Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CM2_การทำงานฮาร์ดแวร์

CM2_การทำงานฮาร์ดแวร์

Published by Suna Chowchang, 2017-06-12 12:18:27

Description: CM2_การทำงานฮาร์ดแวร์

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 หลักการทางานของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณต์ ่อพ่วงจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1.นกั เรยี นมีความรู้เกี่ยวกับอุปกรณค์ อมพิวเตอร์และอปุ กรณต์ อ่ พ่วง 2.นกั เรียนมเี ข้าใจกระบวนการทางานอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์และอุปกรณต์ ่อพว่ ง 3.นักเรียนสามารถบอกหน้าที่การทางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์ตอ่ พ่วงเนื้อหาสาระ 1.ความหมายของฮาร์ดแวร์ 2.หลกั การทางานของอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณต์ อ่ พ่วง 3.แบ่งฮาร์ดแวรต์ ามหน้าทีใ่ นการทางาน 4.อุปกรณร์ ับขอ้ มลู เข้า (Input Device) 5.อุปกรณป์ ระมวลผลข้อมูล (Processing Device) 6.อปุ กรณ์แสดงผลลพั ธ์ (Output Device) 7.อุปกรณห์ นว่ ยความจาหลัก (Main Memory Device) 8.อปุ กรณ์หนว่ ยความจาเสรมิ (Secondary Storage Device) 9.อปุ กรณ์ต่อพ่วงเพิ่มเตมิ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่มนุษย์ได้คิดประดิษฐ์ข้ึน เพื่อนามาเสริมความสามารถของมนุษย์ในด้านการับรู้ การจา การคานวณ การเปรียบเทียบตัดสินใจ และการแสดงออก ดังนั้นคอมพิวเตอร์จึงมีโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ให้สามารถทางานเป็นระบบสนองความต้องการของมนุษย์ การประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์จะระกอบด้วยอุปกรณ์รับเข้า (input device) เพื่อรับข้อมูลและคาสั่งจากผใู้ ชภ้ ายนอกเข้าไปเก็บอย่ใู นอปุ กรณ์เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจาหลัก (main memory) คาส่ังที่เก็บในส่วนความจาหลักจะถูกนาไปตีความ และสั่งทางานท่ีหน่วยประมวลผลกลาง ที่เรียกว่า ซีพียู ซึ่งเป็นหัวใจของการทางานในคอมพิวเตอร์ทาหน้าที่คานวณและเปรียบเทียบข้อมูลท่ีเก็บในหน่วยความจาหลักผลจากการคานวณหรือประมวลผลจะนากลับไปเก็บยังหน่วยความจาหลัก และพร้อมที่จะนาออกแสดงท่ีอุปกรณีส่งออก (output device) กลับไปสู่ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ต่อไป ดังน้ันระบบคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ย ซพี ียู หนว่ ยความจา อปุ กรณร์ บั เข้า และอปุ กรณส์ ่งออก

ความหมายของฮารด์ แวรค์ อมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆหลายประการ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์บุคลากร ข้อมูล กระบวนการ และการติดต่อสื่อสาร ซ่ึงองค์ประกอบต่างๆเหล่าน้ันจะต้องมีการประสานการทางานรว่ มกนั จึงจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการใช้งานได้ ภาพที่ 1 องค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์จัดเป็นองค์ประกอบหลักประการแรกที่นึกถึง โดยเมื่อกล่าวถึงคาว่าฮารด์ แวร์ จะหมายถึง อุปกรณ์ หรือ เครื่องมือท่ีใช้ประกอบหรือสร้างสิ่งต่างๆได้ เช่น ค้อน กรรไกร ไขควงเป็นตน้ และสาหรับคาว่าฮาร์ดแวร์คอมพวิ เตอรน์ ั้นจะหมายถึง อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิคส์ที่ทาหน้าท่ีรบั คาส่งั และปฏบิ ัตติ ามคาสงั่ ทีผ่ ใู้ ช้งานตอ้ งการ เช่น การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ด การแสดงผลลัพธ์ออกทางหน้าจอ การประมวลผลการดาเนินงาน เป็นตน้หลกั การทางานของระบบคอมพวิ เตอร์ เม่ือข้อมูลถูกส่งผ่านเข้ามาทางหน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ก็จะถูกส่งต่อเพื่อนาไปจัดเก็บหรือพักข้อมูลไวช้ ั่วคราวทห่ี น่วยความจา (Memory Unit) ก่อน จากน้ันจึงค่ายๆ ทยอยจัดส่งข้อมูลต่างๆ ที่ถูกนามาจัดเก็บไว้ ไปให้หน่วยประมวลผล (Processing Unit) เพ่ือประมวลผลข้อมูลต่างๆ ท่ีถูกส่งเข้ามาก่อนที่จะส่งข้อมูลต่างๆ ท่ีผ่านการประมวลผลแล้วไปยังหน่วยสุดท้าย นั่นก็คือ หน่วยแสดงผล (OutputUnit) เพ่ือทาการแสดงผลออกทางอุปกรณต์ ่างๆ ต่อไปINPUT PROCESSING OUTPUTUNIT UNIT UNIT MEMORY UNIT

หนว่ ยรบั ขอ้ มลู (Input Unit) เป็นส่วนแรกท่ีติดต่อกับผู้ใช้ หน้าที่หลักคือ ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็น สัญญาณข้อมูลส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ท่ีหน่วยความจา ซึ่งอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่เป็นหน่วยรับ ข้อมูลมมี ากมายเช่น Mouse, Keyboard, Joystick, Touch Pad เปน็ ตน้ หนว่ ยประมวลผล (Processing Unit) ถือเป็นส่วนท่ีสาคัญท่ีสุดของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หน้าท่ี หลักของหน่วยนี้คือ นาเอาข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือพักไว้ในหน่วยความจา มาทาการคิดคานวณ ประมวลผลข้อมูลทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operation) และเปรียบเทียบข้อมูลทาง ตรรกศาสตร์ (Logical Operation) จนได้ผลลัพธ์ออกมาแล้วจึงค่อยส่งข้อมูลท่ีเป็นผลลัพธ์ เหล่าน้ันไปยังหน่วยแสดงผลต่อไป อุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีเป็นหน่วยประมวลผลในเครื่อง คอมพิวเตอร์ก็คอื ซพี ียู (Central Processing Unit) หนว่ ยความจา (Memory Unit) เป็นหน่วยที่สาคัญ ท่ีจะต้องทางานร่วมกันกับหน่วยประมวลผลอยู่โดยตลอด หน้าที่ หลกั คือ จดจาและบันทึกขอ้ มลู ต่างๆที่ถกู ส่งมาจากหนว่ ยรับข้อมูล จดั เก็บไว้ช่ัวคราว ก่อนที่จะส่ง ต่อไปให้หน่วยประมวลผล นากจากน้ียังทาหน้าท่ีเป็นเสมือนกระดาษทด สาหรับให้หน่วย ประมวลผลใชค้ ิดคานวณ ประมวลผลข้อมูลต่างๆ ดว้ ย หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ กันตามแต่ละอุปกรณ์ เช่น สญั ญาณภาพออกสหู่ นา้ จอ และงานพมิ พจ์ ากเครอ่ื งพิมพ์ เปน็ ต้นจาแนกตามหน้าที่ของฮาร์ดแวร์สามารถแบ่งเปน็ ส่วนสาคญั 5 ส่วน คอื 1. หนว่ ยรบั ข้อมลู (Input Unit) ทาหน้าที่รับโปรแกรมคาสั่ง และข้อมูลเข้าสู่เคร่ืองคอมพิวเตอร์ 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) ทาหน้าที่เก่ียวกับการคานวณทั้งทางตรรกะและคณติ ศาสตร์ รวมท้งั การประมวลข้อมูลตามคาสงั่ ท่ีไดร้ บั 3. หนว่ ยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคาส่ังที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล เพ่ือเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลาง และเก็บผลลัพธ์ที่ได้มาจากการประมวลผลแล้ว เพ่ือเตรยี มส่งไปยงั หนว่ ยแสดงผล 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหนา้ ทแ่ี สดงผลข้อมลู ท่ีคอมพิวเตอร์ทาการประมวลผล หรือผ่านการคานวณแล้ว 5. อุปกรณต์ อ่ พว่ งอ่นื ๆ (Peripheral Equipment) เ ป็ น อุ ป ก ร ณ์ ท่ี น า ม า ต่ อ พ่ ว ง เ ข้ า กั บคอมพิวเตอร์ เพ่อื ชว่ ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการทางานใหม้ ากย่ิงขนึ้ เชน่ โมเด็ม แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่ายเปน็ ต้น

อปุ กรณร์ บั เขา้ ข้อมูล (Input Device) อุปกรณ์รับข้อมูล หมายถึงอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการรับเข้าคาสั่งในการทางาน หรือข้อมูลต่างๆจากบุคคลผู้ใช้งาน หรือจากระบบอื่นๆ แล้วส่งต่อคาส่ัง หรือข้อมูลเหล่าน้ันไปยังอุปกรณ์อ่ืนเพื่อดาเนินการต่อไป ทั้งน้ีอุปกรณ์รับเข้าข้อมูลนั้นสามารถจาแนกออกตามลักษณะในการนาเข้า หรืออ่านขอ้ มลู ออกเปน็ ดังต่อไปนี้ 1. อุปกรณ์รับเข้าข้อมูลในลักษณะของตัวอักษร ตัวอักขระ อุปกรณ์ในกลุ่มน้ี ได้แก่ แป้นพิมพ์หรือ ตู้เอทเี อ็ม(ATM) เป็นตน้ 2. อุปกรณ์รับเข้าข้อมูลในลักษณะตัวช้ีข้อมูล อุปกรณ์ในกลุ่มน้ี ได้แก่ เมาท์(Mouse) แทรกเกอร์(Tracker) ทัชแพท(Touch Pad) เป็นต้น 3. อุปกรณ์รับข้อมูลในลักษณะของผิวสัมผัส อุปกรณ์ในกลุ่มนี้ ได้แก่ หน้าจอทัชสกรีน(TouchScreen) เป็นตน้ 4. อุปกรณ์รับข้อมูลในลักษณะของภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหว อุปกรณ์ในกลุ่มนี้ ได้แก่ กล้องดิจิตอล เครื่องสแกนเนอร์ เป็นต้น 5. อุปกรณ์รับข้อมูลในลักษณะของเสียง อุปกรณ์ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ไมโครโฟน เคร่ืองบันทึกเสียงเปน็ ตน้ 6. อุปกรณ์รับข้อมูลในลักษณะของแสง อุปกรณ์ในกลุ่มนี้ ได้แก่เครื่องอ่านบาร์โค้ด ซีดี-รอมไดร์ดีวีดี-รอมไดร์ เป็นต้น 7. อุปกรณร์ ับข้อมูลในลกั ษณะการอา่ นขอ้ มูลแถบแมเ่ หล็กอปุ กรณใ์ นกล่มุ น้ีไดแ้ ก่ฟลอปปีดสิ ก์ไดร์

ตวั อยา่ งของอปุ กรณน์ าเข้าข้อมูล ได้แก่1.1 แปน้ พมิ พ์ (Keyboard) แป้นพิมพ์ หรือ คีย์บอร์ด เป็นอุปกรณ์สาหรับนาเข้าข้อมูล ขั้นพื้นฐาน ทาหน้าที่เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบ คอมพิวเตอร์ โดยส่งคาส่ังหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่หน่วยประมวลผล ในระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักท่ีจะ ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จานวนมาก ซึ่งมีลักษณะเป็น แผน่ บางๆ ท่ถี ูกฉาบด้วยหมึกท่ีเป็นตัวนาไฟฟ้า เมื่อถูกกดจนติดกันก็ จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตัววงจร เมื่อผู้ใช้กดแป้นใดแป้นหนึ่ง ข้อมูล ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าจากแป้นกดแต่ละแป้นจะถูกเปรียบเทียบรหัส (Scan Code) กับรหัสมาตรฐานของแต่ละแป้นท่ีกด เพื่อเปลี่ยนให้เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือสญั ลกั ษณไ์ ปแสดงบนจอภาพ ในสว่ นของแป้นพมิ พ์ภาษาไทยกแ็ บ่งออกได้ 2 แบบ เช่นกัน คือ  แป้นพิมพป์ ัตตโชติ ซึ่งเป็นแป้นพมิ พร์ นุ่ เดมิ  แป้นพิมพ์เกษมณี ซึง่ เปน็ แปน้ พมิ พ์ที่นยิ มใชใ้ นปจั จุบนั1.2 เมาส์ (Mouse) คือ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลท่ีนิยมใช้กันโดยทั่วไปอีกชนิดหน่ึง ซ่ึงใช้งานง่ายและสะดวกกว่าแป้นพิมพ์มาก เนื่องจากไม่ต้องจดจา คาสั่งสาหรับป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เมาส์สามารถแบ่งออก ตามโครงสร้างและรปู แบบการใชง้ านได้ 3 แบบ คือ  เมาส์แบบลูกกล้ิง ชนิดตัวเมาส์เคล่ือนท่ี (Ball Mouse) อาศัย กาหนดจุด X และ Y โดยกลิ้งลูกยางทรงกลมไปบนพ้ืนเรียบ (นิยม ใช้แผน่ ยางรอง เพอ่ื ปอ้ งกนั การลืน่ ) เมาส์แบบลูกกล้ิง ชนิดตัวเมาส์อยู่กับท่ี (Track Ball) อาศัยลูกยางทรงกลมที่ถูกกลิ้งโดยน้ิวมือผู้ใช้ เพอ่ื กาหนดจดุ ตัด X และ Y เมาส์แบบแสง (Optical Mouse) มีลักษณะการใช้งานเช่นเดียวกับ Ball Mouse แต่อาศัยแสงแทน ลกู กล้ิงในการกาหนดจุดตัด X และ Y โดยแสงจากตัวเมาส์พุ่งลงสู่พื้นแล้วสะท้อนกลับขึ้นสู่ตัวรับแสง บนตวั เมาส์อกี ครั้ง (แผ่นรองเปน็ แบบสะทอ้ นแสง) การใช้เมาส์มักจะใช้แผ่นรองเมาส์ ซ่ึงเป็นฟองน้ารูปสี่เหลี่ยม เพ่ือป้องกันส่ิงสกปรกไม่ใช้เกาะติดลูกกล้ิง หากลูกกลิ้งสกปรกจะทาให้ฝืด เมาส์เคล่ือนที่ลาบาก การทาความสะอาด สามารถถอดลูกกล้ิงออกมาทาความสะอาดได้ และควรทาบ่อยๆ เพ่อื ไมใ่ หส้ กปรกมากเกินไป

1.3 อุปกรณโ์ อซีอาร์ (OCR) อุปกรณ์โอซีอาร์ (Optical Character Recognition: OCR) เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลเข้าสู่ระบบได้โดยตรง โดยใช้เทคนิค อ่านค่าของข้อมูลด้วยแสง โดยอุปกรณ์ชนิดนี้จะทาหน้าท่ีเป็น แหลง่ กาเนิดแสงและรับแสงสะท้อนท่ีส่องผ่านกลับมาจากวัตถุ แล้ว แปลงรหัสข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ประเภทของอุปกรณ์โอซีอาร์ แบ่งได้ตามลักษณะของข้อมูลที่จะ นาเขา้ ได้ดังนี้ โอเอม็ อาร์ (Optical Mark Readers :OMR) เปน็ เคร่อื งท่ีสามารถอ่านรอยเคร่ืองหมาย ท่ีเกิดจากดินสอในกระดาษที่มีรูปแบบเฉพาะ ซึ่งมักใช้ในการตรวจขอ้ สอบหรือการลงทะเบียน โดยเคร่ืองจะส่องไฟผ่านกระดาษท่ีอ่าน และจะสะท้อนแสงที่เกิดจากเครื่องหมายท่ีทาขึ้นโดยดินสอ เนื่องจากรอยดินสอเกิดขึ้นจากดินสอท่ีมีตะก่ัวอ่อน (ปริมาณถ่านกราไฟต์สงู ) จงึ เกิดการสะทอ้ นแสงได้ Wand Readers เป็นอุปกรณ์ที่ใช้มือควบคุม โดยจะนาอุปกรณ์น้ีส่องลาแสงไปยังตัวอักษรแบบพิเศษ เพ่ือทาการแปลงตัวอักษรนั้นให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าและส่งไปให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เคร่ืองมือ Wand Readersน้ีจะเช่ือมต่อกับอุปกรณ์ที่เรียกว่า POS (Point-of-sale Terminal) อีกที โดยตัวอย่างของเครื่อง POS นี้จะเห็นไดท้ ัว่ ไปในห้างสรรพสินคา้ ที่ใช้สาหรบั แสดงจานวนเงินทเ่ี คาน์เตอรค์ ิดเงิน Hand Written Character Device เป็นอุปกรณ์ที่สามารถอ่านข้อมูลที่เขียนด้วยลายมือได้ เพื่อลดขน้ั ตอนมนการพิมพ์ด้วยแป้นพมิ พเ์ ข้าสเู่ คร่อื งคอมพิวเตอร์ แต่ลายมือที่เขียนจะตอ้ งเป็นรปู แบบท่อี ่านได้ง่ายไม่กากวม Bar Code Reader มีลักษณะการใช้งานเหมือนกับเคร่ือง Wand Readers แต่ใช้กับการอ่านรหัสแท่ง (Bar Code) ท่ีมีลักษณะเป็นรหัสรูปแท่งเรียงกันเป็นแถวในแนวตั้ง เพือ่ แปลรหัสแท่งน้ีให้กลายเป็นข้อมูลทีค่ อมพวิ เตอรเ์ ข้าใจ

1.4 สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทที่ไม่สะดวกในการ ป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ทางคีย์บอร์ดได้ เช่น ภาพโลโก้ วิว ทิวทัศน์ ภาพถ่ายรูปคน สัตว์ ฯลฯ เราสามารถใช้สแกนเนอร์สแกน ภาพเพอื่ แปลงเป็นข้อมลู เข้าไปสู่เคร่อื งไดโ้ ดยตรง หนว่ ยประมวลผล จะนาข้อมูลท่ีได้รับมานั้นแสดงเป็นภาพให้ปรากฏอยู่บนจอภาพ เพ่ือนามาแก้ไขสี รูปร่าง ตัดแต่ง และนาภาพไปประกอบงานพิมพ์ อ่ืนๆ ได้ การทางานของสแกนเนอร์อาศัยหลักการสะท้อนแสง โดยเมื่อเราวางภาพลงไปในสแกนเนอร์ ซ่ึงข้ึนอยู่กับลักษณะวิธีการใช้งานของสแกนเนอร์แต่ละแบบว่าจะใส่ภาพเข้าไปอย่างไร สแกนเนอร์จะทาการฉายแสงไปกระทบกับวัตถุให้สะท้อนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถวข้อมูลในแถวน้ันๆ ก็จะถูกแปลงเป็นจุดเล็กๆ เป็นสัญญาณดิจิตอลเข้าไปเก็บในหน่วยความจา เม่ือต้นกาเนิดแสงและตวั รับแสงเลื่อนไปยังภาพแถวต่อไปสัญญาณที่ได้จากแถวต่อมาก็จะถูกส่งต่อเนื่องกันไปจนสุดภาพ สแกนเนอรแ์ บ่งเป็น 3 ประเภทหลักๆ คอื สแกนเนอร์มอื ถอื (Hand-Held Scanner) มขี นาดเลก็ ราคาไม่แพงนัก เกบ็ ภาพขนาดเลก็ ๆ ซงึ่ ไมต่ ้องการความละเอียดมากนักได้ เช่น โลโก้ลายเซน็ เป็นต้น สแกนเนอรด์ งึ กระดาษ (Sheet-Fed Scanner) เปน็ สแกนเนอร์ทใี่ หญ่กวา่ สแกนเนอร์มือถือ ใชห้ ลกั การดึงกระดาษข้ึนมาสแกนทีละแผ่น แต่มีข้อจากัดคือถ้าต้องการสแกนภาพจากหนังสือท่ีเป็นรูปเล่ม ต้องฉีกกระดาษออกมาทีละแผ่น ทาให้ไม่สะดวกในการสแกนคณุ ภาพทีไ่ ด้จากสแกนเนอร์ประเภทน้อี ยู่ในระดบั ปานกลาง สแกนเนอรแ์ ท่นเรียบ (Flatbed Scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่มีกระจกใสไว้สาหรับวางภาพที่จะสแกน เหมือนเครื่องถ่ายเอกสาร คุณภาพของงานสแกนประเภทนี้จะดีกว่าสแกนเนอร์แบบมอื ถอื หรือสแกนเนอร์แบบดึงกระดาษ แตร่ าคาสูงกว่าเชน่ กนั ปัจจุบนั สแกนเนอรร์ นุ่ ใหมๆ่ มีขีดความสามารถในการใช้งานมากข้ึนท้ังในเรื่องของความเร็ว และความละเอียดของภาพที่ได้จากการสแกน นอกจากน้ียังสามารถสแกนจากวัตถุอื่นๆ ท่ีไม่ใช่กระดาษเพียงอยา่ งเดียว เช่น วัตถุ 3 มิติ ที่มีขนาดและนา้ หนักทีไ่ มม่ ากจนเกนิ ไป หรือแม้กระท่ังฟิล์มและสไลด์ของภาพต้นฉบับเข้าสู่เคร่อื งคอมพวิ เตอรไ์ ด้เลย โดยทผี่ ู้ใชไ้ ม่จาเปน็ ต้องไปอดั ขยายเป็นภาพถา่ ยปกติเหมือนในอดีต

อุปกรณป์ ระมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล หมายถึง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ีเป็นตัวกลางในการประมวลผลข้อมูลต่างๆ และสั่งการควบคุมการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปแล้วจะรู้จักกันในช่ือของหน่วยประมวลผลกลาง หรอื ซีพียู (Central Processing Unit: CPU) โดยถ้าหากเปรียบเทียบคอมพิวเตอร์เป็นมนุษย์แล้วนั้น อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลจะเทียบได้กับสมองของมนุษย์ ทาหน้าที่ในการคานวณเปรยี บเทยี บ สงั่ งานให้รา่ งกายทางานได้ ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลางเปรียบได้กับสมองของมนุษย์ เป็นส่วนที่ทาหน้าท่ีควบคุมและประมวลผลของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นช้ินสว่ นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ขนาดเล็กมาก ภายในประกอบดว้ ยทรานซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจรหลายล้านตัวซีพยี ูหรอื หนว่ ยประมวลผลกลาง ประกอบดว้ ยสว่ นประกอบหลัก 2 ส่วน คอื 1.1 Control Unit หรอื สว่ นควบคมุ คอื สว่ นทีท่ าหนา้ ท่ีสรา้ งสัญญาณและส่งสญั ญาณไปควบคมุ การทางานของส่วนประกอบต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ คลา้ ยการสง่ สญั ญาณควบคุมจากสมองไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ส่วนควบคุมนี้ไม่ได้ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูล แต่มีหน้าท่ีประสานงานให้ส่วนประกอบต่างๆ สามารถทางานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ สญั ญาณควบคุมจานวนมาก สามารถเดินทางไปยังส่วนประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตัวส่งสัญญาณที่เรียกว่า บัส (Bus) ซึ่งประกอบด้วย Control Bus, Data Bus และ Address Bus ที่ทาหนา้ ท่สี ง่ สญั ญาณควบคุม ส่งสัญญาณข้อมูล และส่งตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลในส่วนความจา ตามลาดับดงั นน้ั บสั จงึ เปรยี บเสมือนพาหนะทใ่ี ชข้ นส่งข้อมลู ไปส่สู ่วนประกอบตา่ งๆ ของระบบนัน่ เอง 1.2 Aritmetic and Logic Unit : ALU หรือ สว่ นคานวณและเปรียบเทยี บข้อมูล ทาหน้าท่ีคานวณและเปรียบเทียบข้อมูล โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic) และตรรกศาสตร์ (Logic) ตามลาดับ การประมวลผลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ คือการคานวณที่ต้องกระทากับข้อมูลประเภทตัวเลข (Numeric) เช่น การบวก ลบ คูณ หาร ฯลฯ ให้ผลลัพธ์ท่ีหลากหลาย แต่การประมวลผลด้วยหลักตรรกศาสตร์ คือการเปรียบเทียบข้อมูลท่ีกระทากับข้อมูลตัวอักษร สัญลักษณ์หรอื ตวั เลข (Character) ให้ผลลัพธเ์ พยี งสองสภาวะ เช่น 0-1, ถกู -ผิด หรือ จริง-เทจ็ เปน็ ต้น

ความเร็วของซีพียู คา่ ความเรว็ ของซีพียูน้ัน จริงๆแล้วกค็ อื ค่าความถ่ีของสัญญาณนาฬิกา ซ่ึงเป็นตัวกาหนดความเร็วในการทางานของซีพียู และคอยให้จังหวะในการทางานแก่วงจรและอุปกรณ์ต่างๆภายในเคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ ห้ทางานได้อยา่ งสอดคลอ้ งกัน ความถข่ี องสัญญาณนาฬกิ านี้มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hertz) ซ่ึงบอกให้รู้ว่าภายในเวลา 1 วินาทีมีสัญญาณนาฬิกาน้ีเกิดข้ึนจานวนก่ีลูกคลื่น (Pulse) ดังน้ัน ความเร็ว 1เมกะเฮิรตซ์ (MHz) จงึ หมายถึง 1 ลา้ นเฮริ ตซ์ หรือ 1 ล้านลกู คลน่ื ตอ่ วนิ าที สญั ญาณนาฬกิ าท่ีเก่ียวข้องกับซพี ยี ูมี 2 ส่วนหลักๆ คือ สัญญาณนาฬกิ าภายในซีพียู เป็นสัญญาณท่ีให้จงั หวะในการทางานภายในตัวซีพยี เู อง สัญญาณนาฬิกาภายนอกซีพียู เป็นสัญญาณที่ให้จังหวะในการทางานแก่บัส (Bus) ท่ีซีพียูใช้รับส่งข้อมูลกับหน่วยความจา คือ เส้นทางลาเลียงข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ตั้งแต่2 อุปกรณ์ขึ้นไป โดยบัสที่เชื่อมต่อระหว่างซีพียูกับหน่วยความจาน้ีจะเรียกว่า Front SideBus (FSB)สาหรับการทางานของอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลจะมีจังหวะสัญญาณนาฬิกาของเคร่ืองเป็นตัวควบคุมการทางาน โดยพิจารณาการทางานว่าสามารถทางานได้กี่ครั้งต่อรอบของเวลา จะใช้หน่วยของเฮิร์ตซ (Hertz) ซึ่งเทียบว่าทางานได้กี่งานต่อหนึ่งวินาที เช่น หน่วยประมวลผลกลางตัวหน่ึงทางานได้2,000 เมกะเฮิร์ตซ (2,000 MHz.) หมายความว่า หน่วยประมวลผลน้ันสามารถทางาน ได้2,000 ลา้ นคาสั่งใน 1 วินาที ถา้ หากหน่วยประมวลผลกลางมจี านวนตวั เลขมากๆกจ็ ะยง่ิ ทางานไดเ้ รว็ ขน้ึบรรจภุ ณั ฑ์ (Packaging) และฐานรอง (Socket) ของซพี ียู สามารถแบ่งเป็น 4 แบบ แบบตลับ (Cartridge) ใช้สาหรับเสียบลงในช่องเสียบบนเมนบอร์ดท่ีเรียกว่า สล็อต (Slot) ซ่ึง ซพี ียูแตล่ ะคา่ ยจะใช้ Slot ของตนเองและไมเ่ หมือนกนั ในปัจจุบันได้เลิกผลิตแล้ว เช่น ซีพยี ขู อง Intel ร่นุ Pentium II และซพี ยี ูของ AMD รุน่ K7 เป็นต้น แบบ BGA (Ball Grid Array) จะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆ ที่ด้านหน่ึงจะมีวัตถุทรงกลมนาไฟฟ้าขนาด เล็กเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบทาหน้าที่เป็นขาของชิป เวลานาไปใช้งาน ส่วนมากมกั จะต้องบดั กรยี ดึ จุดสัมผสั ต่างๆ ตดิ กับเมนบอร์ดเลย จึงมักนาไปใช้ทา เป็นชิปท่ีอยู่บนเมนบอร์ดซ่ึงเปลี่ยนแปลงไม่ได้ เช่น ชิปเซ็ต และ ชิป หน่วยความจา เปน็ ตน้

แบบ PGA (Pin Grid Array) จะมีลักษณะเป็นแผ่นแบนๆ ที่ด้านหนึ่งจะมีขา (Pin) จานวนมากยื่น ออกมาจากตัวชิป เป็นแบบที่นิยมใช้กันมานาน ขาจานวนมากเหล่าน้ีจะใช้เสียบ ลงบนฐานรองหรือทเี่ รียกว่าซ็อคเก็ต (Socket)ทอ่ี ยู่บนเมนบอรด์ ซง่ึ เอาไว้สาหรับ เสียบซีพียูแบบ PGA น้ีโดยเฉพาะ โดย socket นี้มีหลายแบบ สาหรับซีพียู แตกต่างกันไปเสียบข้าม socket กันไม่ได้ เพราะมีจานวนช่องท่ีใช้เสียบขาซีพียู แตกตา่ งกนั (ดตู ัวอยา่ งที่หวั ขอ้ 5.2.1 ช่องสาหรบั ติดตัง้ ซีพยี ู) แบบ LGA (Land Grid Array) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ Intel นามาใช้กับซีพียูรุ่นใหม่ๆ ลักษณะจะเป็นแผ่น แบนๆ ท่ีด้านหน่ึงจะมีแผ่นตัวนาวงกลมแบนเรียบขนาดเล็กจานวนมากเรียงตัว กันอยู่อย่างเป็นระเบียบ ทาหน้าที่เป็นขาของชิป ทาให้เม่ือเวลามองจากทาง ด้านข้างจะไม่เห็นส่วนใดๆย่ืนออกมาจากตัวชิปเหมือนกับแบบอ่ืนๆที่ผ่านมา ซีพียูที่ใช้บรรจุภัณฑ์แบบน้ีจะถูกติดตั้งลงบนฐานรองหรือ Socket แบบ Socket T หรือชื่อทางการคือ LGA 775 โดย Socket แบบนี้จะไม่มีช่องสาหรับเสียบขา ซพี ียูเหมือนกับแบบ PGA แต่จะมขี าเลก็ ๆจานวนมาก ยืน่ ขน้ึ มาจากฐานรอง อุปกรณช์ ว่ ยระบายความร้อนใหซ้ ีพียู (CPU Fan & Heat Sink) ขณะท่ีซีพียูทางานจะเกิดความร้อนค่อนข้างมาก จึงต้องมีอุปกรณ์ท่ีเรียกว่า ฮีตซิงค์ (Heat Sink)มาช่วยพาความร้อนออกมาจากซพี ยี ูให้เร็วท่ีสดุ และจะต้องใช้พัดลมเป่าเพอื่ รายความร้อนออกไปโดยเรว็ สารเชอื่ มความร้อน (Thermal Grease) สารเชื่อมความร้อน หรือท่ีเรียกกันโดยทั่วไปว่า ซิลิโคน (Silicone) เป็นสารชนิดหน่ึงที่ทามาจากซิลิโคนผสมกับสารนาความร้อนบางชนิด เช่น Zinc Oxide ซ่ึงมีคุณสมบัติเป็นตัวกลางในการนาพาความร้อนได้ดี มักใช้ทาฉาบไว้บางๆ เพ่ือไม่ให้มีช่องว่างระหว่างซีพียูกับ Heat Sink และทาหน้าที่ช่วยในการถา่ ยเทหรอื พาความรอ้ นจากซพี ยี ูไปสู่ Heat Sink ไดด้ ยี ิ่งขนึ้

อุปกรณ์หนว่ ยแสดงผลลัพธ์ (Output Device) ทาหน้าที่ในการแสดงผลลัพธ์ท่ีได้จากการคานวณและประมวลผลในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจสาหรับอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีในการแสดงผลน้ัน ยกตัวอย่างเช่น จอภาพ (Monitor) เคร่ืองพิมพ์ (Printer)ลาโพง (Speaker) พล็อตเตอร์ (Plotter) เป็นอุปกรณ์สาหรับแสดงผลลัพธ์ท่ีได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่แสดงออกมาจะมีท้ังข้อมูลตัวอักษร, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง เป็นต้นอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังน้ี 1. อุปกรณแ์ สดงผลหนา้ จอ ( Display device ) เป็นอุปกรณ์สาหรับการแสดงผลในรูปแบบกราฟิกและผู้ใช้สามารถเห็นผลลัพธ์ได้แค่ชั่วคราวเท่านนั้ เมอ่ื ไฟดบั หรือปดิ การทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ลงไปจะไม่สามารถเห็นได้อีก บางครั้งนิยมเรยี กอปุ กรณป์ ระเภทน้วี ่า soft copy นัน่ เอง เชน่ เทอร์มินอล ( Terminal ) มักพบเห็นได้กับจุดบริการขาย ( POS-Point Of Sale )ตามหา้ งสรรพสินคา้ ร้านสะดวกซอ้ื หรือจุดใหบ้ ริการลกู ค้าเพ่ือทารายการบางประเภท เช่น ตู้รายการฝากถอน ATM อัตโนมัติ จอภาพของเทอร์มนิ อลจะมีขนาดเล็กกวา่ จอภาพที่ใช้กบั คอมพิวเตอร์ จอซีอาร์ที ( CRT Monitor ) เป็นอุปกรณ์แสดงผลท่ีนิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี การทางานจะอาศัยหลอดแก้วแสดงผลขนาดใหญ่ท่ีเรียกว่าหลอดรังสีคาโธด ( cathode raytube ) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเดียวกับหลอดภาพของโทรทัศน์ และตัวจอภาพก็มีลักษณะเหมือนกับจอภาพของโทรทัศน์ มีหลายขนาดตั้งแต่ 14,15,16,17,19,20 และ 21 น้วิ เป็นต้น (แนวโนม้ การใช้งานปัจจุบันจะเลือกใช้จอภาพท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึน เพ่ือช่วยในการทางานได้ดีกว่าจอภาพขนาดเล็ก โดยเฉพาะงานท่ีต้องใช้พน้ื ทสี่ าหรบั ทางานบนจอภาพมาก ๆ เชน่ การสร้างภาพกราฟิกหรือการออกแบบงาน 3 มติ ิ เป็นตน้ )

จอแอลซดี ี ( LCD Monitor ) เปน็ อุปกรณ์แสดงผลอีกแบบหน่ึง อาศัยการทางานของโมเลกุลชนิดพิเศษเรียกว่า “ ผลึกเหลว” หรือ liquid crystal ในการแสดงผล (LCD = Liquid CrystalDisplay ) ซึ่งเม่ือมีสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังแต่ละจุดบนจอ ผลึกเหลว ณ จุดนั้นจะมีการบิดตัวของโมเลกุลเป็นองศาที่แตกต่างกัน ทาให้แสงที่ส่องจากด้านหลังจอผ่านได้มากน้อยต่างกัน และเกิดภาพสีต่าง ๆ ขึ้นแตเ่ ดมิ นิยมใช้กบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบโน๊ตบุ๊ค ปัจจุบันได้นามาใช้กับเครื่องพีซีทั่วไปบ้างแล้ว เน่ืองจากมีขนาดบาง เบาและสะดวกในการเคล่ือนย้ายมากกว่า อีกทั้งยังไม่เปลืองพ้ืนท่ีสาหรับการทางานด้วย แต่ปัจจบุ นั ยังมรี าคาทแ่ี พงกวา่ จอแบบซอี ารท์ ีพอสมควร โปรเจคเตอร์ ( Projector ) นิยมใช้สาหรับการจัดประชุม สัมมนา หรือการนาเสนอผลงาน ( presentation ) ที่ต้องการให้ผู้เข้าชมจานวนมากได้เห็นข้อมูลภาพกราฟิกต่างๆ ชัดเจนมากย่ิงข้ึน ทาหน้าที่เป็นเหมือนอุปกรณ์ช่วยขยายภาพขนาดเล็กจากจอภาพธรรมดาให้ไปแสดงผลลัพธ์เป็นภาพขนาดใหญท่ บ่ี รเิ วณฉากรบั ภาพ

2. อุปกรณ์สาหรับพิมพง์ าน ( Print Device ) เปน็ อุปกรณ์การแสดงผลทแ่ี สดงออกมาให้อยู่ในรปู แบบข้อมูล รายงาน รปู ภาพ หรือแผนทซี่ ่ึงสามารถจบั ตอ้ งหรือเกบ็ รักษาไว้ไดอ้ ย่างถาวร นยิ มเรยี กอุปกรณเ์ หล่าน้ี Hard copy อุปกรณ์ทเี่ กยี่ วข้องสาหรับการพิมพง์ านมดี ังนี้ เครอ่ื งพมิ พแ์ บบดอทเมตริกซ์ ( Dot matrix Printer ) เปน็ เคร่ืองพมิ พ์ที่ใช้กันในองค์กรธรุ กิจทัว่ ไป เนอ่ื งจากมีคุณสมบัติในการทางานพิมพ์โดยอาศัยหัวเข็มพิมพ์กระทบลงไปท่ีผา้ หมึก( ribbon ) และตวั กระดาษโดยตรงจงึ เหมาะสมกับการพิมพ์เอกสารประเภทใบเสรจ็ รบั เงิน ใบกากับภาษี ใบส่งของ หรือรายการส่งั ซอื้ ที่จาเปน็ ต้องมสี าเนาเอกสาร(copy) เพ่อื เกบ็ ไวเ้ ปน็ หลักฐานทางการบัญชี นยิ มเรียกอกี ชื่อหนึ่งว่า เคร่อื งพิมพแ์ บบกระทบ(impact printer) แตม่ ขี ้อจากัดในเรอ่ื งการทางานทเ่ี ป็นสี นอกจากน้ีคุณภาพของงาน ความคมชัด และความเร็วยังตา่ กวา่เคร่ืองพมิ พแ์ บบอื่นๆ จงึ มีความนยิ มใชล้ ดลง ถงึ แม้มรี าคาไม่สูงนักก็ตาม เคร่อื งพมิ พแ์ บบเลเซอร์( Laser Printer ) ผลลัพธ์ท่ีได้จากการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ซ่ึงอาศัยหัวพิมพ์กระทบลงไปในกระดาษเหมอื หลกั การของเครอื่ งพมิ พด์ ดี นน้ั ทาให้คุณภาพงานพิมพ์ท่ีได้ไม่ชัดเจน จึงนิยมใช้เครื่องพิมพ์ประเภทเลเซอร์เข้ามาแทนเน่ืองจากมีความคมชัดมากกว่าเคร่ืองพิมพ์แบบน้ีอาศัยการทางานของแสงเลเซอร์ฉายลงไปยังหลอดสร้าง( drum ) ภาพที่ได้รับการกระตุ้นของแสง แล้วฉีดผงหมึกเข้าไปยังบริเวณทม่ี ปี ระจอุ ย(ู่ ซึง่ เปน็ หลกั การเดยี วกับเครอ่ื งถา่ ยเอกสารนน่ั เอง) จากน้นั ให้กระดาษวิ่งมารับผงหมึก แล้วไปผ่านความร้อนเพื่อให้ภาพติดแน่น ข้อดีคือภาพที่ได้มีความละเอียดสูงมาก และความเร็วก็สูง แต่มีข้อเสียคือไม่สามารถพิมพ์เอกสารท่ีเป็นแบบสาเนา (copy ) เหมือนกับเครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ได้ นอกจากน้ีปัจจุบันเร่ิมมีเครื่องพิมพ์งานสีได้แล้ว โดยใช้ผงหมึก 4 สีผสมกัน ซึ่งราคาเคร่ืองเร่ิมลดลงมากแล้ว แตผ่ งหมกึ กย็ ังแพงอยู่

เคร่ืองพิมพ์แบบอิงคเ์ จต็ ( Ink-jet Printer ) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีการทางานโดยอาศยั น้าหมึกพ่นลงไปบนกระดาษตรงจดุ ที่ตอ้ งการและสามารถเลือกใช้ได้ท้ังหมึกสแี ละขาวดา เครอ่ื งพมิ พ์แบบพ่นหมึกอาจมที ั้งแบบราคาถกู ทใ่ี ช้งานตามบา้ นทว่ั ไปสาหรับพิมพ์เอกสารทต่ี อ้ งการความสวยงาม เช่น ภาพถา่ ย โปสการด์ ปฏทิ นิ หรอื พิมพบ์ นกระดาษแบบพเิ ศษแลว้ นาไปตดิ กบั เส้ือผ้าหรือแกว้ กาแฟ หรืออาจพบเหน็ ได้กับเคร่ืองพิมพ์ในบางรุน่ ท่ีนิยมใชก้ นั ในงานธรุ กจิ เชน่ งานพมิ พ์โปสเตอร์หรือภาพสีขนาดใหญ่ แตก่ ็มรี าคาที่แพงตามไปดว้ ย พลอตเตอร์ ( Plotter ) เปน็ เครอ่ื งพมิ พเ์ พอ่ื แสดงผลลพั ธ์อกี ประเภทหน่งึ มกั ใช้กับการพิมพเ์ อกสารท่ีมีขนาดค่อนข้างใหญม่ ากและไมส่ ามารถพมิ พ์ด้วยเคร่ืองขนาดเล็กได้ การทางานใชก้ ลไกบงั คบั ปากกาให้ขีดลงบนกระดาษโดยตรง ส่วนใหญเ่ ป็นเอกสารที่ต้องการความละเอยี ดสูง เชน่ ภาพโฆษณา แผนที่ แผนผัง แบบแปลน เป็นต้น อย่างไรก็ดีอาจพบเหน็ เครอ่ื งพลอตเตอร์นค้ี ่อนข้างน้อยในปัจจุบัน เน่ืองจากเคร่ืองพิมพ์แบบองิ คเ์ จต็ ไดเ้ ขา้ มาแทนที่เกือบหมดแล้ว

3. อุปกรณข์ ับเสียง ( Audio Device ) ลาโพง ( Speaker ) ข้อมูลที่เปน็ แบบเสียงจะไมส่ ามารถแสดงผลลพั ธ์ไปยงั จอภาพของคอมพิวเตอร์ได้ แตจ่ ะอาศยั อุปกรณ์แสดงผลเฉพาะท่ีเรยี กวา่ ลาโพง ( speaker ) เพ่ือชว่ ยขบั เสยี งออก ปัจจุบนั มรี าคาถูกมากตัง้ แตร่ อ้ ยกว่าบาทจนถึงหลักพัน นิยมใช้สาหรับการแสดงผลในรปู ของเสยี งเพลงหรือเสียงประกอบในภาพยนตร์รวมถงึ เสียงที่ได้จากการพดู ผา่ นไมโครโฟน หูฟัง ( Headphone ) เป็นอุปกรณ์สาหรับรับฟงั ข้อมูลประเภทเสยี งเช่นเดยี วกนั นิยมใชส้ าหรับการฟังเสียงเชน่ ฟงั เพลง หรือเสยี งประกอบภาพยนตรท์ ่ีเปน็ แบบส่วนตวั ในบางรุน่ อาจพบไดท้ ง้ั หูฟงั และไมโครโฟนอยใู่ นตัวเดยี วกนั มีใหเ้ ลือกหลายชนดิ ทั้งแบบที่มีสายเช่ือมต่อและแบบไรส้ าย ราคาของหฟู งั อาจจะมตี ั้งแต่ราคาไม่กรี่ อ้ ยบาทจนถึงหลักพนั ทงั้ นี้ขึ้นอยกู่ ับคุณภาพและย่ีห้อของบริษทั ผผู้ ลิตดว้ ย โดยปกตทิ ้ังหฟู ังและลาโพงจะต่อสญั ญาณเสียงแบบอนาล็อก ( analog ) คอื สัญญาณเสียงทั่ว ๆไปเหมือนในวิทยหุ รอื โทรทัศน์ จากช่องเสียบสัญญาณที่ซาวดก์ ารด์ ในเครื่องคอมพวิ เตอร์ แต่มลี าโพงและหฟู งั บางแบบอาจใช้การตอ่ สัญญาณเสยี งในแบบดจิ ิตอลจากพอร์ต USB ของเครื่องออกมาแทน แล้วแปลงกลบั เปน็ เสยี งแบบทเี่ ราได้ยินกนั โดยใชว้ งจรภายในตวั เอง ซึ่งจะลดเสียงรบกวนจากอุปกรณ์อืน่ ๆ ในคอมพิวเตอร์ แตห่ ูฟังหรือลาโพงแบบนี้กจ็ ะมีราคาแพงกว่า

หน่วยความจาหลกั (Main Memory) อุปกรณ์หน่วยความจาหลัก หมายถึง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าท่ีเป็นท่ีพักข้อมูล คาสั่งในการทางาน หรือโปรแกรมต่างๆ ท่ีกาลังประมวลผลอยู่โดยอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล สาหรับหนว่ ยความจาหลกั สามารถแบง่ เป็นประเภทหลกั 3 ประการ คือ 1. รอม (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจาท่ีมีการบันทึกข้อมูลคาส่ังที่จาเป็นพืน้ ฐานตอ่ การเปดิ เครอ่ื งเอาไว้ กอ่ นการเรียกใชง้ านระบบปฏิบัตกิ าร โดยพนื้ ฐานแล้วจะมีลักษณะในการใหอ้ า่ นข้อมลู ท่บี ันทกึ ไว้เพยี งอย่างเดยี วไมส่ ามารถแก้ไขข้อมูลได้ 2. แรม (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจาท่ีสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตามท่ีต้องการ โดยสามารถบันทึกข้อมูลหรือคาส่ังได้ และนาข้อมูลท่ีบันทึกไว้ไปใช้ได้โดยอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล สาหรับหน่วยความจาประเภทนี้จาเป็นที่จะต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยงไว้ตลอด ดังนั้นหากปิดเครื่องขอ้ มลู ท่ีเก็บไว้กจ็ ะหายไปหนว่ ยความจาหลกั ของคอมพวิ เตอร์แบง่ ออกเป็น 3 ประเภทหลกั ๆ ดังน้ี 1 หนว่ ยความจาแบบถาวร (Read Only Memory - ROM) คอื หน่วยความจาท่ีนาข้อมูลออกมาใช้งานเพียงอย่างเดียว (Read Only) โดยมีการบันทึกข้อมูลไวล้ ่วงหนา้ แล้ว สามารถเก็บรักษาข้อมูลไว้ได้ โดยไม่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าในการรักษาข้อมูล แม้เราจะปิดเครื่อง หรอื ไมม่ ไี ฟฟา้ ไปหลอ่ เลีย้ ง ข้อมูลทอ่ี ยใู่ นรอมกจ็ ะยงั คงอยู่ ไม่สูญหายไป ในปจั จุบัน หนว่ ยความจาถาวรน้ี เปิดโอกาสให้สามารถลบหรือแก้ไขข้อมูลได้ เช่น การปรับปรุง/แกไ้ ขข้อมลู เกย่ี วกับระบบคอมพิวเตอร์ (System Configuration) เปน็ ตน้ 2 หนว่ ยความจาชว่ั คราว (Random Access Memory - RAM) คือ หน่วยความจาท่ีสามารถบันทึกข้อมูลหรืออ่านข้อมูล ณ เวลาใดๆ ได้ตามต้องการ (RandomAccess) ต้องอาศัยสัญญาณไฟฟ้าในการเก็บรักษาข้อมูลและอ่านข้อมูล ฉะน้ัน ข้อมูลท่ีอยู่ในแรมจะสูญหายไปทนั ทีทป่ี ิดเคร่อื ง หรอื ไมม่ ีไฟฟา้ ไปหลอ่ เลย้ี ง แรมเปน็ หนว่ ยความจาท่ใี กล้ชดิ และเกี่ยวข้องกับผู้ใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยตรง เน่ืองจากการรับข้อมูล การประมวลผล และการแสดงผลข้อมูล ต่างต้องอาศัยพื้นที่ในหน่วยความจาน้ีทั้งสิ้น กล่าวได้ว่าแรมเป็นหน่วยความจาที่เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีสาคัญ ขนาดของแรมหรือ

ความจุของแรมเปรียบเสมือนขนาดของโต๊ะทางาน หากแรมมีความจุมากก็เหมือนโต๊ะทางานท่ีมีพ้ืนท่ีในการทางานได้มากน่นั เอง หน่วยความจาแรม มีหน่วยวัดเป็นไบต์ ซึ่งถ้าเป็นเคร่ืองรุ่นเก่า จะนิยมใช้หน่วยความจาแรม 32หรือ 64 เมกะไบต์ (MB) แต่ถ้าเป็นเครื่องรุ่นใหม่ๆ จะนิยมใช้แรมขนาด 512 MB ขึ้นไป ซ่ึงจะทาให้สามารถทางานที่มีขนาดใหญ่ๆ เช่น งานมัลติมิเดียหรืองานกราฟิกได้ โดยหากใช้หน่วยความจาแรมน้อยเคร่ืองอาจทางานช้ามากหรอื อาจหยุดชะงักได้งา่ ย 3.หน่วยความจาแคช (Cache Memory) หน่วยความจาแคช (Cache Memory) คือ หน่วยความจาความเร็วสูงทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลหรือคาสง่ั ตา่ ง ๆ ท่ซี พี ียูมักเรียกใชง้ านบ่อยๆ ไว้ช่วั คราว เพอื่ ลดภาระการทางานระหว่างซีพียูกับหน่วยความจาแรมท้ังนี้ซีพียูสามารถเรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจาแคชได้เลยทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลาติดต่อกับหนว่ ยความจาแรมหรอื ฮารด์ ดิสกซ์ ึง่ จะชา้ กวา่ มาก แคช (Cache) เป็นหน่วยความจาที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อเสริมประสิทธิภาพในการทางานระหว่างอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ โดยจะเป็นที่พักช่ัวคราวของข้อมูลท่ีจะส่งไปยังอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อ่ืนอันเน่ืองมาจากความสามารถในการประมวลผลข้อมูลของอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลมีความรวดเร็วกว่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆจะทาให้การทางานไม่สอดคล้องกันจึงจาเปน็ ทีจ่ ะต้องมีหน่วยความจาประเภทนีข้ ้ึน

อุปกรณ์หน่วยเกบ็ ข้อมลู สารอง ( Secondary Storage Device ) การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์น้ัน เมื่อต้องการเก็บบันทึกข้อมูล หรือกลุ่มคาส่ังต่าง ๆ ไว้ใช้ในอนาคตจะไม่สามารถเก็บไว้ในหน่วยความจาหลักได้ เนื่องจากไม่มีพื้นท่ีเพียงพอ อีกทั้งข้อมูลที่เก็บจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง หากต้องการเก็บข้อมูลท่ีมากข้ึนและเอาไว้ใช้ประโยชน์ในภายหลัง ก็จาเป็นต้องหาอุปกรณ์เก็บข้อมูลท่ีมีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น หน่วยเก็บข้อมูลสารอง หรือที่เรียกว่า secondarystorage ปัจจุบันมีส่ือที่ผลิตมาสาหรับใช้เก็บข้อมูลสารองหลากหลายชนิด ซึ่งพอจะแบ่งตามรูปแบบของสื่อทีเ่ กบ็ ข้อมูลออกไดเ้ ปน็ 4 ประเภท 1. สือ่ เก็บข้อมลู แบบจานแม่เหลก็ ( Magnetic Disk device ) เปน็ อุปกรณบ์ นั ทึกขอ้ มูลประเภททีใ่ ชง้ านเป็นลักษณะของจานบนั ทกึ ( disk ) ซึ่งมีหลายประเภท ดังน้ี 1.1.ฟล็อปป้ีดิสก์ ( Floppy disks ) ส่ือเก็บบันทึกข้อมูลท่ีได้รับความนิยมและใช้งานอย่างแพร่หลาย สามารถหาซ้ือใช้ได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป นิยมเรียกอีกชื่อหน่ึงว่าดิสเก็ตต์ ( diskette ) หรือแผ่นดิสก์ การเก็บข้อมูลจะมีจานบันทึก ซึ่งเป็นวัสดุอ่อนจาพวกพลาสติกที่เคลือบสารแม่เหล็กอยู่ด้านใน และห่อหุ้มด้วยกรอบพลาสติกแข็งอีกช้ันหน่ึง แผ่นดิสก์ในอดีตจะมีขนาดจานบันทึกที่ใหญ่มากถึง 5.25 นิ้ว ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมและเลิกใช้งานแล้ว จะเห็นได้เฉพาะขนาด3.5 น้วิ แทน ซึง่ มีขนาดเลก็ และพกพาสะดวกกว่า โครงสรา้ งการทางานของแผ่นดิสก์จะต้องมีการจัดข้อมูลโดยการ ฟอร์แมต ( format ) เม่ือใช้ครั้งแรกก่อนทุกคร้ัง (ปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตมักจะมีการฟอร์แมตแผ่นมาตั้งแต่อยู่ในกระบวนการผลิตแล้ว (ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทาการฟอร์แมตก่อนใช้งานซ้าอีก) การฟอร์แมตเป็นกระบวนการจัดพ้ืนท่ีเก็บไฟล์ข้อมูลก่อนใช้งาน หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ เป็นการเตรียมพื้นที่สาหรับเก็บบนั ทกึ ข้อมูล โครงสร้างของแผน่ จานแม่เหล็กเม่อื ทาการฟอร์แมตแลว้ จะมลี ักษณะดังนี้ โครงสร้างของดสิ กเ์ ม่ือทาการฟอร์แมตแลว้ แทรค ( Track ) เปน็ การแบ่งพ้ืนท่ีเก็บข้อมูลออกเปน็ ส่วนตามแนววงกลมรอบแผน่ จานแมเ่ หลก็ จะมีมากหรอื น้อยวงกข็ น้ึ อยู่กบั ชนดิ และประเภทของจานแม่เหล็กน้นั ซึ่งแผน่ แต่ละชนดิ จะมีความหนาแน่นของสารแม่เหลก็ แตกตา่ งกนั ทาใหป้ ริมาณความจุข้อมูลทจ่ี ะจดั เกบ็ ต่างกันตามไปดว้ ย

เซกเตอร์ ( Sector ) เป็นการแบง่ แทรคออกเป็นส่วน ๆ สาหรับเกบ็ ข้อมูล ซ่งึ แต่ละเซกเตอรส์ ามารถเก็บข้อมลู ได้มากถึง 512 ไบต์ หากเปรยี บเทยี บแผ่นจานแม่เหล็กเปน็ คอนโดมเิ นียมหลงัหน่งึ แลว้ เซกเตอร์ก็เปรยี บไดเ้ หมือนกบั ห้องพักตา่ งๆ ที่แบง่ ให้คนอยู่กนั เป็นห้องๆ แผ่นดิสเก็ตตท์ ่ีพบทว่ั ไปในปจั จุบนั จะเปน็ แบบความจุสงู หรือ high density สามารถเกบ็ ขอ้ มูลไดถ้ ึง 1.44 MB ซึ่งเราอาจคานวณหาความจุข้อมูลของแผ่นดสิ ก์ไดโ้ ดยการเอาจานวนดา้ นของแผน่ จานแม่เหล็ก ( side ) จานวนของแทรค ( track ) จานวนของเซคเตอร์ในแตล่ ะแทรค ( sector/track ) และความจขุ ้อมูลตอ่ 1 เซกเตอร์ (byte/sector ) วา่ มีคา่ เป็นเทา่ ไหร่ แลว้ เอาตัวเลขทง้ั หมดมาคูณกนั กจ็ ะได้ปริมาณความจขุ อ้ มลู ในแผ่นชนดิ น้นั ๆ เมื่อเก็บหรอื บนั ทึกข้อมูลแลว้ สามารถทีจ่ ะป้องกันการเขียนทบั ใหม่ หรอื ป้องกันการลบข้อมูลท่ีอาจเกิดขึน้ โดยเลอื กใช้ปมุ่ เปิด – ปิดการบนั ทึกที่อยขู่ ้าง ๆ แผน่ ได้ ซง่ึ หากเล่อื นขน้ึ (เปดิ ช่องทะลุ) จะหมายถึงการปอ้ งกัน ( write-protected ) แตห่ ากเล่ือนปุ่มลงจะหมายถงึ ไม่ตอ้ งป้องกนั การเขียนทับข้อมูล ( not write-protected ) นน่ั เอง 1.2 ฮาร์ดดิสก์ ( Hard disks ) เป็นอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่มีโครงสร้างคล้ายกับดิสเก็ตต์ แต่จุข้อมูลมากกว่าและมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่า ส่วนใหญ่จะถูกติดต้ังอยู่ภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อใช้สาหรับเก็บตัวโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ( operating system ) รวมถึงโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ ฮาร์ดดิสก์ผลิตมาจากวัสดุแบบแข็งจานวนหลายแผ่นวางเรียงต่อกันเป็นช้ัน จานแม่เหล็กแต่ละจาน เรยี กวา่ แพลตเตอร์ ( platter ) ซ่งึ อาจจะมีจานวนต่างกันได้ในฮาร์ดดิสกแ์ ต่ละรุ่น 2. ส่อื เกบ็ ขอ้ มูลแสง ( Optical Storage Device ) เปน็ สือ่ เกบ็ ข้อมูลสารองท่ไี ดร้ ับความนิยมมากในปัจจุบัน ซึ่งใช้หลักการทางานของแสงเข้ามาช่วยการจัดเกบ็ ขอ้ มลู จะคล้ายกบั แผน่ จานแม่เหล็ก แต่ต่างกันที่การแบ่งวงของแทรคจะแบ่งเป็นลักษณะคล้ายรปู ก้นหอยและเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก และแบ่งส่วนย่อยของแทรคออกเป็นเซกเตอรเ์ ชน่ เดียวกนั กบั แผน่ จานแมเ่ หลก็ 2.1 CD (Compact Disc) เป็นส่ือเก็บข้อมูลด้วยแสงแบบแรกท่ีไดรับความนิยมอย่างแพร่หลายและปจั จุบันกย็ งั เปน็ ท่นี ยิ มอยู่ เนอ่ื งจากมรี าคาถูกลงกวา่ สมยั ก่อนมาก ซ่งึ แยกออกไดด้ งั นี้

CD-ROM (Compact disc read only memory) เป็นส่ือเก็บบันทึกข้อมูลท่ีนิยมใช้สาหรับการเก็บบันทึกข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมประยุกต์เพ่ือใช้สาหรับติดต้ังในคอมพิวเตอร์รวมถึงเก็บผลงานไฟล์มัลติมีเดีย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI –computer assisted instruction ) หรือ CD-Training ผูใ้ ช้สามารถอา่ นข้อมลู ไดอ้ ยา่ งเดยี วแตไ่ ม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลซ้าได้ สามารถจุข้อมูลได้ถึง 650-750 MB โดยมากแล้วจะเป็นแผ่นที่ป๊ัมมาจากโรงงานหรือบรษิ ัทผผู้ ลิตมาแล้ว CD-R (Compact disc recordable) พบเห็นได้ตามร้านจาหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ัวไป มีราคาถูกลงอย่างมาก แผ่นแบบน้ีสามารถใช้ไดรซ์เขียนแผ่น ( CD Write ) บันทึกข้อมูลได้และหากเขียนข้อมูลลงไปแล้วยังไม่เต็มแผ่นก็สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ แต่ไม่สามารถลบข้อมูลท่ีเขยี นไว้แล้วได้ เนื่องจากเน้ือท่ีบนแผ่นแต่ละจุดจะเขียนข้อมูลได้คร้ังเดียว เขียนแล้วเขียนเลยจะลบท้ิงอีกไมไ่ ด้ เหมาะสาหรบั ผทู้ ่ีต้องการบันทกึ ไฟลข์ อ้ มลู เพ่อื เก็บรักษาทั่วไป เช่น ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล เพลงmp3 หรอื ไฟล์งานขอ้ มลู ซึ่งในเครื่องคอมพวิ เตอร์สว่ นตัว CD-RW (Compact disc rewritable) แผ่นชนิดน้ีมีลักษณะหน้าตาเหมือนกับแผ่นCD-R ทุกประการแต่มีข้อดีกว่าคือ นอกจากเขียนบันทึกข้อมูลได้หลายครั้งแล้ว ยังสามารถลบข้อมูลและเขียนซ้าใหม่ได้เร่ือย ๆ เหมือนกับการบันทึกและเขียนซ้าของดิสเก็ตต์ อย่างไรก็ตามแผ่น CD-RW ขณะน้ียังมีราคาสูงกว่า CD-R อยู่พอสมควร จึงเหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการบันทึกข้อมูลท่ีมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและเก็บข้อมูลไว้ในระยะเวลาอันส้ัน ไม่ถาวร ซึ่งจะช่วยทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้มาก เพราะสามารถลบท้ิงแลว้ เขียนใหม่อีกได้ถึงกว่าพนั คร้งั 2.2 DVD (Digital Versatile Disc/Digital Video Disc) ผลิตมาเพื่อตอบสนองกับงานเกบ็ ข้อมูลความจุสูง เช่น เพลงหรืองานมัลติมีเดียเพ่ือให้เกิดความสมจริงและคมชัดมากท่ีสุด การเก็บข้อมูลจะมีการแบง่ ออกเปน็ ชน้ั ๆ เรยี กวา่ เลเยอร์ (Layer ) และสามารถเก็บข้อมูลได้ท้ังสองด้าน (sides )ความจขุ อง DVD จะมมี ากกว่า CD หลายเท่าตัว โดยมตี ั้งแต่ 4.7 GB - 17 GB

การใช้งาน DVD มีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมเพ่ิมมากข้ึนและคาดว่าจะเข้ามาแทนCD ในอนาคต เน่ืองจากราคาของ DVD มีราคาถูกลงอย่างมาก ซ่ึงในปัจจุบันมีการนาแผ่น DVD มาประยุกต์ใช้กันอย่างแพร่หลายและมีมาตรฐานที่ค่อนข้างแตกต่างกันไม่เหมือนกับแผ่น CD ซ่ึงพอจะแยกออกไดด้ ังน้ี  DVD-ROM เป็นแผน่ DVD ที่ผลิตจากบรษิ ทั หรือโรงงานโดยตรง มักใชส้ าหรบั เก็บข้อมลู ขนาดใหญ่มาก เช่น ภาพยนตร์ความคมชดั สงู และต้องการเสียงท่ีสมจรงิ รวมถึงการ สารองข้อมลู ขนาดใหญท่ ี่ CD-ROM ทัว่ ไปไม่สามารถจัดเก็บหรอื บันทกึ ได้  DVD-R และ DVD-RW เปน็ แผน่ DVD ประเภทเขยี นข้อมูลได้ตามมาตรฐานขององคก์ ร DVD Forum (www.dvdforum.org) มคี วามจุข้อมลู สงู สุดขณะนี้ 4.7 GB เทา่ น้นั การ เขยี นขอ้ มลู สาหรับ DVD-R สามารถเขียนและบันทึกข้อมลู ไดเ้ พยี งคร้งั เดียวเหมือนกบั การเขยี นแผ่น CD-R สว่ น DVD-RW จะเขียนและบันทึกข้อมูลซ้าหลาย ๆ คร้ัง วิธีการ เขียนข้อมูลอาจเติมเฉพาะข้อมูลใหมล่ งไปโดยลบอนั เกา่ ทิ้งท้ังแผ่นหรอื จะ import ขอ้ มลู อันเก่ามารวมกบั ของใหม่แล้วเขียนไปพร้อม ๆ กันก็ได้  DVD+R และ DVD+RW เป็นกลมุ่ ของ DVD ทเ่ี ขยี นข้อมูลไดเ้ ชน่ เดียวกนั แต่เป็น มาตรฐานขององค์กร DVD+RW Alliance (www.dvdrw.com) ซง่ึ เกิดข้นึ ภายหลัง มี ความจสุ งู สดุ คือ 4.7 GB และอาจเพ่ิมอีกในอนาคต การเขียนขอ้ มลู ของ DVD+R และ DVD+RW จะคลา้ ย ๆ กนั กับกลมุ่ มาตรฐานเดิมแต่ความเร็วในการเขยี นแผน่ จะมี มากกว่าไดรวเ์ ขยี นแผน่ DVD ปัจจุบันมกั เขยี นได้ท้ังแบบ +RW และ – RW เรียกกันว่า แบบ Dual format นอกจากนยี้ งั มไี ดรวแ์ ละแผ่นรุน่ ใหม่ท่ีบันทกึ ข้อมูลได้มากถงึ เกือบ สองเท่าของแบบธรรมดา คือจไุ ด้ 8.5 GB (เทยี บเทา่ DVD-9 ) โดยบันทกึ ข้อมลู สองช้ัน ซอ้ นกันในด้านเดียว เรียกวา่ แผน่ และไดรว์แบบ Double Layer ( บางทีก็เรียก Dual Layer)

3. สอื่ เก็บข้อมูลอื่น ๆ ( Other Storage Device ) อุปกรณ์หน่วนความจาแบบแฟรช ( Flash memory device ) ปัจจุบันนามาใช้บันทึกแทนส่ือเก็บข้อมูลแบบดิสเก็ตต์มากขึน้ เพราะจุขอ้ มูลได้มากกว่า นิยมใช้กับเครื่องพีซีและคอมพิวเตอร์แบบพกพาท่วั ไป มีชอ่ื เรยี กแตกต่างกัน เช่น flash drive, thumb drive หรือ handy drive โดยสามารถต่อพ่วงเข้ากับเคร่ืองคอมพวิ เตอรแ์ ละอ่านค่าข้อมูลนน้ั ไดโ้ ดยตรง อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟรชน้ีอาจอยู่ในรูปแบบของ memory card ที่ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูลประเภทภาพถ่ายหรือข้อมูลท่ีมีขนาดใหญ่ในอุปกรณ์ดิจิตอลแบบพกพาทั้งหลาย เช่น กล้องถ่ายรูปดิจิตอลหรือพีดีเอ ซ่ึงมีหลายฟอร์แมต (ดังรูป) เช่นอ Compact Flash (CF), SmartMedia ( เลิกผลิตแล้ว), Secure Digital และ Multimedia Memory Card (SD/MMC ซ่ึงมีขนาดเท่ากัน) และ MemoryStick โดยการอา่ นข้อมูลอาจใช้อุปกรณด์ จิ ติ อลนั้นต่อพว่ งเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือใช้อุปกรณ์พิเศษทเี่ รียกวา่ card reader ช่วยอา่ นขอ้ มูลทีเ่ กบ็ อยูภ่ ายในไดเ้ ช่นเดยี วกนั

อปุ กรณ์ตอ่ พ่วง อปุ กรณ์ต่อพว่ ง หมายถึง อุปกรณท์ ที่ าให้เคร่ืองคอมพิวเตอรส์ ามารถติดต่อสื่อสาร ระหว่างกนั ได้สาหรับการติดต่อสื่อสารโดยพน้ื ฐานทใ่ี ชก้ นั ตามที่พกั อาศัย หรอื เฉพาะเครื่องน้ันเพอ่ื การใช้งานอินเตอรเ์ น็ต จะต้องใช้อปุ กรณ์ดังนี้ 1.Modem หรือเรียกอีกอย่างว่า Modulation เปน็ อุปกรณ์ท่ีทหี นา้ ที่ในการแปลงสัญญาณอนาล็อกให้เปลย่ี นเปน็ สญั ญาณดิจติ อล เพ่ือใหส้ ามารถ รองรับการสง่ สญั ญาณข้อมลู ท่เี ป็นท้งั ภาพ และเสียงผ่านสายโทรศพั ท์พนื้ ฐานทวั่ ไป ซึง่ โดยปกติแล้วสายโทรศพั ทจ์ ะถูกออกแบบให้ สามารถส่งสัญญาณแบบ อนาล็อก หรอื สญั ญาณของเสียงเท่าน้ัน ดงั นั้นโมเดม็ ก็เลยจะประกอบไปด้วยหนา้ ที่สาคญั 3 สว่ นไดแ้ ก่ หนง่ึ ส่วนท่ีเปลีย่ นสัญญาณดจิ ิตอล ใหเ้ ปน็ สัญญาณ อนาลอ็ กเพือ่ ใหส้ ามารถสง่ ผ่านข้อมลู ต่างๆ ไปยงั สายโทรศพั ท์ได้ สองส่วนท่ีเปลย่ี นสัญญาณอนาล็อก ท่ีถูกสง่ กลับมาจากสายโทรศัพทใ์ ห้เปลยี่ นเป็นสญั ญาณ ดิจิตอล เพื่อนาไปใช้งานต่อไป และสามส่วนท่ดี แู ล และความคุมการทางาน Digital Interface ประเภทของโมเด็ม สาหรับการแบ่งประเภทของโมเดม็ นน้ั จะสามารถแยกออกมาได้ 2 ลกั ษณะใหญ่ๆ - ความเรว็ ในการสง่ ผา่ นข้อมูล - รปู แบบการติดตั้งใช้งาน

รปู แบบการติดต้งั ใชง้ านน้ัน จะมีอยู่ 3 ประเภท - Internal หรือแบบติดต้ังภายใน โมเด็มประเภทน้ี จะมีลักษณะเป็นการ์ด หรือแผงวงจร ท่ีจะติดตั้งภายในตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ บริเวณสล็อต PCI ในปัจจุบัน ซ่ึงข้อดีของโมเด็มลักษณะนี้ ก็ตรงท่ีจะประหยัด เนื้อท่ี ภายนอก และมีราคาถูก แต่มักจะมีปัญหาตรงท่ีติดตั้งใช้งานยุ่งยาก และตรวจดูสถานะการทางานของโมเดม็ ได้ยาก - External ซ่ึงจะมีรูปร่างเป็นสี่เหล่ียม ประกอบไปด้วยอแด็ปเตอร์ท่ีใช้เช่ือมต่อกับไฟฟ้าภายในบ้านเอง โดยไม่ต้องใช้ไฟร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์เหมือนโมเด็มแบบติดต้ังภายใน ทาให้การทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์เสถียรมากกว่า และผู้ใช้ยังสามารถสังเกตการทางานของโมเด็มจากไฟ แสดงสถานะบริเวณตัวเคร่ืองได้ง่ายกว่าด้วย โมเด็มแบบภายนอกสามารถแยกอินเทอร์เฟซ หรือพอร์ตท่ีใช้ในการเช่ือมต่อเข้ากับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้สองแบบ ได้แก่ อินเทอร์เฟซแบบ Serial โดยโมเด็มแบบนี้จะเช่ือมตอ่ ระหว่างโมเด็มและเครอื่ งคอมพวิ เตอร์โดยใช้สาย RS-232 และจะมีอแด็ปเตอร์ที่คอยจ่ายไฟให้กับตัว โมเด็มด้วย ส่วนอินเทอร์เฟซแบบ USB ก็อย่างท่ีรู้ๆ อยู่ว่า อินเทอร์เฟซแบบ USB น้ันสามารถท่ีจะใช้ไฟจากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์โดยตรง จงึ ไม่จาเป็นทจ่ี ะตอ้ ง มอี แดป็ เตอร์ - PCMCIA สาหรบั โมเดม็ ประเภทน้จี ะมีลักษณะเปน็ การด์ ขนาดเลก็ ท่เี ม่ือเวลาจะ ใช้งาน จะตอ้ งเสยี บเข้ากบั สลอ็ ต PCMCIA ท่ีปกตจิ ะมบี นเครื่องคอมพวิ เตอรโ์ นต้ บกุ และโมเด็มประเภทนจ้ี ะมีราคาท่สี งู มากกว่าโมเดม็ Internal และ External โมเดม็ ชนดิ ติดตัง้ ภายนอก ภายใน และ PCMCIA

2.เครอื่ งสารองไฟ (Uninterruptible Power Supply : UPS) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่สารองไฟฟ้าเอาไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินเช่น ไฟตก หรือไฟดับเพ่ือท่ีจะทาให้สามารถบันทึกข้อมูล หรือปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้ทัน เพ่ือป้องกันอาการไฟกระชากซ่ึงจะทาใหเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอร์เสียหายได้ 3.การด์ ต่างๆ สาหรับงานที่ต้องการความสามารถบางด้านเพ่ิมเป็นพิเศษแล้ว ก็จาเป็นที่จะต้องเพ่ิมอุปกรณ์เพ่อื เชอื่ มตอ่ กบั อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เชน่ การด์ แสดงผล การด์ เสียง การ์ดโมเดม การ์ดเครือข่ายเป็นตน้

หลักการประสานการทางานรว่ มกันของฮารด์ แวรค์ อมพิวเตอร์ การประสานการทางานร่วมกันของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ในแต่ละส่วนเป็นไปดังภาพกล่าวคืออุปกรณ์รับเข้าข้อมูลจะรับคาส่ังหรือข้อมูลจากผู้ใช้งาน และจะส่งผ่านข้อมูลไปยังอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลเพื่อทาการประมวลผล ซึ่งในขณะที่กาลังประมวลผลจะมีการบันทึกข้อมูลในลักษณะช่ัวขณะท่ีหน่วยความจาหลัก และถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลแบบถาวรก็จะต้องบันทึกลงที่หน่วยความจารองและถ้าหากมีความต้องการให้แสดงผลลัพธ์ก็จะแสดงออกทางอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล และถ้าหากคอมพิวเตอร์ต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ก็จาเป็นท่ีจะต้องติดตั้งอุปกรณ์ติดต่อสื่อสารด้วยนอกจากนัน้ เพอ่ื ความสะดวกในการทางานก็อาจจะต้องตดิ ต้งั อปุ กรณ์ประกอบเสรมิ เข้าไปด้วย อปุ กรณ์ติดต่อสื่อสารอุปกรณ์รับขอ้ มูล หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์แสดงผลขอ้ มูล หน่วยความจาหลกั หน่วยความจารองการประสานงานรว่ มกันระหว่างอุปกรณฮ์ าร์ดแวร์คอมพิวเตอร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook