Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานนำเสนอกลุ่มที่สอง ภาวะผู้นำทางการศึกษา ฉบับพชรปรับปรุงใหม่(e-book)

งานนำเสนอกลุ่มที่สอง ภาวะผู้นำทางการศึกษา ฉบับพชรปรับปรุงใหม่(e-book)

Published by พชร พรรธนประเทศ, 2020-01-01 03:24:43

Description: งานนำเสนอกลุ่มที่สอง ภาวะผู้นำทางการศึกษา ฉบับพชรปรับปรุงใหม่(e-book)

Keywords: ภาวะผู้นำทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

Leadership and learning are indispensable to each other. - John F. Kennedy ความเป็ นผู้นาและการเรียนรู้เป็ นส่ิงท่สี าคัญจาเป็ นท่ขี าดไม่ได้ซ่งึ กันและกนั

ภาวะผู้นาทางการศกึ ษา educational leadership



ภาวะผู้นาทางการศึกษา(educational leadership ) • ประเดน็ นำเสนอ 8 ประดน็ ได้แก่ 1) โมเดลภาวะผู้นาทางการศกึ ษาศตวรรษที่ 21 2) ความสัมพันธ์(relationship) 3) พ้ืนทีก่ ารปฎบิ ตั ิ (areas of practice) 4) กิจกรรมภาวะผนู้ า(leadership activities) 5) คณุ ภาพของภาวะผนู้ าท่ีมีประสทิ ธผิ ล 6) ภาวะผนู้ าสถานศกึ ษาในศตวรรษที่21 7) ทกั ษะเพ่อื ความสาเรจ็ ของผ้นู า 8) ทัศนคติ 10 ประการ สาหรับผนู้ า

ความหมายของภาวะผนู้ าทางการบริหารการศึกษา ภาวะผ้นู า (Leadership) ได้มีผใู้ หค้ วามหมายไวห้ ลากหลาย ดงั น้ี สรปุ ได้วา่ ภาวะผู้นาเป็นคุณลกั ษณะเฉพาะตวั ที่เกิดขนึ้ ในตัว ภาวะผนู้ าเป็นกระบวนการของอิทธพิ ลท่บี ุคคลหน่ึงพยายามใช้ บคุ คลท่ีมีอิทธพิ ลต่อบคุ คลอื่นในการที่จะให้ความร่วมมือทา อทิ ธพิ ลตอ่ บคุ คลอนื่ เพอื่ ให้มีพฤติกรรมไปในทศิ ทางทต่ี ้องการ ทัง้ นี้ กิจกรรมตา่ ง ๆ ตามทีผ่ นู้ าต้องการ ซึ่งคณุ ลกั ษณะความเป็น เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายทต่ี ัง้ ไว้ เศาวนิต เศาณานนท์ (2542) ผนู้ านีไ้ มม่ ีเฉพาะผทู้ ด่ี ารงตาแหนง่ เป็นหัวหนา้ เท่านัน้ แต่ บคุ คลทุกอาชีพ ทกุ สถานภาพกส็ ามารถมภี าวะผนู้ าได้ตาม ภาวะผู้นาคอื การทผี่ ้นู าใช้อิทธิพลในความสมั พันธ์ท่มี ีอยตู่ อ่ เวลา โอกาส สถานท่ี เชน่ บิดามีภาวะความเป็นผนู้ าใน ผใู้ ตบ้ ังคับบัญชาในสถานการณต์ า่ งๆ เพ่ือปฏิบตั ิการและ ฐานะหัวหน้าครอบครัวทม่ี ีผลต่อผตู้ ามคือภรรยาและบุตร อานวยการ โดยใชก้ ระบวนการตดิ ต่อซึง่ กันและกนั เพ่ือบรรลุตาม เป็นต้น การบรหิ ารการศึกษากบั ภาวะผนู้ ามีความสมั พันธ์ เป้าหมาย กวี วงศพุฒ (2542) กันคือ การบรหิ ารการศึกษาจาเป็นต้องอาศัยภาวะผนู้ าเพอ่ื ช่วยให้การบรหิ ารการศึกษาเปน็ ไปดว้ ยดี มีประสิทธภิ าพ ภาวะผนู้ าคอื ภาวะท่ีก่อใหเ้ กิดศรทั ธาเป็นทย่ี อมรบั และเกดิ และประสทิ ธิผล จดุ มุ่งหมายร่วมกันในสงั คมนน้ั ๆ ภาวะผนู้ าอาจมใี นบดิ ามารดา ครู ผู้นาชมุ ชน ผู้นาทางศาสนา ผ้นู าทางวชิ าการ ผนู้ าทางการเมอื ง เปน็ ต้น ภาวะผ้นู าอาจมีในบุคคลทด่ี ารงตาแหน่งหวั หนา้ หรือไมใ่ ช่กไ็ ด้ ประเวศ วะสี (2544)

การบริหารการศึกษาหมายถงึ กระบวนการปฏิบัติงานดา้ นการจดั การทาง การศกึ ษาให้สาเร็จอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยอาศัยหลักการและปจั จัยการบริหารเป็นสอ่ื ของความสาเรจ็ นั้น มงุ่ บรหิ ารคนและบรหิ ารงาน ภาวะผู้นาทางการบรหิ ารการศกึ ษาจึงหมายถึงคณุ ลักษณะของผทู้ ที่ าหน้าทเี่ ปน็ ผู้บรหิ ารการศกึ ษาใน การควบคมุ นาพาครูหรือบุคลากรทางการศึกษารวมทงั้ ผมู้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งกับการศกึ ษาเช่นผปู้ กครอง ชมุ ชน หน่วยงาน องคก์ ร มาร่วมมือกันในการจดั การศกึ ษาใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคม์ ปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

โครงสร้างของบทบาทและรปู แบบความสัมพนั ธข์ องบทบาทตา่ ง ๆ มกี ารระบุ หน้าที่ของภาวะผนู้ าในการทาให้ระบบการตัดสินใจตา่ ง ๆท่เี ก่ียวกับการปฏบิ ตั งิ าน เปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิผลตามโครงสรา้ งการบริหารจดั การขององค์การ จากขอ้ สรุปดงั กล่าวแสดงให้เหน็ ถงึ ความสาคญั ของภาวะผนู้ าทมี่ ีในองคก์ าร ที่มีท้ัง ในผู้นาและผู้ตามขององคก์ รนน้ั สามารถนาพาองคก์ รไปสคู่ วามสาเรจ็ ท้งั ในองคก์ ร ของตนเองและองคก์ รอ่ืน จนขยายส่อู งคก์ ารระดบั ประเทศ ซ่งึ ตอ้ งอาศยั การมภี าวะ ผู้นาทง้ั สน้ิ

ประเดน็ นาเสนอ 8 ประเดน็ โมเดลภำวะผ้นู ำทำงกำรศึกษำศตวรรษท่ี 21 The Educational Leadership Model -ELM School context ควำมสมั พนั ธ์ (relationship) PEDAGOGY พืน้ ที่กำรปฎิบตั ิ LEADING (areas of practice) RELATIONSHIPCHANGE กจิ กรรมภำวะผ้นู ำ (leadership activities) S คณุ ภำพของภำวะผ้นู ำทมี่ ีประสทิ ธิผล PROBLEM EDUCATIONAL qualities of effective leadership SOLVING LEADERSHIPS ภำวะผ้นู ำสถำนศึกษำในศตวรรษท่ี21 Syste ทกั ษะเพื่อควำมสำเร็จของผ้นู ำ ms Partnerships &network ทศั นคติ 10 ประกำร สำหรับผ้นู ำ s

ภาวะผ้นู าทางการศึกษา (Educational Leadership) บคุ คลที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถใช้ปัญญำชนี ้ ำและเป็นต้นแบบ ทด่ี ีในด้ำนกำรศกึ ษำให้แกผ่ ้ตู ำม บคุ คลทีม่ ีควำมรู้ควำมสำมำรถใช้ปัญญำในกำรชนี ้ ำเพ่ือเป็น ต้นแบบทด่ี ีแกผ่ ้อู นื่ หรือสงั คม สภำพหรือลกั ษณะท่ีแสดงออกของผ้นู ำ ซง่ึ เป็นผลรวมของ บคุ ลิกภำพ เชน่ ลกั ษณะทำงกำย ทำอำรมณ์ และมนษุ ย์ สมั พนั ธ์ตอ่ บคุ คลอื่น เปนต้น

ความสาคญั ของภาวะผนู้ าทางการบริหารการศกึ ษา ภาวะผนู้ าเป็นกระบวนการท่ผี ู้นาช่วยสร้างความชดั เจนแกผ่ ู้ใต้บังคับบัญชาให้รับรูว้ า่ อะไรคอื ความสาคัญใหภ้ าพ ความเปน็ จริงขององค์กรแกผ่ ้อู น่ื ชว่ ยให้มองเห็นทศิ ทางและจุดมุ่งหมายอยา่ งชดั เจนภายใตภ้ าวะความเปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็วของโลก (สุเทพ พงศศ์ รีวัฒน์ 2545) และมีผูส้ รุปรวบรวมความหมายและความสาคญั ของภาวะผนู้ า ไวด้ ังน้ี 1) ภาวะผ้นู าของผู้นาเปน็ จุดศนู ย์รวมของการทางานกลุม่ ในการแสวงหาความร่วมมอื ของบุคคลในกลมุ่ เพ่ือ นาพากลมุ่ ไปสเู่ ปา้ หมายของความสาเร็จ 2) ภาวะผูน้ าของผนู้ าเปน็ บคุ ลกิ ภาพและผลของบุคลกิ ภาพทส่ี ง่ ผลต่อผ้ตู ามในการทางานร่วมกนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความพึงพอใจหรอื ไม่พงึ พอใจต่อบคุ ลิกภาพของผูน้ า ซ่งึ เป็นผลจากความมภี าวะผ้นู านั่นเอง 3) ภาวะผูน้ าในฐานะทเี่ ป็นการกระทาหรอื พฤตกิ รรม เพราะการกระทาของผูน้ าทีเ่ ปน็ ผลจากการมีภาวะ ผู้นาสง่ ผลตอ่ ปฏกิ ริ ยิ าของผูต้ าม วา่ ผู้นาทาอะไร ถ้าผู้นาทาใหด้ ู ผตู้ ามกจ็ ะทาตามด้วย 4) ภาวะผู้นาเปน็ แรงขบั เคล่อื นสาคญั ทช่ี ่วยในการจูงใจและการประสานงานขององคก์ ารเพ่ือให้บรรลุตาม เปา้ หมายท่กี าหนด

5) ภาวะผู้นาเป็นผลหรือส่งิ ท่ีงอกเงยตามมา ท่ีเกิดจากการปฏิสมั พนั ธ์ของบคุ คลตา่ ง ๆ ในกลมุ่ เปน็ หลัก 6) ภาวะผนู้ าเปน็ บทบาททเ่ี กิดขึ้นจาการบรู ณาการบทบาทของบุคคลอนื่ เพอื่ สร้างความเจรญิ กา้ วหน้าแกร่ ะบบสงั คม เพราะผนู้ าแต่ละองค์กร หรอื หนว่ ยงาน ตา่ งก็มหี นา้ ที่ มบี ทบาทท่ีแตกตา่ งกัน แตท่ ุกหนา้ ที่ตา่ งกช็ ว่ ยกนั พัฒนา ความเจริญให้กับสังคม ซ่ึงต้องอาศัยการมีภาวะผนู้ าทั้งน้นั 7) ภาวะผ้นู าในฐานะท่ีมุ่งดา้ นโครงสร้าง เป็นกระบวนการในการริเร่มิ และดารงรกั ษา

3 ลักษณะความเปน็ ผ้นู า ผ้นู ากับ ผู้บริหาร คุณลกั ษณะ พฤตกิ รรม สถาณการณ์ ผู้กับผู้ แนวคดิ ตาม เก่ยี วกับ เป็นผ้มู ีควำมรู้ ควำมสำมำรถ มีทกั ษะกำรพดู มีบคุ ลกิ ลกั ษณะทดี่ ี ผู้นา บทบาท พฤติกรรม มีลกั ษณะเดน่ ชดั ทำงพฤตกิ รรม เชน่ พดู ดี มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ดี ภาวะผู้นา สถำณกำรณ์ ทำให้เกิดภำวะผ้นู ำได้ จะสง่ ผลกอ่ ให้เกิดกำรเปลย่ี นแปลง ทาง การศกึ ษา

องคป์ ระกอบของภาวะผนู้ าทางการบรหิ ารการศึกษา การบรหิ ารจัดการศกึ ษาใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคเ์ กดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลตรงตามมาตรฐานการศึกษาไดน้ ้ัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ดงั น้ี ผู้นา หมายถงึ ผ้ซู ง่ึ มอี านาจบางอย่างเหนือผู้อยูใ่ ตบ้ ังคับบญั ชา คนทเี่ ป็นผูน้ ามีชือ่ เรยี กต่างๆ เชน่ กษตั รยิ ์ ประธานาธิบดี นายกรฐั มนตรี ประธาน ผู้บงั คบั บญั ชา เจ้านาย เป็นตน้ ผู้นาบางคนมีบทบาททีจ่ ะบริหารองค์กร แตบ่ างคนอาจเปน็ เพียงสญั ลกั ษณ์ขององค์กรเทา่ นนั้ สาหรับผ้นู าทางการบรหิ ารการศึกษาอาจหมายถงึ ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ที่ ผ้อู านวยการ รองผ้อู านวยการ โรงเรยี น วิทยาลยั สถาบนั อธิการบดี หัวหน้ากลุม่ สาระ หวั หน้างาน เป็นต้น ซง่ึ บคุ คลทีเ่ ปน็ ผู้นาดงั ทก่ี ล่าวมา นอกจากจะไดม้ อี านาจตามกฎหมายแลว้ ยงั ต้องอาศยั อานาจบารมี อานาจเช่ยี วชาญ อานาจอา้ งองิ จงึ จะสามารถ บริหารจดั การในหน้าทีข่ องตนเอง ตามบทบาทเฉพาะทกี่ าหนดไวใ้ นแต่ละหน้าท่ีโดยใช้ความสามารถทง้ั ศาสตรแ์ ละ ศลิ ป์ ทีจ่ ะจงู ใจคนในหน่วยงานให้กระทาตามที่ตนต้องการ เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อองค์กรซ่ึงต้องอาศัยการมภี าวะผูน้ า ในทกุ ๆสว่ น

3 ลักษณะความเปน็ ผ้นู า ผ้นู ากับ ผู้บริหาร คุณลกั ษณะ พฤตกิ รรม สถาณการณ์ ผู้กับผู้ แนวคดิ ตาม เก่ยี วกับ เป็นผ้มู ีควำมรู้ ควำมสำมำรถ มีทกั ษะกำรพดู มีบคุ ลกิ ลกั ษณะทดี่ ี ผู้นา บทบาท พฤติกรรม มีลกั ษณะเดน่ ชดั ทำงพฤตกิ รรม เชน่ พดู ดี มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ดี ภาวะผู้นา สถำณกำรณ์ ทำให้เกิดภำวะผ้นู ำได้ จะสง่ ผลกอ่ ให้เกิดกำรเปลย่ี นแปลง ทาง การศกึ ษา

ผตู้ าม หมายถึง ผ้ทู อี่ ยใู่ นหน่วยงานทีม่ บี ทบาทเป็นลกู น้อง หรอื ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชา มีหน้าท่ี กระทาตามคาส่งั หรือการมอบหมายงานจากผูน้ า ซ่ึงผตู้ ามมีอยู่ 4ประเภทคอื R1 ไมม่ ีความสามารถและไม่มคี วามเต็มใจหรือไมม่ นั่ ใจ R2 ไม่มคี วามสามารถแต่มีความเตม็ ใจหรอื มคี วามมน่ั ใจ R3 มีความสามารถแตไ่ ม่มีความม่ันใจหรือไมม่ นั่ ใจ R4 มีความสามารถและมีความเตม็ ใจหรอื มคี วามม่ันใจ

ตามทฤษฎีภาวะผนู้ าเชิงสถานการณ์ของ Paul Hersey and Ken Blanchard มหี ลักการวา่ ผูบ้ รหิ ารจะใชร้ ปู แบบการบริหารงานอย่างไรขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ ระดบั ความพร้อม (Readiness) ของ ผูใ้ ตบ้ งั คับบัญชา ซ่งึ หมายถงึ ความสามารถ (Ability) ทักษะความรแู้ ละประสบการณแ์ ละความเต็มใจ (Willingness) ผู้นาจึงตอ้ งสามารถวิเคราะห์ผ้ตู าม วเิ คราะหง์ าน แลว้ จดั วางตัวบคุ คลใหเ้ หมาะสมกบั งาน และจดั งานใหเ้ หมาะสมกบั คน (Put the light man in the light job) สาหรับผู้ตามในวงการศึกษาก็ คอื ครู บุคลาการทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชมุ ชน นกั เรียน และผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสีย ท่ีผตู้ ามจาเป็นต้อง อาศัยผนู้ าท่จี ะกาหนดบทบาท อานาจ หน้าที่ ภารกิจ พร้อมท้ังการมอบหมาย การติดตาม การแนะนา การ ควบคมุ ใหภ้ ารงานนัน้ ๆสาเรจ็ ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ ซึง่ ผตู้ ามกต็ อ้ งมภี าวะผนู้ าในการบรหิ ารจัดการตามที่ ได้รบั คาสัง่ หรือมอบหมายงานจากผู้บงั คบั บญั ชา

3 ลักษณะความเปน็ ผ้นู า ผ้นู ากับ ผู้บริหาร คุณลกั ษณะ พฤตกิ รรม สถาณการณ์ ผู้กับผู้ แนวคดิ ตาม เก่ยี วกับ เป็นผ้มู ีควำมรู้ ควำมสำมำรถ มีทกั ษะกำรพดู มีบคุ ลกิ ลกั ษณะทดี่ ี ผู้นา บทบาท พฤติกรรม มีลกั ษณะเดน่ ชดั ทำงพฤตกิ รรม เชน่ พดู ดี มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ดี ภาวะผู้นา สถำณกำรณ์ ทำให้เกิดภำวะผ้นู ำได้ จะสง่ ผลกอ่ ให้เกิดกำรเปลย่ี นแปลง ทาง การศกึ ษา

สถานการณ์ หมายถึง เหตุการณ์ เวลา ชว่ งเวลา กาหนดการ สถานที่ โอกาส สภาวะของการทางานนั้น ๆ เช่น ก่อนเปิดภาคเรียนจะมกี าร ประชุมครู อบรม และชี้แจงการปฏิบัติงาน กอ่ นจดั โครงการใด ๆ กจ็ ะมี คาสั่งในคาสัง่ จะกาหนดบทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการอยา่ งชัดเจน และ ทาความเข้าใจก่อนปฏบิ ัติงานจรงิ ดงั นนั้ ผ้บู ริหารจะบรหิ ารงานใด ๆ ตอ้ งคานงึ ถึงเหตกุ ารณ์ สถานการณ์ ใหเ้ กิดความเหมาะสมกับสถานการณ์ นน้ั ๆ จากองค์ประกอบดงั กล่าวมาการบริหารจดั การทางการศกึ ษาลว้ นต้องอาศัย ภาวะผู้นาทงั้ ผนู้ าและผตู้ ามทส่ี อดคล้องกบั สถานการณ์นน้ั ได้อย่าง เหมาะสม กลมกลืน เกิดความพึงพอใจตอ่ ผูน้ าและผู้ตามและบรรลุ เปา้ หมายความสาเร็จของงาน

School context ภาวะผูน้ าทางการศกึ ษา 21 PEDAGOGY คุณภาพ ทักษะ LEADING Quality skills RELATIONSHIPS CHANGE PROBLEM EDUCATIONAL SOLVING LEADERSHIPS System ความรู้ s knowledge Partnerships &network s

ผู้นาในศตวรรษท่ี 21 : ไทยแลนด์ 4.0 สิ่งทท่ี า้ ทายความสามารถ คือ ความสามารถนาพาองค์กรของตนใหอ้ ยูใ่ น ฐานะผู้นาการเปลยี่ นแปลงได้หรือไม่ ผนู้ าการเปล่ียนแปลงจะมองเห็นการเปลยี่ นแปลงว่าเป็นโอกาส การทราบ วธิ ีการคน้ หาการเปลยี่ นแปลงทีถ่ กู ตอ้ ง และทราบวธิ ีทจ่ี ะสร้างการเปลยี่ นแปลงอย่างมีประสิทธผิ ลทง้ั จากภายนอก และภายในองคก์ ร ได้แก่ ดา้ นนโยบายการสร้างอนาคต ดา้ นวธิ ีการอยา่ งเป็นระบบในการมองหาและคาดการณถ์ ึง การเปล่ยี นแปลง ดา้ นวธิ ที ี่ถกู ต้องในการสรา้ งความคุ้นเคยกบั การเปลยี่ นแปลงทง้ั ภายในและภายนอกองค์กร ด้าน นโยบายในการสรา้ งสมดุลระหวา่ งการเปลยี่ นแปลงกบั ความตอ่ เนือ่ ง เพราะนโยบายการสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่อย่างเป็น ระบบ สามารถสรา้ งจติ สานกึ ใหอ้ งคก์ รในฐานะทีเ่ ป็นผู้นาการเปลยี่ นแปลง อกี ทง้ั ยงั ทาใหอ้ งคก์ รมองเหน็ ว่าการ เปลี่ยนแปลงน้ันคอื โอกาสทเ่ี กดิ ขึน้ มาใหม่ภายใตบ้ ทบาทสาคญั https://www.kroobannok.com/83312

ความสัมพนั ธ์ (RELATIONSHIP) = ความสมั พนั ธ์เชงิ พหุ Multiple relationships ทงั้ ในแนวนอน ทงั้ ภายใน ทงั้ ทงั้ ในแนวตงั้ โรงเรียน ภายนอก โรงเรียน ชุมชน Community นักเรียน บุคลากร ผู้นาคนอ่ืน Student Personal Otนhักeเรrียน lesatduedresnts ครู Teacher ผู้ปกครอง Student Parents

๑. การทาความรจู้ กั กบั การเปลย่ี นแปลง (To Make the Change) การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขึ้นมาจากการแข่งขันทไ่ี ร้ พรมแดน โลกกาลงั อย่ใู นยุคของเทคโนโลยีและข่าวสาร ความรเู้ ป็นส่งิ สาคญั ทที่ าให้เกดิ ความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขัน ดงั นน้ั เมอ่ื ผู้นาเข้าใจถงึ การเปลย่ี นแปลงแลว้ กจ็ ะสามารถจัดการกบั การเปล่ียนแปลงได้ โดยการเปลย่ี นแปลงจะเกดิ ข้นึ อยู่ ตลอดเวลา มผี ลกระทบหรอื มีปฏิสัมพนั ธ์กบั องคก์ ร ๒. ผู้นาต้องสร้างการเปล่ยี นแปลง (Leadership to Change Intervention) ของแผนปฏบิ ัตกิ ารในการปรบั แตง่ สิ่งต่าง ๆ ให้ แตกตา่ งจากเดิม โดยอาจจะกระทาอยา่ งรวดเร็วหรือกระทาอยา่ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป การบรหิ ารความเปล่ียนแปลงน้ัน จะตอ้ ง เข้าใจถึงการเปลยี่ นแปลงก่อนแล้วจึงกาหนดเป้าหมายและเลือกวิธที ่จี ะนามาใช้ในการจัดการกบั ความเปลยี่ นแปลงซง่ึ ต้อง อาศัยการวางแผนการเปลี่ยนแปลงเชงิ กลยทุ ธแ์ ล้วจงึ นาไปปฏบิ ตั ิตามแผนทต่ี ้องอาศัยความเขา้ ใจและความร่วมมอื จากทกุ คน ในองคก์ ร มีการเสริมแรงใหก้ ับความเปลยี่ นแปลงโดยการชแ้ี จงใหบ้ คุ ลากรในองคก์ รทราบถงึ ความเปลี่ยนแปลงหรือการ ปรับปรุงทีไ่ ดเ้ กิดขึ้นแลว้ และแสดงความขอบคุณตอ่ บคุ คลท่ีเกย่ี วขอ้ งและมีส่วนชว่ ยใหเ้ กดิ ความเปล่ยี นแปลงแลว้ จึงทาการ ประเมินผลตอ่ ไป ๓. การเปน็ ตัวแทนความเปลี่ยนแปลง (Change Agent) การเป็นผนู้ าการเปลี่ยนแปลง หรอื มหี น้าทใ่ี นการจดั กระบวนการ เปลยี่ นแปลงภายในองคก์ รเพ่อื พฒั นา เน้นผลการปฏิบัตงิ านโดยส่วนรวมมากกว่าการเน้นไปทผี่ ลงานของแตล่ ะคนในองค์กร ให้บุคลากรในองคก์ รรบั รู้ถงึ ผลการดาเนนิ งานขององคก์ ร เพือ่ ใหท้ ราบถึงสถานการณแ์ ละวกิ ฤตการณ์ต่างๆที่องค์กรเผชิญอยู่ เชน่ จุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาสและอปุ สรรค https://www.kroobannok.com/83312

๔. การเป็นนกั คดิ นกั พฒั นาทท่ี นั ตอ่ การเปล่ยี นแปลงของโลก (The Thinkers Developers keep Pace with the Changing World) มีวสิ ยั ทัศนใ์ นการบรหิ ารงานที่พร้อมรบั การ เปลี่ยนแปลง และไม่ยดึ ติดตอ่ ส่งิ ใด ๕. การบรหิ ารงานแบบประชาธิปไตย (Democratic Administrational) รบั ความคิดเหน็ ของผู้อน่ื ร่วมคดิ รว่ มทา ร่วมแกป้ ญั หากับบคุ ลากรในองคก์ ร ๖. การเป็นผปู้ ระสานงานในองค์กรใหเ้ กิดการทางานที่ราบรื่น (Organization is Coordinating a Smooth Operation) มุ่งใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในการทางาน และ ประสานงานนอกองค์กรใหเ้ กิดภาคเี ครือข่ายรว่ มคดิ ร่วมจัดการศกึ ษา ๗. การประนปี ระนอม (Compromise) ผนู้ าต้องพยายามไม่ให้ผใู้ ตบ้ ังคับบัญชาเกดิ ความ ขัดแยง้ ในองคก์ ร เป็นผูป้ ระนปี ระนอมเม่ือเกดิ ปัญหา https://www.kroobannok.com/83312

๘. การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) ผู้นาตอ้ งสนับสนนุ ใหท้ กุ คนทา รายงานผลการดาเนินงาน และนารายงานมาประชาสัมพนั ธ์ให้ผเู้ กี่ยวข้อง และสาธารณชนทราบ ๙. การประชาสงเคราะห์ (Public Welfare) ผนู้ าจะตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลือ ผ้รู ว่ มงานทกุ เร่อื ง เปน็ หว่ งเป็นใยตลอดเวลา จะประสานงานกบั หนว่ ยงานอื่น เพ่ือให้ความช่วยเหลอื ผรู้ ่วมงาน การพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ งใหท้ กุ คนมี ความก้าวหน้า การให้อภยั การตกั เตอื น การเปน็ กัลยาณมิตร https://www.kroobannok.com/83312

พ้นื ทกี่ ารปฏิบตั ิ areas of practice วัฒนธรรม culture • ประกอบด้วย เครือข่าย พนื้ ท่กี าร ศาสตร์ การ 1. วัฒนธรรม culture network ปฏบิ ตั ิ สอน 2. ศาสตร์การสอน pedagogy 3. ระบบ system areas of pedagogy 4. ความเป็ นห้นุ ส่วน partnership practice 5. เครือข่าย network ความเป็ น ระบบ ห้นุ ส่วน system partnersh ip

ผนู้ าทางการศึกษาจะตอ้ งสร้าง วัฒนธรรม culture 1) แสดงความใสใ่ จและสร้างแรงบันดาลใจ เครือข่าย พืน้ ทกี่ ำร ศาสตร์ ใหแ้ ก่ผคู้ นที่ตนนา network ปฏิบตั ิ การสอน 2) ส่งเสริมสนบั สนุนสภาพแวดล้อมการเรยี น areas of pedag การสอนด้วยทรัพยากรที่เหมาะสม practice ogy 3) มกี ารประเมนิ ผลงานที่เปดิ เผยและโปรง่ ใส ควำมเป็น ระบบ 4) มกี ารสงั เกตชัน้ เรยี น ห้นุ สว่ น system 5) ทมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาอาชีพ 6) กระตน้ ใหม้ กี ารผลติ นวตั กรรมเพื่อ partners hip พฒั นาการเรยี นรู้ของนักเรยี น

ทกั ษะของภาวะผู้นาศตวรรษท่ี ๒๑ : ไทยแลนด์ ๔.o ทีจ่ ะประสบความสาเรจ็ และเกิดประโยชนส์ ูงสุดตอ่ องคก์ ร ได้แก่ การสรา้ งทมี งานทม่ี ีประสทิ ธิผลสูง (Highly Effective Team Building) การแกป้ ญั หา (Problem Solving) การวางแผน (Planning Project) การกากับการ ปฏิบตั ิงาน (Performance Monitoring) และการ สอื่ สารทด่ี ี (Communication and Climate set) การสรา้ งสมั พนั ธ์ (Relationship Building up) และการ สอนงาน (Coaching) การสร้างสังคม (Social) และการติดสนิ ใจ (Decision Making) การกระตุน้ จูงใจ (Motivational) การคิดเชิงสะทอ้ น (Reflective Thinking) และการจดั การตนเอง (Self - Management) การ ใช้เทคโนโลยี (Technological) การเรยี นการสอน (Pedagogical) รวมทง้ั ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) ตลอดจน การบริหารท่ียืดหยุ่นและปรับเปล่ยี นไปตามสถานการณ์ (Administration and Flexibly Adapted to the Situation) มีแนวทาง ดังน้ี https://www.kroobannok.com/83312

๑. การวางแผน (Planning) การวางแผนท่ดี ดี ้วยแผนกลยุทธ์ นโยบาย แผนงานท่ชี ัดเจนเขา้ ใจงา่ ย โดยการ วางแผนน้นั ตอ้ งมีแนวปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ แนวทางในการวางแผนกลยุทธ์ได้เป็นอยา่ งดีและสามารถปรบั ปรุงยืดหย่นุ ให้ สอดรับกับนโยบายใหเ้ ปน็ วิสยั ทศั น์ พนั ธะกิจ เปา้ ประสงค์ ๒. การจัดองคก์ ร (Organizing) เป็นสิง่ สาคญั ไมน่ อ้ ย ไปกวา่ ส่งิ ใดจะตอ้ งมกี ารจัดโครงสรา้ งอยา่ งชัดเจนทง้ั สายงานจดั บุคคลากรตามสายบงั คบั บัญชา การแบ่งหน้าท่ี ของฝา่ ยงานอย่างเปน็ ระบบงาน และมที มี งานในการดาเนินงานตามแผนกลยุทธท์ วี่ างไว้ ๓. การบังคับบัญชา (Commanding) มกี ารตดั สินใจสั่งการทีเ่ ปน็ กัลยาณมติ ร การสั่งการเป็นลายลักษณ์อักษร เพอ่ื ใช้เป็นหลักฐานใน การบังคับบัญชาดูแลตรวจสอบและติดตาม ๔. การประสานงาน (Coordinating) ท้ังภายในองค์กรและระหวา่ ง องคก์ ร ดงั นนั้ ต้องใช้ทั้งศาสตรแ์ ละศลิ ป์เพ่อื ประสานงานตา่ งๆ และใหท้ กุ ภาคสว่ นได้เขา้ มสี ว่ นรว่ มในการบริหาร จดั การ ๕. การควบคุม (Controlling) จาเป็นตอ้ งมกี ารควบคมุ ดแู ลทรัพยากรที่มอี ยอู่ ย่างคุ้มคา่ เพอื่ ให้การ จัดการมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ลโดยผา่ นองค์ประกอบพฤตกิ รรม ๕ ประการ คอื https://www.kroobannok.com/83312

๑.การมอี ทิ ธิพลอย่างมอี ุดมการณ์ (Idealized Influence) เป็นระดับพฤตกิ รรมการทางานท่ีผู้นาแสดงให้เหน็ และเป็นกระบวนการทาให้ ผ้รู ่วมงานยอมรับ เช่อื ม่นั ศรทั ธา ภาคภูมิใจ ไวว้ างใจในความสามารถ มีความเสียสละเพื่อประโยชนข์ ององคก์ ร มีเปา้ หมายชดั เจนและมัน่ ใจท่ี จะเอาชนะอปุ สรรค์ การมวี ิสัยทศั น์และการถา่ ยทอดไปยังผรู้ ่วมงาน มีความสามารถ มงุ่ ม่นั ตระหนกั และทุ่มเท มคี วามสามารถในการจดั การ หรอื ควบคมุ ตนเอง เหน็ คุณค่า มคี ุณธรรมและจริยธรรม ๒. การสร้างแรงบนั ดาลใจ (Inspiration Motivation) เปน็ ระดับพฤตกิ รรมท่ผี นู้ าแสดงให้เห็นในการทางาน ท่เี ป็นกระบวนการทาให้ ผู้รว่ มงาน มีแรงจงู ใจภายใน ไม่เห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนตน การตัง้ มาตรฐานในการทางานสูง มีการคิดเชิงบวกและเชอื่ ม่นั วา่ จะสามารถบรรลุ เปา้ หมาย https://www.kroobannok.com/83312

๓. การกระต้นุ ทางปัญญา (Intellectual Stimulation) เป็นระดับพฤติกรรมท่ผี นู้ าแสดงใหเ้ หน็ ในการทางานท่ีเป็นกระบวนการกระตุ้น ผรู้ ่วมงานใหเ้ หน็ วิธกี าร หรอื แนวทางใหมใ่ นการแกป้ ัญหา การมองปญั หาเชิงระบบในแง่มมุ ตา่ งๆ การวิเคราะหป์ ัญหาโดยใช้เหตุผลและข้อมลู หลกั ฐาน มีความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ ๔. การคานงึ ถงึ ความเปน็ ปัจเจกบคุ คล (Individualized Consideration) เปน็ ระดับพฤติกรรมทผี่ ูน้ าแสดงใหเ้ ห็นถึงการคานงึ ถึงความ แตกต่างระหว่างบคุ คล มกี ารเอาใจเขามาใสใ่ จเรา มกี ารติดต่อแบบสองทางและเปน็ รายบุคคล มกี ารวิเคราะห์ความตอ้ งการและให้คาแนะนา รวมทั้งการสง่ เสริมใหผ้ ้รู ่วมงานได้พฒั นาตนเองและยดึ หลกั การบริหารงานแบบกระจายอานาจ มีเทคนคิ การ มอบหมายงาน ทีด่ ี ๕. การสร้างทีมงาน (Teams) การมีความสามารถหรือพลงั งานพเิ ศษของบุคคล การรวมกันของกลมุ่ คนขน้ึ มาอย่างเหมาะสมและทางาน ร่วมกันได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ(พรชยั เจดามาน. 2560) https://www.kroobannok.com/83312

วฒั นธรรมCulture ทำให้มนั่ ใจได้ว่ำปฏิบตั ทิ ำงกำรศกึ ษำมีควำมครอบคลมุ มบี ทบาท สองหน้าท่ี ทาให้มั่นใจได้วา่ ภาษา อัตลักษณ์ รวมท้งั วฒั นธรรมของ นกั เรียนและครอบครวั ไดร้ ับการยอมรับและมคี ณุ คา่  สนับสนนุ ให้มกี ารสรา้ งวฒั นธรรมในทางบวก  สร้างวฒั นธรรมในโรงเรยี นโดยรวมที่เอือ้ ตอ่ การ ทาให้มัน่ ใจไดว้ ่ามกี ารจัดสภาพแวดล้อมท่ดี ีและปลอดภัย สนับสนนุ ต่อการ สอนของครู การเรยี นรู้ของนักเรยี น เรยี นการสอนสาหรับทุกคน สนบั สนนุ การปฏิบตั ิที่จะทาใหน้ กั เรียนประสบผลสาเรจ็ ในการเรยี นรู้ ศาสตร์ การสอน สร้างตัวแบบการปฏิบัติทีท่ มี งานคาดหวดั และมีคุณคา่ pedagogy นาและริเร่ิมโอกาสฉลองความสาเรจ็ และความกา้ วหนา้ ของนกั เรียนและบคุ ลากร เป็นควำมรู้และกำรปฏิบตั ิเพื่อ สง่ เสริมตอ่ กำรเรียนรู้ของนกั เรียน ทาใหม้ ั่นใจได้วา่ มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกับการพฒั นาและการปฏบิ ตั ิใน เปา้ หมายร่วมและวสิ ัยทัศน์รว่ ม

สร้างตน้ แบบการปฏิบตั ิที่มี ประสทิ ธผิ ลสาหรับนักเรียนทุกคน the method and หลกั สูตร ผกู พันและแสดงบทบาทการนาใน practice of การพัฒนาวชิ าชีพใหก้ า้ วทันกับ teaching, especially ทฤษฎีการสอนและการเรียนรู้ as an academic subject or แสดงบทบาทการนาในการวางแผน theoretical concept. การพฒั นา และการประเมิน หลักสูตร หรือศาสตรก์ ารสอน วธิ ีการและการสอน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน เชิงวิชาการหรือแนวคิด เชิงทฤษฎี เปน็ ความรู้ และการปฏิบตั ิเพื่อ ส่งเสริมต่อการเรียนรู้ ของนกั เรียน ซึง่ กระทา ได้โดย

ระบบ system • ระบบ system การ การตดิ ตาม การใส่ใจ ปฏบิ ตั ิงาน ผลการเรียน • เป็นการสร้างสรรค์ระบบและ ของโรงเรียน ของนักเรียน เงื่อนไขการทางานที่จะช่วยให้บุ คลกรและนักเรียนสามารถทางาน การวางแผนงาน การประเมนิ ผล ใส่ใจต่อ นักเรียน กันได้อย่างมีประสิทธิผลและมี การเรียนรู้ซึ่งผู้นาทางการศึกษา การจดั สรรทรัพยากร การรวบรวมข้อมูล ใส่ใจต่อบุคลากร จะเกยี่ วข้องกับการบริหารจัดการ งานประจาวัน การตัดสินใจและ การบรรจุแต่งตงั้ บุคลากร การวิเคราะห์ข้อมลู การออกแบบการปฏิบัติงานใน กรณตี า่ งๆ การงบประมาณ การดาเนินงาน โครงการต่าง ๆ

ความเปน็ หุ้นสว่ นและเครอื ขา่ ย ความ ระหว่าง partnership & networks เช่อื มโยง ระดบั ชนั้ เรียน ระหว่างวชิ า เพ่อื สนบั สนนุ การเรยี นรู้ ทง้ั ภายในและภายนอก สร้ าง ในกรณกี รณเี ครือข่ายภายใน สร้ าง ความสมั พันธ์ต่อ ในกรณีเครือขา่ ยภายนอกเปน็ การเรียนร้อู ยา่ ง ความสมั พันธ์ต่อ การเรียนรู้ของ การสอนของครู ตอ่ เนอ่ื งongoing learning นักเรียน

การเข้าร่วมสัมมนา การร่วมเป็ นกรรมการ และร่ วมในสมาคม สร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรียนเพ่ือแลกเปล่ยี น ความคดิ เหน็ และแนวการปฏบิ ตั งิ าน ทางานร่วมกบั ผู้ปกครองและครอบครัว กลุ่ม บคุ คล และผู้อุปถมั ภ์ เพ่ือกาหนดความคาดหวงั เก่ียวกับนักเรียนร่วมกัน กระตุ้นให้ครูทาด้วย พัฒนาเครือข่ายชุมชนให้กว้างขนึ้ ด้วยส่อื ท้องถ่นิ local media เพ่ือนาเสนองานของนักเรียน

กจิ กรรมภาวะผนู้ า 6.ตระหนักต่อ ถึงศกั ยภาพของ 1.นาการเปล่ียนแปลง 2การแกป้ ญั หา โรงเรียนต่อการ หรอื เป็น เปล่ยี นแปลง เป็นการ เพ่อื การ ทัง้ ใน สว่ นหนึ่ง สง่ เสริม ต่อการ มขี นั้ ตอนท่ี บรหิ าร เปลี่ยนแปลง ฐานะผู้ เปลีย่ นแ ซับซ้อน รเิ ร่มิ ของทีม การมี ปลงใดๆ เปลี่ยนแ สว่ นรว่ ม ซ่งึ การ เปล่ยี นแปลง การเจรจาต่อรอง การสนับสนุน ปลง เพ่อื การ ความต้องการ จาเป็ น ปฏิบตั ิ ผู้นาทางการศึกษาจงึ ต้องการ7ด้าน 7.ยุทธศาสตร์ เพ่ ือ เอาชนะส่งิ ต่อต้าน 1.ท่เี ก่ียวกบั นาวสิ ยั ทศั น์และ 5.ความ ยุทธศาสตร์ สู่การปฏบิ ตั ิ การเปล่ียนแปลง ไว้วางใจกนั 1. 2.ท่เี ก่ยี วกบั วธิ ีการสอน การ 3.ความเข้าใจ 3.และการ สารสนเทศ กระบวนการ ตอบสนองของ เรียนรู้ และการประเมนิ ผล บุคลากรต่อการ 4.เข้าใจถงึ ความเช่อื และการปฏบิ ตั ิ เปล่ยี นแปลง ของครูเพ่อื ให้นาเอาวธิ ีใหม่ๆมาใช้

แกป้ ญั หา problem–solving คุณภาพของภาวะผู้นาท่มี ปี ระสิทธผิ ล evidence –based approach เป็ นคุณภาพท่สี นับสนุนต่อการพฒั นาการสอนและ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ในโรงเรียน อาจเปน็ ปญั หาในงานประจา ปญั หาวิกฤติ หรอื ปญั หาที่เปน็ ของโรงเรียนส่วนหนง่ึ ของ นาทางและ มคี ุณธรรม มีความ เป็ นผู้ การบรหิ ารยุทธศาสตร์ ซ่งึ ผู้นาทางการ สนับสนุน เช่ือม่นั ใน เรียนรู้ ศึกษาสนับสนุนต่อการแกป้ ัญหาโดยใช้ ตนเอง หลกั การทางานแบบมีส่วนรว่ ม และแบบมี เหตุการณ์เปน็ ฐาน มีการศกึ ษาในรายละเอียด การทดสอบ Leading with moral purpose Being a Learner สมมติฐาน การวเิ คาะห์ และการแกไ้ ข (manaakianga) (ako) ด้วยนวตั กรรมใหมๆ่ โดยคานึงถึงการ บรรลุผลในวสิ ัยทัศน์และยุทธศาสตร์ Guiding and supporting Having self –belief (awhinatanga) (pono)

อา้ งอิง จาก วิโรจน์ สารรัตนะ.(2556) กระบวนทศั น์ใหม่ ทางการศกึ ษา กรณีทัศนะตอ่ การศึกษาศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์, 2556 bit.ly/3652QKW bit.ly/3652QKW Educational Leadership Model (Ministry of Education, 2012)

School context โมเดลภาวะผู้นา PEDAGOGY LEADING ให้ความสัมพันธ์ relationships เป็น แกนกลาง มี RELATIONSHIPS CHANGE พ้ืนทปี่ ฏิบบตั ิ areas of practice PROBLEM EDUCATIONAL กจิ กรรมภาวะผู้นา leadership activities SOLVING LEADERSHIPS และคณุ ภาพของภาวะผนู้ าทม่ี ีประสิทธผิ ล qualities of effective leadership ประกอบ System s รายลอ้ ม Partnerships &network s

“Education is the most powerful weapon we can use to change the world.” ― Nelson Mandela bit.ly/2MAdQZ9



จบการนาเสนอ