเวลาจาก มีความสา่ คัญคอื งานตกั บาตรเทโว เปน็ งานประเพณที ช่ี าว เดือน ๕ จนถงึ เดือน ๗ ของภาคเหนือ ซง่ึ ตรงกบั อุทยั ธานยี ดึ ถอื ปฏบิ ัตกิ นั มา จนกลายเปน็ เอกลกั ษณท์ ี่ชาว เดือนกมุ ภาพนั ธ์ ถงึ เดอื นเมษายนหรอื เดอื น อุทยั ธานที กุ คนภมู ิใจกนั มาก เพราะเปน็ การจดั งานตกั บาตร พฤษภาคมของทกุ ป)ี ระยะเวลาประมาณ ๓-๗ วัน เทโว ทมี่ ีความสอดคล้องกับพทุ ธตา่ นานมากทสี่ ดุ เปน็ งานทาบญุ เพ่อื เฉลมิ ฉลองศาสนสมบตั ิ โดยบรรดาพทุ ธศาสนกิ ชนจะรว่ มทา่ บุญตกั บาตร ตา่ ง ๆ เพอื่ ใหเ้ กดิ อานสิ งสแ์ กต่ นและครอบครวั ขา้ วสารอาหารแห้งพรอ้ มทง้ั ขา้ วตม้ ลูกโยนกนั อยา่ งเนอื ง นอกจากน้ยี งั เปน็ เครอ่ื งแสดงถงึ ความสามคั คี แนน่ นอกจากจะมกี ารทา่ บญุ ตกั บาตรแล้วยงั มกี ารจดั ขบวน กลมเกลยี วของคณะสงฆแ์ ละชาวบา้ นดว้ ยเพราะ แหร่ ถบผุ าชาติ โดยมกี ารแหข่ บวนผา่ นตลาดและเขา้ ถงึ ลาน เปน็ งานใหญ่ การทาบญุ ปอยหลวงทน่ี ยิ มทากนั วดั สงั กัสรตั นครี ซี งึ่ เปน็ ทต่ี ักบาตรนอกจากน้ี ใน ตลาดและ คือทาบญุ เพอื่ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหพ้ อ่ แม่ ปู่ยา่ ตายาย หนว่ ยงานราชการหา้ งรา้ นตา่ ง ๆ ได้จดั โตะ๊ หมู่บชู าประดบั หรอื ญาตพิ นี่ อ้ งทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ กไ็ ด้ ด้วยงาชา้ งตงั้ ตกแตง่ เปน็ ทส่ี วยงามอยา่ งยงิ่

๔ ๑๙ ประเพณยี เ่ี ปง็ ประเพณกี วนขา้ วทพิ ย์ คอื ประเพณลี อยกระทงแบบ ประเพณีกวนขา้ วทพิ ย์ เป็นพระราชพธิ กี ระทา่ ในเดือน ล้านนา โดยค่าวา่ ย่ี แปลวา่ สอง ๑๐ ซมี าตง้ั แตส่ มยั สโุ ขทยั และกรงุ ศรีอยธุ ยา ในปัจจบุ นั สว่ น เปง็ แปลวา่ เพญ็ หรอื คนื สว่ นใหญจ่ ะจดั ในเดอื น ๑๒ บางแหง่ จะจดั ในเดือน ๑ ซ่งึ พระจนั ทรเ์ ตม็ ดวง ซง่ึ หมายถงึ เปน็ ชว่ งทข่ี า้ วกลา้ ในท้องนามรี วงขา้ ว และเคร่อื งกวนขา้ ว ประเพณใี นวนั เพญ็ เดอื นสอง ทพิ ยป์ ระกอบดว้ ยถวั่ นม นา่้ ตาล นา่้ ผง้ึ นา่้ อ้อย งา เนย ของชาวลา้ นนา ซงึ่ ตรงกบั เดอื น นา้่ กะทิ และนมทค่ี น้ั จากรวงขา้ ว สิบสองของไทย โดยงาน ประเพณจี ะมสี ามวนั คอื เปน็ พธิ กี รรมของศาสนาพราหมณ์ ทสี่ อดแทรกใน  วนั ขนึ้ สบิ สามคา่ หรอื วนั พธิ กี รรมทางพทุ ธศาสนา เพ่ือถวายแดพ่ ระภกิ ษสุ งฆ์ บชู า พระรตั นตรยั และอทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ ตู้ าย ดา เปน็ วนั ซอื้ ของเตรยี ม ไปท่าบญุ ท่วี ดั จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ยี งั คงรักษาประเพณกี วนขา้ วทพิ ย์ โดย  วนั ขนึ้ สบิ สค่ี า่ จะไปทา่ บญุ กนั ทว่ี ดั พรอ้ มท่ากระทงใหญไ่ วท้ ่ี มีเหลืออยเู่ พยี ง ๓ หมบู่ า้ น คอื หมู่บา้ นพัฒนาโภคาภวิ ัฒน์ วดั และนา่ ของกนิ มาใสก่ ระทงเพอื่ ทา่ ทานให้แกค่ นยากจน หมบู่ า้ นวดั กุฎที อง และหมู่บา้ นในอา่ เภอพรหมบรุ ี ซง่ึ ยงั คง  วนั ขน้ึ สบิ หา้ คา่ จะนา่ กระทงใหญท่ วี่ ดั และกระทงเลก็ รกั ษาประเพณี และมคี วามเชือ่ ถอื อยา่ งมน่ั คง เปน็ แบบอยา่ ง สว่ นตวั ไปลอยในลา่ นา่้ ทด่ี ี แฝงด้วยจรยิ ธรรมและคตธิ รรมอยู่มาก ในชว่ งวนั ยเี่ ปง็ จะมกี ารประดบั ตกแตง่ วดั บา้ นเรอื น ทา่ ประตปู า่ ดว้ ยตน้ กลว้ ย ตน้ ออ้ ย ทางมะพรา้ ว ดอกไม้ ตงุ ชอ่ ประทปี และชกั โคมยเี่ ปง็ แบบตา่ ง ๆ ขน้ึ เปน็ พทุ ธบชู า และมกี ารจดุ ถว้ ยประทปี (การจดุ ผางปะตบี๊ ) เพอ่ื บชู าพระรตั นตรยั และมกี ารจดุ โคมลอยปลอ่ ยขน้ึ สทู่ อ้ งฟา้ เพอ่ื บชู าพระเกตแุ กว้ จฬุ ามณบี นสรวงสวรรค์ ชน้ั ดาวดงึ ส์

๑๘ ๕ ประเพณวี ิง่ ควาย ประเพณที านตงุ ประเพณีวงิ่ ควายจะจดั ขน้ึ ใน ในวนั ขน้ึ ๑๔ คา่ เดอื น ๑๑ ตงุ \" ในภาษาถ่ินล้านนาหมายถึง \"ธง\" ใน ก่อนออกพรรษา ๑ วนั ของทกุ ปี เปน็ ประเพณเี กยี่ วกับอาชพี ภาษาไทยกลางตรงกบั ลกั ษณะธงประเภท \"ปฏากะ\" เกษตรกรรม ซ่ึงตกทอดมาจากบรรพบรุ ษุ จนถงึ ปจั จบุ นั ของอินเดีย คือ มลี กั ษณะเปน็ แผ่นวตั ถสุ ่วนปลาย จดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ใหช้ าวบา้ นไดเ้ ตรยี มของไปถวายวัด ปจั จยั แขวนติดกับเสา ห้อยเป็นแผน่ ยาวลงมา ไทยธรรมไดพ้ กั ผอ่ นและไดส้ งั สรรค์กนั ระหวา่ งชาวบา้ นซง่ึ เหนอื่ ยจากงานและให้ควายไดพ้ กั เน่อื งจากต้องตรากตรา่ ใน จุดประสงคข์ องการทาตุงในล้านนากค็ อื การ การทา่ นา ปัจจบุ นั ประเพณีวงิ่ ควายเปน็ ประเพณขี อง ทาถวายเปน็ พทุ ธบูชา ชาวล้านนาถือวา่ เป็นการ จงั หวัดชลบรุ ี โดง่ ดงั เปน็ ทร่ี จู้ กั ของชาวไทยและตา่ งประเทศ ทาบุญอทุ ศิ ให้แกผ่ ทู้ ลี่ ว่ งลับไปแล้ว หรอื ถวายเพือ่ เป็นปจั จยั ส่งกศุ ลใหแ้ ก่ตนไปในชาตหิ น้า วันท่ี ถวายตงุ น้นั นยิ มกระทาในวนั พญาวนั ซึ่งเป็นวัน สดุ ทา้ ยของเทศกาลสงกรานต์ ปจั จุบนั ชาวล้านนาสว่ นใหญ่ยงั นยิ มสรา้ งตุง เพอื่ ใช้ในพธิ ีกรรมตา่ งๆ ทงั้ ทางศาสนา ประเพณี เก่ียวกบั ชีวติ ประเพณีเกีย่ วกับความตาย งาน เทศกาลและเฉลมิ ฉลองงานต่างๆ

๖ ๑๗ ประเพณี ประเพณรี บั บวั อสู้ าว ประเพณรี บั บวั -โยนบวั เปน็ “อ้สู าว” กค็ อื พดู กับสาว คยุ กบั สาว หรอื แอว่ สาวการอู้ ประเพณที อ้ งถนิ่ ซงึ่ มเี พยี งแหง่ เดยี ว สาวเปน็ การพดคยุ กนั เปน็ ทา่ นองหรอื เปน็ กวโี วหาร ในประเทศไทย คอื ทอ่ี า่ เภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ ทา่ ตอนกลางคนื โดยชายหนมุ่ (หรอื ชายไมห่ นมุ่ กไ็ ด)้ เรยี กวา่ ดว้ ยเหตุทแ่ี ตเ่ ดมิ นนั้ พน้ื ท่ใี นละแวกอา่ เภอบางพลขี น้ึ ชอ่ื บา่ ว จะไปไหนมาไหนเปน็ กลมุ่ ๆ และพดู คยุ กนั อยา่ ง วา่ อดุ มไปดว้ ยดอกบวั หลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.) สะพรงั่ สนุกสนานเพอื่ ไป “เซาะอ”ู้ (คือการไปคยุ กับสาวๆ ตอน ไปทว่ั ทกุ ล่าคลองหนองบงึ เมอ่ื ใกลจ้ ะถงึ วนั ทา่ บญุ ในชว่ งออก กลางคนื ชว่ งวา่ งงาน)ถา้ ผหู้ ญิงทมี่ เี รอื นหรอื แตง่ งานแล้ว พรรษา ชาวบา้ นในอา่ เภอใกลเ้ คยี งจงึ มกั พากนั พายเรอื มาเกบ็ จะไมอ่ อกมาอเู้ ดด็ ขาด ดอกบวั ไปถวายพระ ชาวบางพลเี หน็ เชน่ นนั้ จงึ อาสาเปน็ ผเู้ กบ็ ดอกบวั ให้ ตอ่ มา เมอ่ื ใกลจ้ งึ วนั ออกพรรษาคราใด ชาวบางพลจี ะ ส่วนสาว ๆ เม่อื เสรจ็ ตอนกลางวนั แลว้ ตกคา่ กจ็ ะรบี พากนั เกบ็ ดอกบวั ไวค้ อยทา่ เผอื่ มคี นตา่ งถน่ิ พายเรอื มาขอรบั อาบนา่้ แตง่ ตัวอยา่ งสวยงาม แต่ถา้ สาวใดมีงานเล็กๆนอ้ ยๆ ดอกบวั นานวนั นานปี จากน่้าใจของชาวบา้ นบางพลี กก็ ลายมา เชน่ งานท่อผา้ ไทยหรอื งานปน่ั ฝา้ ยก็จะออกมาทา่ งานทหี่ นา้ เปน็ ประเพณรี บั บวั บา้ น แตจ่ ะมพี ่อแม่หรอื ญาตพิ นี่ ้องมานง่ั คยุ ดว้ ย และถ้ามผี ู้ บ่าวมาแอว่ พ่อแม่ก็จะเปิดโอกาศใหไ้ ดค้ ยุ กนั สองตอ่ สอง

๑๖ ๗ ประเพณอี มุ้ พระดานา้ ประเพณี ภาคอสี าน ประเพณพี ระดา่ นา้่ เปน็ ประเพณที ่ี มเี พยี งแหง่ เดยี วในประเทศไทย เกดิ จาก (ตะวนั ออกเฉยี ง ความเชือ่ เกย่ี วกับอภนิ หิ ารของพระพทุ ธรปู สา่ คญั เฉยี งเหนอื ) คู่บา้ นคเู่ มอื งคือพระพทุ ธมหาธรรมราชา ซึ่งคนหาปลาสอง สามีภรรยาทอดแหไดท้ วี่ งั เกาะระสารในบรเิ วณลมุ่ นา่้ ปา่ สกั ในเขตตวั เมืองเพชรบรู ณ์ จงึ นา่ ไปไวท้ ว่ี ดั ไตรภมู ิ เม่อื ถงึ เทศกาลสารทพระพทุ ธรปู องคน์ จ้ี ะหายไปและชาวบา้ นจะพบ มาเลน่ นา้่ ทบี่ รเิ วณทีค่ น้ พบเดมิ ดงั นนั้ ในเทศกาลทา่ บญุ สารทหลงั จากทา่ บญุ เสรจ็ แลว้ จะมพี ธิ อี ญั เชญิ พระพทุ ธมหา ธรรมราชาลงรว้ิ ขบวนเรอื ไปสรงนา่้ ทว่ี งั เกาะระสาร แต่ ปจั จุบนั นา่ มาทา่ พธิ ที ท่ี า่ นา้่ ของวดั โบสถช์ นะมารในวนั แรม ๑๕ คา่ เดอื น ๑๐

๘ ๑๕ ประเพณสี าคญั ของชาวอสี านก็คอื ประเพณี “ประเพณฮี ตี สบิ สอง” คอื ภาคกลาง ประเพณี ๑๒ เดอื นของชาว อสี านทต่ี า่ งจากประเพณี ๑๒ เดอื นของภาคอน่ื หลายประเพณี ๑. เดือนอา้ ย หรือเดือนเจยี ง งานบุญเขา้ กรรม มงี านบญุ ดอกผา้ (นา่ ผา้ หม่ หนาวไปถวายสงฆ)์ ประเพณเี สง็ กลอง ทา่ ลานตี(ลานนวดขา้ ว)ทา่ ปลาแดก (ทา่ ปลารา้ ไว้เปน็ อาหาร) เกยี่ ว ขา้ วในนา เลน่ วา่ ว ชกั วา่ วสนู นิมนตพ์ ระสงฆเ์ ขา้ ประวาส กรรม ตามปร่ ะเพณนี นั้ มีการทา่ บญุ ทางศาสนา เพอื่ อนสิ งฆ์ ทดแทนบญุ คณุ ตอ่ บรรพบรุ ษุ ชาวบา้ นเลยี้ งผแี ถน ผบี รรพ บรุ ุษ มกี ารตระเตรยี มเกบ็ สะสมขา้ วปลาอาหารไวก้ ินในยาม แลง้

๑๔ ๙ ๑๒. เดอื นสิบสอง บญุ กฐนิ ทา่ บญุ ขา้ วเม่าพธิ ถี วายกฐนิ เมอ่ื ๒. เดอื นย่ี งานบญุ คนู ลาน ทา่ บญุ ท่วี ดั พระสงฆ์ ถงึ วนั เพญ็ จดั ทา่ ขา้ วเม่า(ขา้ วใหม)่ นา่ ไปถวายพระ พรอ้ มสา่ รับ เทศนเ์ รอ่ื งแมโ่ พสพ ทา่ พธิ ปี ลงขา้ วในลอมและฟาดขา้ วใน คาวหวานขน้ึ ตอนบา่ ยฟง้ เทศนเ์ ปน็ อานสิ งสจ์ ดั พธิ ที อดกฐนิ ลาน ขนขา้ วเหลอื กขนึ้ เลา้ (ยุ้งฉาง) นบั เปน็ ความเชอ่ื ในการ ตามวดั ท!่ี !จองกฐนิ ไว้ งานบญุ ในฮตี สบิ สองนน้ั ตามหมทู่ เี่ ครง่ บา่ รงุ ขวญั และสริ ิมงคลทางเกษตรกรรม มที ั้งทา่ บญุ ทีว่ ดั ประเพณยี งั คงจดั กนั อยา่ งครบถ้วนบางแหง่ จดั เฉพาะงานบญุ และบางครง้ั ทกบุญทลี่ านนวดขา้ ว เมอ่ื ขนขา้ วใสย่ งุ้ แลว้ มกั ใหญๆ่ ตามแตค่ ณะกรรมการหมบู่ า้ นรว่ มกนั จดั บางแหง่ เปน็ ไปทา่ บญุ ทวี่ ดั งานใหญป่ ระจา่ ปี งานบญุ แหเ่ ทยี นพรรษา ชาวจงั หวดั อุบลฯ จดั เปน็ งานใหญ่ทกุ ปงี านลอยเฮอื ไฟ ชาว ๓. เดอื นสาม บญุ ขา้ วจ่ี มพี ธิ เี ลย้ี งลาตาแฮก (พระภูมนิ า) จงั หวดั นครพนมจดั เปน็ งานใหญป่ ระจา่ เพราะขนขา้ วขนึ้ ยงุ้ แลว้ งานเอนิ้ ขวญั ขา้ วหรอื กขู่ วัญขา้ ว และงานแหป่ ราสาทผง้ึ ชาวเมอื งสกลนคร เพญ็ เดอื นสามทา่ บญุ ขา้ วจต่ี อนเยน็ ทา่ มาฆบชู า ลงเขน็ ฝา้ ย จดั เปน็ งานใหญป่ ระจา่ เปน็ ต้น ปจั จบุ นั นี้ หาหลัวฟนื (ไมเ้ ชื้อเพลิงลา่ ไมไ้ ผต่ ายหลวั กง่ิ ไมแ้ หง้ -ฟืน) มกี ารฟนื้ ฟกู ารจดั งานฮตี สิบสองเปน็ งาน ตามประเพณหี ลงั จากเกบ็ เกยี่ วขา้ วใสย่ ุ้งแลว้ มกี ารทา่ บญุ ใหญๆ่ เพอ่ื การอนรุ กั ษส์ ินมรดกทาง เซน่ สรวงบชู าเจา้ ทนี่ า ซ่งึ ชาวอสี านเรยี กวา่ ตาแฮก และ วฒั นธรรมและสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วสู่ ทา่ บญุ แผ่สว่ นกุศลใหผ้ ปี ูย่ า่ ตายาย อนั เปน็ การแสดงความ จงั หวดั ดว้ ย กตัญญตู ่อบรรพบรุ ษุ โดยการทา่ ขา้ วจ่(ี ขา้ วเหนยี วปนั้ เปน็ กอ้ นสอดไสน้ า้่ ตาลหรอื นา่้ ออ้ ยชบุ ไขป่ ง้ิ จนเหลอื ง) นา่ ไป ถวายพระพรอ้ มอาหารคาวหวานอนื่ ๆ

๑๐ ๑๓ ๔. เดอื นสี่ บญุ พระเวส (อา่ นออกเสยี งพระ-เหวด) มงี าน ๑๐. เดอื นสบิ บญุ ขา้ วสาก ข้าวสากหมายถงึ การกวน บญุ พระเวส (ฟงั เทศน์มหาชาต)ิ แห่พระอปุ คตุ ตงั้ ศาลเพียงตา กระยาสารท คลา้ ยงานบญุ สลากภตั ในภาคกลาง จดั งานวนั เพญ็ ทา่ บญุ แจกขา้ วอทุ ศิ ให้ผตู้ าย (บญุ เปตพล)ี ประเพณเี ทศน์ เดอื น 10 นา่ สา่ รบั คาวหวานพรอ้ มกบั ขา้ วสาก(กระยาสารท) ไป มหาชาตเิ หมอื นกบั ประเพณภี าคอน่ื ๆ ดว้ ย เปน็ งานบญุ ทางพทุ ธ ท่าบญุ ทวี่ ดั ถวายผา้ อาบนา่้ ฝนและเครอื่ งไทยทาน แตก่ อ่ นทจี่ ะ ศาสนาทถี่ อื ปฏบิ ัตทิ า่ บญุ ถวายภตั ตาหารแลว้ ตอนบ่ายฟงั เทศน์ ถวายนน้ั จะท่าสลากตดิ ไว้ พระสงฆอ์ งคใ์ ดจบั สลากใดไดก้ ร็ บั เรอื่ งเวสสนั ดรชาดก ตามประเพณวี ดั ตดิ ตอ่ กนั 2-3 วนั แลว้ แต่ ถวายจากเจา้ ของส่ารบั นน้ั ตอนบา่ ยฟงั เทศนเ์ ปน็ อานสิ งส์ กา่ หนดในชว่ งทจ่ี ดั งานมกี ารแหพ่ ระอปุ คตุ เพอ่ื ขอใหบ้ นั ดาลให้ ฝนตกดว้ ย ๑๑. เดอื นสบิ เอด็ บญุ ออกพรรษา มีพธิ ถี วายผา้ หม่ หนาวใน วนั เพญ็ มงี านบญุ ตกั บาตรเทโว พธิ กี วนขา้ วทพิ ย์ พธิ ลี อยเรอื ไฟ ๕. เดอื นหา้ บญุ สรงน่า้ หรอื เทศกาลสงกรานต์ ชาวอสี าน นับเปน็ ชว่ งทจี่ ดั งานใหญก่ นั เกอื บตลอดเดอื น นบั แตว่ นั เพญ็ มี เรยี กกนั วา่ สงั ขานต์ ตามประเพณจี ดั งานสงกรานตน์ ้ัน บาง การถวายผา้ หม่ หนาวแตพ่ ระพทุ ธพระสงฆ์ วนั แรม 1 คา่ งาน แหง่ จดั กนั 3 วนั บางแหง่ 7 วนั แลว้ แตก่ า่ หนดมกี ารทา่ บญุ บญุ ตกั บาตรเทโว ตอนเยน็ วันขนึ้ 14 คา่ มพี ธิ กี วนขา้ วทิพย์ มงี าน ถวายภตั ตาหารคาวหวาน หรอื ถวายจงั หนั เชา้ -เพลตลอดเทศกาล ชว่ งเฮอื (แขง่ เรอื ) ในวนั เพญ็ มงี านแหป่ ราสาทผง้ึ พธิ ลี อย เฮอื ตอนบา่ ยมสี รงน่า้ พระ รดน่้าผใู้ หญผ่ เู้ ฒ่า กอ่ เจดยี ท์ ราย ไฟ (ไหลเรอื ไฟ) เพอ่ื ถวายเปน็ พทุ ธบชู า มที ง้ั งานบญุ กศุ ลและ สนกุ สนานรื่นเรงิ

๑๒ ๑๑ ๘. เดอื นแปด งานบญุ เขา้ พรรษา มีพธิ หี ลอ่ เทยี นพรรษา ๖. เดอื นหก บญุ บง้ั ไฟ บางแหง่ เรยี ก บญุ วสิ าขบชู า มี งานบญุ เทศกาลเข้าพรรษา แต่ละหมบู่ า้ นชว่ ยกนั หลอ่ เทยี น งานบญุ บงั้ ไฟ (บญุ ขอฝน) บญุ วสิ าขบชู า วนั เพญ็ เดอื นหก พรรษา ประดบั ใหส้ วยงาม จดั ขบวนแหเ่ พอื่ นนา่ ไปถวายเปน็ เกอื บตลอดเดอื นหกน้ี ชาวอสี านจดั งานบญุ บงั้ ไฟ จดั วนั ใด พุทธบชู า มกี ารทา่ บญุ ถวายภตั ตหาร เครอื่ งไทยทานและผา้ อาบ แลว้ แตค่ ณะกรรมการหมบู่ า้ นกา่ หนดถอื เปน็ การทา่ บญุ บชู า น่า้ ฝน เพอื่ พระสงฆจ์ ะไดน้ ่าไปใชต้ ลอดเทศกาลเขา้ พรรษา แถน (เทวดา) เพอ่ื ขอใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดกู าลและความอดุ ม สมบรู ณข์ องข้าวปลาอาหารในปตี อ่ ไปครน้ั วนั เพญ็ หก เปน็ งาน ๙. เดอื นเกา้ บญุ ขา้ วประดบั ดนิ จดั งานวนั แรม 14 คา่ เดอื น บญุ วสิ าขบชู าประเพณสี า่ คญั ทางพทุ ธศาสนา มกี ารทา่ บญุ ฟงั 9 นบั แตเ่ ชา้ มดื ชาวบา้ นจดั อาหารคาวหวาน หมากพลบู หุ รใี่ ส่ เทศนแ์ ละเวยี นเทยี นเพอ่ื ผลแหง่ อานสิ งสใ์ นภพหนา้ กระทงเลก็ ๆ นา่ ไปวางไวต้ ามลานบา้ น ใตต้ น้ ไม้ ข้างพระอโุ บสถ เพอื่ เปน็ การใหท้ านแกเ่ ปรตหรอื วญิ ญาณทต่ี กทกุ ขไ์ ด้ยากตอน ๗. เดอื นเจด็ บญุ ช่าฮะ มพี ธิ เี ล้ียงตาแฮก ปตู่ า หลกั เมอื ง งานบญุ เบกิ บ้านเบกิ เมอื ง งานเขา้ นาคเพอ่ื บวชนาค คตคิ วามเชอื่ หลงั จากหว่านขา้ วกล้าดา่ นาเสรจ็ มกี ารทา่ พธิ เี ซน่ สรวงเจา้ ทน่ี า เพอื่ ความเปน็ สริ ิมงคลใหข้ ้าวกล้าในนางงอกงาม บ้านทกี่ ลุ บตุ รมงี านอปุ สบททดแทนบญุ คณุ บดิ ามารดาและ เตรยี มเขา้ กรรมในพรรษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook