Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาโรงเรียนบ้านระตะ

แผนพัฒนาโรงเรียนบ้านระตะ

Published by oa_chat, 2022-01-18 07:44:12

Description: แผนพัฒนาโรงเรียนบ้านระตะ

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบ้านระตะ อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คานา แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาประจาปีการศึกษา 2563 – 2565 ฉบับนี้จัดทาข้ึนเพ่ือ ใชเ้ ป็นแนวทางในการบรหิ ารจดั การภายในโรงเรียนบา้ นระตะ ตลอดจนเป็นการอานวยความสะดวกแก่ บุคลากรในการปฏบิ ตั งิ าน ซงึ่ รายละเอียดประกอบด้วย ข้อมูลพน้ื ฐาน แผนงาน/โครงการ ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานโรงเรียนบ้านระตะ คณะครูและท่ีให้ความ ร่วมมือในการดาเนนิ การจดั ทาเอกสารฉบับนี้จนแล้วเสร็จ ซ่ึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็น ประโยชนส์ าหรับบุคลากรภายในโรงเรยี นบา้ นระตะไดเ้ ป็นอย่างดี โรงเรยี นบ้านระตะ

สารบญั หนา้ ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พื้นฐานของโรงเรียน 1 - บริบทของโรงเรยี นบ้านระตะ 5 - แผนผงั โรงเรียนบา้ นระตะ 6 - ข้อมลู เชงิ ปริมาณของโรงเรยี น 9 - ขอ้ มลู คุณภาพการศึกษา 10 - ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก รอบสาม 14 ส่วนท่ี 2 สภาพปจั จุบนั ของสถานศึกษา 14 - ผลการประเมินคุณภาพของโรงเรยี น 16 - ภายนอก (STEP) 21 - ภายใน (2S4M) - สรุปผลการวิเคราะห์คุณภาพของโรงเรยี น 22 49 ส่วนที่ 3 กรอบ ทิศทางการพัฒนา - นโยบายของต้นสังกดั โรงเรียนบา้ นระตะ 54 - แนวการบริหารจดั การโรงเรยี นบา้ นระตะ 54 54 ส่วนท่ี 4 โครงการ กิจกรรม งบประมาณ 55 - แผนงบประมาณการเงินของโรงเรยี น 56 - การคาดคะเนจานวนนักเรียน - การคาดคะเนงบประมาณรายรับ 61 - การคาดคะเนงบประมาณรายจ่ายจาแนกตามกลยทุ ธ์ 68 - การดาเนนิ กจิ กรรมตามกลยุทธข์ องโรงเรยี น 74 สว่ นท่ี 5 การนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล 76 - แบบติดตาม ประเมนิ ผล - ปฏิทินการนิเทศตดิ ตาม 78 - คณะกรรมการตดิ ตาม 79 ภาคผนวก - คาส่งั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2563 – 2565 - การให้ความเห็นชอบแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 – 2565 - คณะผู้จัดทา

สวนท่ี 1 สภาพทัว่ ไปและขอ มลู พื้นฐานของโรงเรียน 1. บรบิ ทของโรงเรยี นบา นระตะ 1.1 ประวัติโรงเรียนบา นระตะ โรงเรียนบานระตะ ต้ังอยูหมูที่ 3 ตําบลพังลา อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลา สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาสงขลาเขต 3 สํานักงานคณะการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีพ้ืนท่ีจํานวน 7 ไร 3 งาน 193 ตารางวา เปดทําการสอนเม่ือวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2496 ริเร่ิมกอตั้งโดย นายแดง พุฒสีแกว ผูใ หญบ า นระตะ นายประดษิ ฐ ศรีวรรณ และราษฎรในหมูบานไดรวมกันบริจาคเงิน วัสดุอุปกรณและ แรงงาน กอสรางอาคารเรียนหลังแรกเปนเรือนไมทรงไทย ขนาดกวาง 5 เมตร ยาว 15 เมตร ใช งบประมาณท้ังส้ิน 30,000 บาท เริ่มทําการกอสรางตั้งแตวันท่ี 21 ตุลาคม 2494 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2495 จึงแลวเสร็จ มีครูมาทําการสอน 2 คน คือ นายยาย ศรพรหม และนายเคลา สี แกว เปดทําการสอนต้ังแตชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ถึงช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ตามหลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2502 ไดรับงบประมาณจากทางราชการเปนเงิน 20,000 บาท ราษฎรสมทบอีก 8,000 บาท กอ สรางอาคารเรียนแบบ ป.1ก.(พิเศษ) ขนาด 3 หองเรียนอกี 1 หลัง ตอมาเม่ือป พ.ศ.2514 ไดร บั งบประมาณตอ เตมิ อกี 1 หอ งเรยี น เปน เงนิ 10,000 บาท พ.ศ.2522 ไดร ับงบประมาณจากองคก ารบริหารสวนจังหวัด จํานวน 220,000 บาท กอสราง อาคารเรยี นแบบ สข.01 อีก 1 หลงั จํานวน 4 หอ งเรียน พ.ศ.2523 ไดเปดขยายชัน้ เรียนถึงชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 และชั้นเรียนประถมศึกษาปท่ี 6 ในป ถัดไป พ.ศ.2527 นายยาย ศรพรหม ไดลาออกจากราชการ นายชีพ โลหะประเสริฐ รักษาการใน ตําแหนงครูใหญ จนถึงเดือนสิงหาคม 2527 ทางราชการจึงไดแตงตั้ง นายจํานงค รัตนะ มาดํารง ตําแหนงครูใหญ ปงบประมาณ 2527 ไดรับงบประมาณกอสรางอาคารเอนกประสงค เปนเงิน งบประมาณ แบบ สปช.202/26 จาํ นวน 1 หลงั เปนเงนิ งบประมาณ 220,000 บาท 1 เมษายน 2529 โรงเรียนไดรับอนมุ ตั ิใหป รบั ปรุงตําแหนง ผบู รหิ ารโรงเรียนจากตาํ แหนงครูใหญ เปนตําแหนงอาจารยใหญ พ.ศ.2530 ไดรับงบประมาณกอสรางอาคารเรียน สปช.105/2529 จํานวน 8 หองเรียน จํานวน 1 หลัง เปนเงิน 1,000,000 บาท ทําการกอสรางแลวเสร็จในปการศึกษา 2532 และใน เดียวกันคณะกรรมการการศึกษา คณะครูและผูปกครองนักเรียน ไดรวมสบทบทุนกอสรางประปา โรงเรยี น เปน เงิน 50,000 บาท

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 2563-2565 2 โรงเรียนบานระตะ พ.ศ.2533 นายจาํ นงค รตั นะ ไดยายไปดาํ รงตาํ แหนงใหม ทางราชการจึงไดยาย นายอัส ทอง แกว มาดํารงตาํ แหนงแทน พ.ศ.2536 นายอัส ทองแกว ไดเสียชีวิตลง ทางราชการจึงไดยายนายสุชาติ สุริยันยงค มา ดํารงตําแหนง แทน พ.ศ.2538 กรรมการโรงเรียน คณะครูและผูปกครองนักเรียน ไดรวมกันหารายไดกอสรางร้ัว คอนกรตี เปนเงิน 445,000 บาท พ.ศ.2541 โรงเรียนไดเ ขา โครงการโรงเรียนปฏิรูปการศกึ ษาและโครงการโรงเรยี นสีขาว พ.ศ.2542 ไดรบั งบประมาณปรบั ปรงุ ระบบไฟฟาภายในโรงเรยี นเปน จาํ นวนเงิน 220,000 บาท พ.ศ.2543 ไดรับงบประมาณกอสรา งลานกีฬาเอนกประสงค เปนเงนิ 100,000 บาท 1 ตลุ าคม 2544 โรงเรยี นไดรับอนมุ ัตใิ หปรับปรุงตาํ แหนงผูบริหารโรงเรียนจากตําแหนงอาจารย ใหญเ ปนตาํ แหนง ผอู าํ นวยการโรงเรียน พ.ศ.2546 คณะครู กรรมการสถานศกึ ษา ผูป กครองนักเรียนและศิษย ไดรวมกันจัดงานครบรอบ 50 ปของโรงเรียน มีเงินรายได จํานวน 150,000 บาท นํามาจัดสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หนา อาคารเรยี น ขนาดความกวา ง 5.50 เมตร หนา 0.10 เมตร ระยะทางยาว 150 เมตร พ.ศ. 2547 โรงเรียนบานระตะ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากบริษัททรานส ไทย – มาเลเซีย เปน จํานวนเงิน 20,000 บาท คณะครู กรรมการสถานศกึ ษา ผปู กครองและศษิ ย รวมสมทบเปนจํานวน เงิน 30,000 บาท รวมทง้ั สิ้น 50,000 บาท จัดสรางถนนคอนกรีตตอเติมขนาดกวาง 6 เมตร หนา 10 ซม. ระยะทางยาว 50 เมตร ในบรเิ วณโรงเรยี น พ.ศ. 2549 ตามคําส่ังสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 3 ท่ี 480/2549 ยาย นายสชุ าติ สุริยันยงค ใหด าํ รงตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนบานตะเคียนเภา และแตงตั้งใหนายเชาว แซลม่ิ มาดํารงตาํ แหนง ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบา นระตะ ตัง้ แตว ันท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2549 เปนตนมา พ.ศ. 2550 โรงเรียนบานระตะ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากบริษัททรานส ไทย – มาเลเซีย เปนจํานวนเงิน 90,000 บาท จดั สรางถนนคอนกรตี ตอเติมขนาดกวาง 5 เมตร หนา 13 ซม. ระยะทาง ยาว 75 เมตร และไมน อ ยกวา 375 ตารางเมตร ในบรเิ วณโรงเรียน พ.ศ. 2556 คณะครู กรรมการสถานศึกษา ผปู กครองนักเรียนและศิษยเกา ไดระดมทุนและจัด เลย้ี งนํ้าชา เพ่ือซ้ือทด่ี นิ ปลกู ผักในโครงการเศรษฐกิจพอเพียง เปนจํานวนเงิน 170,000 บาท พ.ศ. 2557 ไดเงินงบแปรญัตติจากสภาผูแทนราษฎร นายถาวร เสนเนียม เปนจํานวน 1,000,000 บาท สรางสนามบาสเกต็ บอล พ.ศ. 2557 โรงเรียนบานระตะ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากบริษัททรานส ไทย – มาเลเซีย เปนจาํ นวนเงนิ 90,000 บาท สรา งศาลาทีอ่ า นหนังสอื และทีพ่ ักผูป กครองนกั เรียน พ.ศ. 2559 โรงเรียนบานระตะไดร ับงบประมาณจากบริษัท SCG เปน จํานวนเงิน 170,000 บาท สรางศูนยก ารเรียนรเู ศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2563-2565 3 โรงเรียนบานระตะ พ.ศ.2561 โรงเรียนบานระตะไดร บั เงินบรจิ าคจากนางสาวสุดา ฤาชา เปนจํานวน 30,000 บาท เพอ่ื กอสรา งโรงคัดแยกขยะ พ.ศ.2562 โรงเรียนบา นระตะไดกอสรางเสาธงที่มีลานออกกําลังกายและหองเก็บเครื่องเสียง ใช งบประมานจํานวนเงนิ 140,000 บาท ไดร บั งบประมาณจากบรษิ ัททรานส ไทย-มาเลเซีย เปนจํานวนเงิน 100,000 บาท คณะครู-บคุ ลากรโรงเรียนบานระตะ จํานวน 40,000 บาท พ.ศ.2562 โรงเรยี นบา นระตะไดกอสรางหลงั คาเชื่อมระหวา งอาคารเรียนกับโรงอาหาร โดยไดรับ เงนิ บริจาคจากครูสณุ ี เมฆธรรมและครอบครวั เปนจาํ นวนเงนิ 100,000 บาท ปจจุบันโรงเรียนเปดสอนต้ังแตระดับชั้นอนุบาล 3 ขวบ ถึงช้ันประถมศึกษาปที่ 6 มีจํานวน หองเรียนทั้งสิ้นจํานวน 9 หองเรียน มีจํานวนขาราชการครู 3 คน พนักงานราชการ 2 คน ครู วทิ ยาศาสตร จาํ นวน 1 คน ครูอัตราจา ง จาํ นวน 1 คน ครูพ่เี ล้ยี งเด็กปฐมวัย 1 คน นักการภารโรง - คน มีนกั เรียนระดบั ปฐมวยั จํานวน 21 คน ระดับประถมศึกษา จํานวน 70 คน รวม 91 คน เปด ทําการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 – ช้ัน ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 1.2 สภาพทว่ั ไปของโรงเรยี นบานระตะ ที่ตั้งเลขท่ี หมูท ี่ 3 บา นระตะ ตําบลพงั ลา อําเภอสะเดา จงั หวดั สงขลา 90170 เปด สอน ต้งั แตร ะดบั ชนั้ อนบุ าล 1 ถึงระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 สงั กดั สาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงลา เขต 3 สภาพสังคม สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน เปนสังคมเมืองก่ึงชนบท บริเวณใกลเคียง โดยรอบโรงเรียนเปนชุมชนไทยพุทธ อาชีพหลักของชุมชน คือ รับจางกรีดยาง ประชากรนบั ถือศาสนาพุทธ ผูปกครองสว นใหญจ บการศกึ ษาระดับประถมศึกษา รายไดโดยเฉลยี่ ตอครอบครวั ตอ ป 30,000 บาท เขตบริการโรงเรยี น การรับนักเรียนในเขตบรกิ าร โรงเรียนบา นระตะมเี ขตบรกิ ารรับนักเรียนในพนื้ ท่ี ดงั นี้ 1. หมทู ่ี 3 บา นระตะ ตาํ บลพังลา อาํ เภอสะเดา จํานวนครัวเรอื นทง้ั สิ้น 208 ครัวเรือน 2. หมทู ่ี 4 บา นแมนา้ํ ตําบลพังลา อาํ เภอสะเดา จาํ นวนทง้ั สิน้ 114 ครัวเรือน และยังมีนักเรียนจากหมทู ี่ 5 ตําบลเขามีเกียรติ อําเภอสะเดา และนักเรยี นจากหมทู ่ี 2 ตาํ บลพงั ลา อาํ เภอสะเดา บางสวนมาเขาเรยี นที่โรงเรียนบานระตะดว ย

4 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563-2565 โรงเรยี นบา นระตะ อาณาเขต ทิศเหนือ จด ถนน รพช. ทางเขา หมูบานระตะ ทศิ ใต จด ที่ดินนายฮง ฉุน ทิศตะวันออก จด ท่ีดนิ สาธารณะ ทิศตะวนั ตก จด ทางเดินสาธารณะ การคมนาคม โรงเรียนบานระตะ จากถนนกาญจนวนิช สายหาดใหญ-สะเดา ไปทางทิศตะวันออกเปน ถนนลาดยางระยะทาง 500 เมตร (แผนผังเขตบริการในภาคผนวก) การเดินจากโรงเรียนถึงสถานท่ี ราชการและหนว ยงานอน่ื ทเ่ี กี่ยวขอ ง 1. จากโรงเรยี นถงึ สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สงขลา เปนระยะทาง 57 กโิ ลเมตร 2. จากโรงเรียนถงึ สํานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เปนระยะทาง 57 กิโลเมตร 3.จากโรงเรียนถงึ อําเภอสะเดา เปนระยะทาง 18 กิโลเมตร 4. จากโรงเรยี นถงึ สาํ นกั งานเครือขายเขามีเกยี รตพิ งั ลา เปน ระยะทาง 5 กโิ ลเมตร 5. จากโรงเรียนถงึ สถานตี าํ รวจภูธรครองแงะ เปน ระยะทาง 5 กิโลเมตร 6. จากโรงเรียนถึงสถานอี นามัยคลองแงะ เปนระยะทาง 5 กิโลเมตร 7. จากโรงเรียนถงึ โรงเรียนกอบกลุ วทิ ยาคม(โรงเรียนมธั ยมในเขตบริการ) เปนระยะทาง 4 กโิ ลเมตร การเดินทางตดิ ตอ -รถโดยสารประจําทางสายหาดใหญ– ปาดงั เบซาร/ หาดใหญ–ดานนอก ผานปากทาง เขาโรงเรียนทุก 30 นาที - รถยนตร บั จางสองแถวเลก็ สายคลองเงาะ – สะเดา ผา นปากทางเขาทุก 15 นาที จากปากทางเขา ถึง โรงเรยี นไมม ีรถรบั จาง -รถจกั รยานยนตร ับจางจากตลาดคลองแงะ ถงึ โรงเรียนระยะทาง 5 กิโลเมตร คา โดยสาร 40 บาท

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2563-2565 5 โรงเรยี นบานระตะ 1.3 แผนผังโรงเรียนบา นระตะ N 13 11 12 1 3 8 10 97 6 5 3 43 2 1.อาคารเรียน 2 ช้ัน สญั ลักษณ 3.หอ งน้ํา 4.บานพัก 2. อาคารเรยี นชั้นเดยี ว 6.หอ งศลิ ปะ 7.โรงอาหาร 9.สวนเศรษฐกิจพอเพียง 10.สวนหยอม 5.อาคารเรยี นอนบุ าล 12.เสาธง 13.สนามบอล 8.โรงยมิ 11.โรงแยกขยะ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563-2565 6 โรงเรยี นบานระตะ 1.4 ขอ มลู เชงิ ปรมิ าณของโรงเรยี น 1.4.1 ขอมูลบคุ ลากรของโรงเรียน โรงเรียนบานระตะมขี าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมท้ังสิ้น 10 คน ประกอบดวย ผบู ริหาร 1 คน ขา ราชการครู 3 คน พนกั งานราชการ 2 คน บคุ ลากรวทิ ยาศาสตร 1 คน ครูอัตราจาง 1 คน ครูพเ่ี ล้ียงเดก็ ปฐมวัย 1 คน และเจา หนาท่ีธุรการ 1 คน มรี ายละเอยี ด ดังน้ี ท่ี ช่ือ-สกลุ ตําแหนง วฒุ ิ วชิ าเอก 1 นายสรุ เดช แสงจนั ทร ผอ.โรงเรยี น กศ.ม. การบริหารการศึกษา 2 นายชยั วฒุ ิ หมาดนยุ ครู คศ.3 (2) ศษ.บ. พลศึกษา 3 นางภรณว ริ ัตน อภนิ นั ตชยั ครู คศ.3 (2) ค.บ. วทิ ยาศาสตรท ั่วไป 4 นางมณีนชุ ทองเหลอื ง ครู คศ.3 (2) ศศ.บ. การศึกษาชนบท 5 นายจตพุ ร ทองจันทร พนกั งานราชการ ค.บ. สงั คมศกึ ษา 6 นายธรกร กก เชวงนนั ท พนักงานราชการ ค.บ. คอมพวิ เตอรศึกษา 7 นางสาวฮานา กาเดร วทิ ยากรวิทยาศาสตร วท.บ.(ศ.ษ.) วทิ ยาศาสตร 8 นางสาวองั ควภิ า ณ แฉลม ครอู ตั ราจาง วทบ. วทิ ยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยีอาหาร 9 นางสาวนอู ัยณี ครพู ี่เล้ียงเดก็ ปฐมวยั ปวส. ปฐมวัย 10 นางสาวสาลนิ ี กอ แกว เจาหนา ทธ่ี รุ การ บช.บ. การบญั ชี 1.4.2 ขอมลู นกั เรยี นโรงเรียนบา นระตะ นักเรียนโรงเรียนบานระตะ เปดทําการเรียนการสอนตั้งแตระดับช้ัน อนุบาล 1 ถึงช้ัน ประถมศึกษาปท ่ี 6 โดยมีขอมูล 3 ปยอนหลงั ตามระดับชัน้ ได ดังนี้ ระดับชน้ั 2561 2562 2563 อนบุ าล 3 ขวบ ( อ.1 ) 8 8 11 อนบุ าล 4 ขวบ ( อ.2 ) 9 7 9 อนบุ าล 5 ขวบ ( อ.3 ) 11 11 7 รวมปฐมวัย 28 26 27 ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 1 15 12 14 ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 2 7 15 13 ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 3 12 8 13 ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 10 13 8

7 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563-2565 โรงเรียนบา นระตะ ระดบั ชัน้ 2561 2562 2563 ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 5 11 11 12 ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6 รวมระดับประถมศกึ ษา 14 12 8 รวมท้ังหมด 69 72 68 97 98 95 3. ท่ดี นิ และสิง่ กอสรางของโรงเรียนบานระตะ ที่ ลักษณะอาคาร/แบบ สรางเมื่อ จาํ นวนหลัง/ งบประมาณ หมายเหตุ (พ.ศ.) หอ ง 1. อาคารเรียน แบบ ป.1 ก 2502 1/4 38,0000 2. อาคารเรยี น แบบ ป.1 ตกึ 2522 240,000 1/4 (สข.01) ก 2530 3. อาคารเรยี น แบบ สปช.105/29 2528 1/8 1,092,000 5. อาคารอเนกประสงคแ บบ สปช. 1 220, 000 2531 202/2 1 110,000 6. บานพกั ภารโรงแบบ สปช. 2508 2515 2 8,400 304/28 2554 1 5,500 7. สวม แบบ อื่นๆ 1 99,500 8. สว ม แบบ อนื่ ๆ 9. สนามกีฬาอเนกประสงค แบบ กรมพลศึกษา สาธารณปู โภค • มไี ฟฟาใช • ระบบนํ้าประปาใชร ะบบสูบเขา แท็งกเกบ็ นาํ้ และระบบประปาหมบู า น • การตดิ ตอ สื่อสารโทรศพั ทและอนิ เทอรเนต็ ความเร็วสูง(ADSL)

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563-2565 8 โรงเรยี นบา นระตะ 3. ขอ มลู คุณภาพการศกึ ษา 3.1 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O – NET) จากผลการประเมินผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O – NET) ปการศกึ ษา 2562 ในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 นักเรียนจาํ นวน 12 คน ผลปรากฏวา โรงเรยี นบา นระตะมคี ะแนน เฉล่ยี สูงกวาระดับประเทศในรายวชิ าภาษาไทยและรายวชิ าวทิ ยาศาสตร มีรายละเอียด ดงั น้ี ตารางเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O–NET) ปก ารศกึ ษา 2561 – 2562 ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 6 รหัส กลุม สาระการเรียนรู คะแนน คา เฉลย่ี โรงเรยี น คาเฉล่ยี สังกัด คา เฉลยี่ ประเทศ วิชา เต็ม 2561 2562 ผลตา ง 2561 2562 ผลตา ง 2561 2562 ผลตาง 91 ภาษาไทย 100 57.80 50.94 -6.06 54.61 47.95 -6.66 55.90 49.07 -6.83 93 ภาษาองั กฤษ 100 36.75 26.25 -10.50 35.47 30.86 -4.61 39.24 34.42 -4.82 94 คณติ ศาสตร 100 29.00 28.75 -0.25 35.65 31.60 -4.05 37.50 32.90 -4.60 95 วทิ ยาศาสตร 100 40.20 37.91 -2.29 38.83 34.30 -4.53 39.93 35.55 -4.38 3.2 ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาระดบั ชาติพน้ื ฐาน (NT) จากผลการประเมินผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (NT) ปการศึกษา 2562 ในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 3 นักเรียนจํานวน 10 คน ผลปรากฏวาโรงเรียนบานระตะมีคาเฉล่ียอยูใน ระดับสูงกวาระดับสังกัดและระดับประเทศ ในดานการคํานวณ สวนในดานภาษาและดานเหตุผลอยูใน ระดบั ต่ํากวา เขตพื้นที่ ระดับสงั กดั และระดับประเทศ รายละเอียด ดงั นี้ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (NT) ปการศึกษา 2562 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3 ความสามารถ การอานออกเสียง คะแนนเฉลยี่ รอ ยละ รวม 2 สมรรถนะ 96.18 การอา นรเู รอื่ ง 91.34 ระดับโรงเรียน 62.66 67.48 ระดบั เขตพนื้ ท่ี 86.50 ระดบั ประเทศ 68.50 70.66 72.29 72.81

9 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563-2565 โรงเรยี นบา นระตะ ตารางเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ีย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (NT) ปก ารศึกษา 2561 – 2562 สมรรถนะ ปการศกึ ษา 2561 ปก ารศึกษา 2562 ผลตางระหวางปก ารศึกษา การอา นออกเสยี ง 93.77 96.18 2.41 การอา นรเู รือ่ ง 86.88 86.50 -0.38 รวม 2 สมรรถนะ 90.33 91.34 1.01 4. ขอมูลคุณภาพการศกึ ษา ปการศึกษา 2562 โรงเรียนบานระตะ ทําการวัดและประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน ระดบั ชน้ั ป.1 – ป.6 8 กลมุ สาระ 9 วชิ า คอื ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคม ฯ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานฯ ภาษาอังกฤษ และประวัติศาสตร โดยสรุปผลผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นเปนรอ ยละได ดังน้ี ขอมูลคุณภาพการศกึ ษา ปก ารศกึ ษา 2563 – 2565 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน(%) ระดบั ชน้ั ป.1 – ป.6 ปก ารศกึ ษา 2563 – 2565 ชั้น ภาษาไทย คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร สงั คมฯ 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 ป.1 60.77 60.50 59.07 60.33 60.69 60.71 61.53 62.23 62.14 61.20 62.88 61.29 ป.2 75.18 77.02 77.43 79.57 78.56 80.00 82.33 81.79 82.43 68.00 70.00 68.93 ป.3 48.73 50.77 47.21 49.98 48.73 47.50 55.89 54.47 55.86 50.25 46.23 45.14 ป.4 63.69 62.67 64.36 64.33 65.00 65.21 69.83 68.00 68.07 57.83 55.88 56.86 ป.5 47.23 49.70 46.43 49.79 48.63 47.36 45.72 47.93 46.64 48.87 46.22 46.29 ป.6 62.67 57.59 59.57 60.55 59.98 60.64 62.83 63.59 61.39 58.73 58.99 59.71 เฉลยี่ 59.71 59.71 59.01 60.76 60.27 60.24 63.02 63.00 62.76 57.48 56.70 56.37 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียน(%)ระดบั ชนั้ ป.1 – ป.6 ปการศกึ ษา 2563 – 2565 ชน้ั สขุ ศกึ ษาฯ 2560 ศิลปะ 2562 การงานฯ ภาษาองั กฤษ 2560 2561 2562 2561 2560 2561 2562 2560 2561 2562 ป.1 65.74 66.00 67.07 62.46 63.10 63.36 65.44 68.90 65.21 59.02 58.73 58.21 ป.2 84.44 80.50 84.50 79.35 80.17 80.36 78.20 80.25 82.71 65.40 66.10 66.07 ป.3 52.77 53.00 53.14 55.80 52.00 53.43 54.98 55.63 53.86 46.70 47.10 47.36 ป.4 65.67 65.93 67.93 62.85 61.59 63.71 69.71 69.82 68.50 55.40 56.40 56.43 ป.5 46.00 47.67 47.71 51.88 52.20 52.29 48.00 49.20 47.50 41.88 42.60 42.86 ป.6 70.67 69.25 70.50 68.00 67.00 67.07 64.83 65.90 65.43 56.80 55.40 53.43 เฉล่ยี 64.22 63.73 65.14 63.39 62.68 63.37 63.53 64.95 63.87 54.20 54.39 54.06

10 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2563-2565 โรงเรียนบา นระตะ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน(%)ระดบั ชน้ั ป.1 – ป.6 ปก ารศึกษา 2563 – 2565 ชัน้ ประวตั ศิ าสตร คอมพวิ เตอร หนาทพ่ี ลเมอื ง 2560 2561 2562 2560 2561 2562 2560 2561 2562 ป.1 60.30 59.60 60.64 62.70 62.88 63.07 66.55 67.40 67.64 ป.2 70.69 70.00 71.07 76.30 76.59 77.29 81.70 80.33 82.00 ป.3 47.50 45.60 45.07 49.79 50.11 50.21 49.89 50.62 49.79 ป.4 55.90 56.98 57.79 68.00 68.75 69.50 74.90 74.50 75.93 ป.5 46.77 45.30 45.29 50.20 49.26 50.36 51.20 52.18 52.14 ป.6 57.00 57.85 57.29 63.78 62.66 63.93 68.90 69.41 69.36 เฉลีย่ 56.36 55.89 56.19 61.80 61.71 62.39 65.52 65.74 66.14 5. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม โรงเรยี นบานระตะไดร ับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ. รอบสอง เมื่อวันที่ 18 และ 21 - 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2556 สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม จาํ แนกตามกลมุ ตัวบง ชี้ของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน : ประถมศกึ ษา การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน นา้ํ หนกั คะแนน ระดับ (ประถมศกึ ษา) (คะแนน) ทไี่ ด คณุ ภาพ กลมุ ตัวบง ชีพ้ น้ื ฐาน ดมี าก ดีมาก ตัวบง ชี้ท่ี 1 ผเู รียนมี สุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี 10.00 9.53 ดีมาก ตัวบง ชท้ี ี่ 2 ผเู รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค 10.00 9.62 ดี ดี ตัวบง ชท้ี ี่ 3 ผเู รียนมีความใฝร ู และเรยี นรูอยา งตอ เน่ือง 10.00 9.27 ดีมาก ดมี าก ตวั บงชท้ี ี่ 4 ผูเรียนคดิ เปน ทาํ เปน 10.00 8.82 ดมี าก ตัวบงชี้ท่ี 5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียน 20.00 12.40 ดีมาก ตัวบง ชที้ ี่ 6 ประสิทธผิ ลของการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปน สําคญั 10.00 10.00 ดีมาก ตัวบง ชี้ที่ 7 ประสทิ ธิภาพของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษา 5.00 5.00 ตัวบงช้ที ่ี 8 พฒั นาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษาและ 5.00 4.79 ตนสังกัด กลมุ ตัวบงช้อี ตั ลักษณ ตัวบง ชี้ท่ี 9 ผลการพฒั นาใหบ รรลตุ ามปรชั ญา ปณิธาน/วสิ ยั ทศั น พนั ธกจิ 5.00 5.00 และวตั ถุประสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบง ชี้ท่ี 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เนนและจุดเดน ทีส่ งผลสะทอนเปน 5.00 5.00 เอกลกั ษณของสถานศกึ ษา

11 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563-2565 โรงเรียนบา นระตะ กลมุ ตัวบง ชมี้ าตรการสงเสริม ตวั บง ชท้ี ่ี 11 ผลการดาํ เนินงานโครงการพิเศษเพ่อื สงเสริมบทบาทของ 5.00 5.00 ดีมาก สถานศึกษา ตวั บงชี้ที่ 12 ผลการสงเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐานรกั ษา 5.00 5.00 ดมี าก มาตรฐานและพฒั นาสคู วามเปนเลศิ ท่ีสอดคลอ งกับแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา คะแนนรวม 100.00 89.43 ดี การรบั รองมาตรฐานสถานศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา ผลคะแนนรวมทุกตัวบงชี้ ตั้งแต 80 คะแนนขึน้ ไป ใช ไมใ ช มีตวั บง ช้ที ีไ่ ดระดับดีข้ึนไปอยางนอย 10 ตวั บง ช้ี จาก 12 ตวั บง ช้ี ใช ไมใช ไมมีตวั บง ชใ้ี ดทมี่ ีระดับคุณภาพตอ งปรบั ปรุงหรอื ตอ งปรับปรงุ เรง ดวน ใช ไมใช สรุปผลการจดั การศกึ ษาระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานของสถานศึกษาในภาพรวม สมควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา ไมสมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา ตารางสรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม จําแนกเปน รายมาตรฐานตามกฎกระทรวง ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน : ประถมศกึ ษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน นํ้าหนัก คะแนน ระดบั คุณภาพ (ประถมศกึ ษา) (คะแนน) ท่ไี ด ดมี าก มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่วา ดว ยผลการจัดการศกึ ษา ดีมาก ดีมาก กลมุ ตัวบงชพ้ี ้นื ฐาน ดี ดี ตัวบงชท้ี ี่ 1 ผูเรียนมี สุขภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี 10.00 9.53 ดมี าก ตัวบงชี้ที่ 2 ผเู รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมทีพ่ งึ ประสงค 10.00 9.62 ดีมาก ตัวบง ช้ที ี่ 3 ผเู รียนมคี วามใฝร ู และเรียนรอู ยางตอเนอ่ื ง 10.00 9.27 ตวั บงช้ที ี่ 4 ผเู รยี นคิดเปน ทาํ เปน 10.00 8.82 ตวั บง ชท้ี ี่ 5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผูเ รียน 20.00 12.40 กลมุ ตวั บง ชอ้ี ตั ลักษณ ตัวบง ช้ีท่ี 9 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณธิ าน/วิสยั ทศั น พนั ธกิจ 5.00 5.00 และวัตถปุ ระสงคข องการจัดต้งั สถานศกึ ษา ตัวบงช้ที ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจดุ เดนทส่ี ง ผลสะทอนเปน 5.00 5.00 เอกลกั ษณของสถานศกึ ษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2563-2565 12 โรงเรยี นบานระตะ กลมุ ตัวบงช้มี าตรการสงเสริม ตัวบงช้ีท่ี 11 ผลการดําเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพื่อสงเสริมบทบาทของ 5.00 5.00 ดีมาก สถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานทวี่ าดวยการบรหิ ารจดั การ กลุมตัวบงช้ีพนื้ ฐาน ตัวบงชท้ี ่ี 7 ประสิทธิภาพของการประกันคณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษา 5.00 5.00 ดีมาก กลมุ ตวั บงชม้ี าตรการสง เสริม ตวั บง ชท้ี ่ี 12 ผลการสงเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดับมาตรฐานรักษา 5.00 5.00 ดมี าก มาตรฐานและพฒั นาสูความเปนเลิศทสี่ อดคลอ งกับแนวทางการปฏริ ูป การศึกษา มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานทีว่ า ดวยการจัดการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน ผเู รียนเปน สําคัญ กลุมตวั บง ชพี้ น้ื ฐาน ตัวบง ชที้ ่ี 6 ประสทิ ธผิ ลของการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปน สําคญั 10.00 10.00 ดีมาก มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานที่วา ดวยการประกันคุณภาพภายใน กลมุ ตัวบง ชีพ้ ื้นฐาน ตวั บง ช้ที ่ี 8 พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและตน 5.00 5.00 ดีมาก สังกัด คะแนนรวม 100.00 89.43 ดี ขอ เสนอแนะเพ่ือพฒั นา 1.ดา นผลการจัดการศึกษา 1) ผูเรียนควรไดรับการพัฒนาใหมีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) สูงขึ้นในกลุมสาระท่ีได ระดับตาํ่ กวา ดี ซึ่งไดแก กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร โดยการนําเสนอขา วประจาํ วนั บางครั้งเปนขาว ท่มี เี รอื่ งราวเก่ียวกับวิทยาศาสตร กิจกรรมแขงขันทางวิทยาศาสตร ปฏิบัติการทดลองทางวิทยาศาสตร อยางงา ยๆ ผูเ รียนสรุปองคความรู ดว ยแผนผงั ความคดิ สง เสรมิ เนอ้ื หาสาระตางๆ ผูเรยี นไดทําโครงงาน รายงาน รายงานผลการเรียนรูหนา ชั้นเรียนทดสอบความคดิ รเิ รม่ิ ทดสอบแกป ญ หา กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร โดยการนําเสนอขาว ประจําวันบางครั้งเปนขาวที่มีเรื่องราวเก่ียวกับวิทยาศาสตร กิจกรรมการแขงขันทางวิทยาศาสตร ปฏบิ ตั ิการทดลองทางวทิ ยาศาสตรอยางงายๆ และกลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา โดยการฝก ทกั ษะใหผ เู รียนไดป ฏิบตั จิ ริง และจดั กิจกรรมการสอนซอมเสรมิ อยางสม่ําเสมอมกี ารประเมนิ ผลและนําผล การประเมนิ นํามาปรับปรงุ แกไขอยางตอเนื่องเพื่อใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับดีข้ึนไปทุก กลุม สาระการเรยี นรู

13 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 2563-2565 โรงเรยี นบา นระตะ 3) ผเู รยี นควรไดรับการพฒั นาทกั ษะทางดานการคิด รจู ักตดั สินใจ และแกปญหาอยางสรางสรรค โดยการจดั กจิ กรรมใหผ เู รียนรูจักแยกแยะขอมูลขาวสาร ปญหา และสถานการณรอบตัว วิพากษวิจารณ และประเมินสถานการณรอบตัวดวยหลักเหตุผล และขอมูลท่ีถูกตอง รับรูปญหา สาเหตุของปญหา หาทางเลือก และตัดสนิ ใจแกปญหา ในสถานการณต างๆ ไดอ ยา งเหมาะสม และพฒั นาทักษะการปรับตัว เขากับสังคม โดยการจัดกิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพ่ือสังคม และสาธารณะประโยชน ในลักษณะของ อาสาสมคั ร เพื่อชว ยขัดเกลาจิตใจของผูเรียนใหมีความเมตตากรุณา มีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะ เพ่ือชว ยสรา งสรรคสังคมใหอ ยูรวมกนั อยา งมคี วามสุข การนําผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกไปใช ตามที่สมศ.ใหคาํ แนะนาํ ทางโรงเรยี น ผูเรยี นประถมศึกษา ควรไดร ับการฝกทักษะในดานการคิด นอกกรอบ การคดิ วิจารญาณและคดิ ไตรต รองทางโรงเรยี นไดด ําเนนิ การดงั นี้ 1. ไดจัดทําโครงการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 2. จัดกิจกรรมกลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร โดยการนําเสนอขาวประจําวันเปนขาวเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร กิจกรรมการแขงขันวิทยาศาสตร ปฏิบัติการทดลอง สรุปความองคความรูดวยแผนผัง ความคิด ผูเรียนไดทําโครงงาน และกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา โดยการฝกทักษะได ปฏิบัตจิ ริง 4. จัดกจิ กรรมพฒั นาทักษะการคดิ การตัดสินใจ การแกป ญ หาอยา งสรางสรรค 5. จัดกจิ กรรมชมุ นุมกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน 6. พฒั นาครู ใหมีการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทเี่ นน ผูเ รยี นเปนสําคัญ สงเสริมใหครูผลิตสื่อ การทาํ วจิ ัยในชน้ั เรียน

สว่ นท่ี 2 สภาพปัจจบุ ันของสถานศึกษา การวิเคราะห์ SWOT ของโรงเรยี นบ้านระตะ โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์ SWOT สภาพต่าง ๆ ของโรงเรียนบ้านระตะ ได้ตระหนักถึง ปจั จัยต่าง ๆ ท่ีเป็นสภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียน และ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน ตลอดจนกลุ่มผู้ มสี ่วนเกย่ี วข้องกับโรงเรียน (Stakeholders) ซึ่งอาจมีผลกระทบ ทั้งทางบวกและทางลบต่อแนวทางการ พัฒนาของโรงเรียน จึงจาเป็นท่ีโรงเรียนต้องมีหลักเกณฑ์ และแนวทาง การดาเนินงานที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เพ่ือให้สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ท้ังนี้เพ่ือความอยู่รอด (Survive) และความเจรญิ กา้ วหนา้ (Growth) ของโรงเรยี น โดยได้สรุปเกี่ยวกับ จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และ อปุ สรรค /ข้อจากัด/ภยั คุกคาม (Threats) ของโรงเรยี นหลายประการ ดังนี้ 1. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP) 2. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร (2S4M) ผลการวิเคราะหอ์ งค์กร SWOT Analysis ของโรงเรยี นบ้านระตะ มีดังน้ี 1 สภาพแวดล้อมภายนอก STEP จากการจัดทา SWOT Analysis ของโรงเรียนบ้านระตะ โดยใช้การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (External Environment) ใช้หลัก STEP ได้ผล ดังนี้ STEP โอกาส (+)(Opportunities) อุปสรรค(-)(Threats) 1. ด้านสังคมแลวัฒนธรรม (S) 1.ชุมชนให้ความร่วมมือในด้าน 1.ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีฐานะ (Socio-cultural Factor : S) ทรัพยากรวิชาการทาให้โรงเรียน ยากจนประกอบอาชพี รบั จา้ ง ไม่ สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมี มีเวลาดูแลนักเรียน ขาดวัสดุ ประสิทธิภาพ อุปกรณ์ส่งเสริมการเรียน ส่งผล 2.ชุมชนและหน่วยงานท้องถิ่น กร ะทบต่อ ผลก าร เรี ยนขอ ง ร่ ว ม กั น อ นุ รั ก ษ์ ป ร ะ เ พ ณี นักเรียน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน 2.ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีปัญหา ส่ ง ผ ล ใ ห้ นั ก เ รี ย น มี แ ห ล่ ง ด้านครอบครัวแตกแยก ส่งผล การศึกษาและทาให้นักเรียนมี กร ะทบต่อ ผลก าร เรี ยนขอ ง แบบอยา่ งท่ดี ี นักเรียน 3 . ผู้ ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ห็ น 3.สภาพแวดล้อมรอบ ๆ โรงเรียน ความสาคญั ดา้ นการศกึ ษาและให้ มีส่ิงย่ัวยุ ล่อแหลม เป็นสังคม การส่งเสริมสนับสนุนนักเรียน กงึ่ เมอื งกง่ึ ชนบท ดา้ นการศึกษาเปน็ อยา่ งดี

15 STEP โอกาส (+)(Opportunities) อุปสรรค(-)(Threats) 2. ดา้ นเทคโนโลยี (T) (Technological Factor : T) 1 . ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ท า ง ด้ า น 1.บุคลากรขาดความชานาญใน 3. ดา้ นเศรษฐกิจ (E) เ ท ค โ น โ ล ยี ( ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ก า ร ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ (Economic Factor : E) อินเตอร์เน็ต) ทาให้นักเรียนมี เทคโนโลยกี ารศกึ ษา 4. ด้านการเมอื งและกฎหมาย (P) (Political and Legal ความต้องการบริโภค ส่งผลให้ 2.อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการจัดการเรียน Factor : P) นักเรียนเกิดความรอบรู้และ การสอนไม่เพียงพอ ไม่ทันสมัย สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วย และขาดการซอ่ มบารงุ ตนเอง 3. ระบบเครือข่าย internet เสีย 2 . ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ใ ช้ บ่อย ทาให้การใช้งานจัดการ เทคโนโลยีจึงให้การส่งเสริม เรยี นการสอนขาดประสทิ ธภิ าพ สนับสนุน ส่งผลทาให้มีส่ือการ เรียนการสอนคอมพิวเตอร์ ใน การจัดการเรยี นการสอน 1. นโยบายเรียนฟรี 15 ปี ไม่ 1.ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีอาชีพ เสียค่าใช้จ่ายของรัฐบาล ทาให้ รับจ้างไม่ม่ันคง และมีรายได้ แบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายขอ ง นอ้ ยไม่แน่นอน ส่งผลกระทบต่อ ผู้ปกครอง นักเรียนมีโอกาสมาก การเรียนของนกั เรียน ขึ้น 2. งบประมาณท่ีได้รับ การ จดั สรรจากรฐั ในการจดั การศึกษา มีจานวนจากัดและผู้ปกครองมี ฐานะยากจน 1.การดาเนินงานของ โรงเรียน 1.ผู้ปกครองบางส่วนไม่เข้าใจ เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก เ พ ร า ะ นโยบายปฏิรูปการศึกษา ขาด พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า ความรู้เรื่องกฎหมายและ พ.ร.บ. แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ฉบับแก้ไข การศึกษาส่งผลให้ขาดความ เพิ่มเติม พ.ศ. 2545 และฉบับ ร่วมมอื ในการจัดการศึกษา แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2553 ทาให้ 2.ความไม่ต่อเน่ืองของ นโยบาย ครูมีการพัฒนาตนเองและจัด จัดการศึกษาเนื่องจากมีการ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ี เปล่ียน แปลงโ ครงสร้ างการ หลากหลายมาก บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร 2. นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็ม ปฏริ ปู การศกึ ษาท่ยี งั ไม่แล้วเสร็จ ตามศักยภาพ ตลอดจนการได้รับ

16 STEP โอกาส (+)(Opportunities) อปุ สรรค(-)(Threats) การสนับสนุนในด้านต่าง ๆจาก องค์กรส่วน ท้องถ่ินและชุมชน อันเน่ืองมาจากพระราชบัญญัติ การกระจายอานาจส่งผลให้เกิด การพฒั นาและเพม่ิ ประสิทธภิ าพ ในการจดั การศึกษามาก 2 สภาพแวดลอ้ มภายใน 2S4M การวเิ คราะห์ปัจจัยภายในใช้หลกั 2S4M พบว่าปัจจัยภายใน(Internal Environment) มี ประเดน็ ดังน้ี 2S4M จดุ แขง็ (+)(Strength) จดุ อ่อน(-)(Weakness) 1. ดา้ นโครงสร้างและนโยบาย 1.โรงเรียนกาหนดนโยบายและ 1 . ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม น โ ย บ า ย (S1) (Structure : S1 ) แผนงานครอบคลุมทุกสายงาน บางส่วน ยังไม่ได้ประสิทธิภาพ ของบคุ ลากรทุกฝ่าย ส่งผลทาให้ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ตี ง้ั ไว้ ได้รับความร่วมมือจากบุคลากร 2.ครูจานวนจากัดและมีความ ทุกคนเปน็ อย่างดี จาเป็นที่ ครูส่วนหน่ึงต้องทาการ 2.มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธ สอนไมต่ รงกับสาขาวิชาเอก แต่ก็ กิจ และเป้าหมายดาเนินงาน ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียน ชัดเจน ส่งผลให้สามารถนาเป็น การสอนอย่างตอ่ เนื่อง ทิศทางในการจัดการศึกษาได้ 3.ต้องปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ๆไ ม่ อย่างถกู ตอ้ ง เก่ียวกับการเรียนการสอนควบคู่ 3.การบริหารงานของโรงเรียนมี ไปดว้ ย การกระจายอานาจตาม โครงสรา้ งอยา่ งชัดเจน ทาให้การ บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง โ ร ง เ รี ย น มี ประสิทธภิ าพมากขึ้น 2. ดา้ นผลผลิตและการบรกิ าร 1 . โ ร ง เ รี ย น จั ด ก า ร บ ริ ห า ร 1.นักเรียนขาดความสนใจในการ (S2) Produce and Service : การศึกษาอย่างท่ัวถึง ทาให้ ใช้แหล่งเรียนรู้โดยเฉพาะการรัก S2) ผ้เู รยี นได้รับโอกาสทางการศึกษา การอ่าน ส่งผลให้ได้รับ อยา่ งเสมอภาคและท่ัวถงึ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ไ ม่ ห ล า ก ห ล า ย

17 2 . โ ร ง เ รี ย น มี ร ะ บ บ ป ร ะ กั น เทา่ ท่คี วร คุณภาพการศึกษา ทาให้ 2 . ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร สามารถยกระดับการบริการและ ส ถ า น ศึ ก ษ า ยั ง ไ ม่ ค ร บ ถ้ ว น นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ สมบูรณ์ ส่งผลให้นักเรียนมี เรียนโดยเฉล่ียดีข้ึน ศึกษาต่อใน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่าใน ระดับทสี่ งู ข้ึน 100  กล่มุ สาระหลัก 3.โรงเรียนเป็นสถานที่บริการ 3.เครือ่ งเลน่ และสนามเด็กเล่นไม่ สาหรับชุมชนในการออกกาลัง เพียงพอต่อการใชบ้ รกิ ารตอ่ ภาระ กายมปี ระชาชนในชุมชนได้เขา้ มา งาน ใช้บริการ 3. ดา้ นบคุ ลากร (M1) (Man : 1.บุคลากรของโรงเรียนมีวุฒิทาง 1.โรงเรียนมีบุคลากรท่ีสอนไม่ M1) การศกึ ษาระดับปริญญาตรี และ ตรงกับสาขาวิชาที่มีวุฒิ ทาให้ 4. ด้านประสทิ ธิภาพทางการเงนิ (M2) (Money : M2) ได้รับการสนับสนุนการพัฒนาใน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ดี ทุกด้าน ท้ังด้านความรู้ เทา่ ทค่ี วร ความสามารถ ทักษะการทางาน 2.บุคลากรบางส่วนขาดความ ในโอกาสต่างๆกัน บุคลากรมี ชานาญในการใช้เทคโนโลยีและ ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง อปุ กรณส์ มยั ใหม่ สม่าเสมอ ส่งผลให้การจัด 3.บุคลากรใช้เทคนิควิธีการสอน การศึกษามปี ระสทิ ธภิ าพ ยังไมห่ ลากหลาย 2.บุคลากร ต้ังใจทางานอย่าง เต็มความสามารถ ส่งผลให้การ จัดการศึกษามปี ระสทิ ธภิ าพ 3.ครู มีคุณธรรมจริยธรรมเป็น แบบอย่างทด่ี ี มีความสามัคคี และมีการทางาน เปน็ หม่คู ณะ 1.การใช้งบประมาณโรงเรียน 1.การดาเนนิ งานดา้ นงบประมาณ โ ป ร่ ง ใ ส ส า ม า ร ถ ติ ด ต า ม ไม่คลอ่ งตวั ผู้บรหิ าร ครู ต้องใช้ ตรวจสอบได้ เงนิ ส่วนตัวสารองจ่ายในการ 2.การจัดสรรงบประมาณสาหรับ ดาเนินการ ซ้ืออุปกรณ์ การเรียนการสอนมี 2.ขาดงบประมาณสนบั สนุนดา้ น เพียงพอกับความตอ้ งการ เทคโนโลยพี ัฒนาศกั ยภาพ

18 3.มีการจัดทาบัญชีการเงินอย่าง นกั เรียนทนั สมยั เป็นระบบ ทาให้สะดวกต่อการ คน้ หาและตรวจสอบได้ 2S4M จุดแขง็ (+)(Strength) จดุ อ่อน(-)(Weakness) 5. ด้านวัสดอุ ปุ กรณ(์ M3) (Material : M3) 1.โรงเรียนมีส่ืออุปกรณ์เพียงพอ 1.ห้องพิเศษต่างๆไม่เพียงพอ 6. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ(M4) ในระดับหนึ่ง สามารถนาไป ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพ (Management : M4) สนับสนุนการจัดกิจกรรมการ การเรียนรลู้ ดลง เรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 2.การซ่อมแซมอุปกรณ์ล่าช้า ไม่ 2.โรงเรียนมีงบประมาณจัดหา ทันตอ่ การใชง้ าน วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการเรียนการสอน 3.ระบบอินเตอร์เน็ตเสียบ่อย ทา อย่างเต็มที่ ส่งผลให้การจัด ให้ใช้ในการรับทราบข่าวสาร การศกึ ษามีประสิทธิภาพมากข้ึน ลา่ ช้า 4.ระเบียบการจดั ซ้ือจัดจา้ ง ทาให้ การดาเนนิ การตา่ ง ๆ ไม่คล่องตัว เทา่ ท่คี วร 1 . ร ะ บ บ บ ริ ห า ร มี ก า ร แ บ่ ง 1.มีการประสานงานและการ โครงสร้างบริหารงานท่ีชัดเจน ประชาสัมพันธ์น้อย การกากับ เหมาะสม ส่งผลให้การปฏิบัติงาน ติดตามงานบางโครงการขาด สาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ คว ามต่อ เน่ือ ง เนื่อง จาก มี 2.โรงเรียนมีแผนและโครงการ จานวนครู-บุคลากรไม่ครบช้ัน เพ่ือใช้ในการพัฒนาโรงเรียน 2.ระบบสารสนเทศมีหลายระบบ อย่างตอ่ เนอ่ื ง สง่ ผลใหก้ ารจดั การ และไม่เช่ือมโยงทาให้เกิดภาระ การศึกษามปี ระสิทธภิ าพ งานในการจัดทาท่ีซ้าซ้อน ภาระ 3.โรงเรียนมีระบบสารสนเทศที่ดี งานมาก ส่งตอ่ การใชข้ อ้ มูลทาได้รวดเร็ว มี 3 . ง า น น โ ย บ า ย มี ก า ร ประสทิ ธภิ าพ เปล่ียนแปลงบ่อย และมีภาระ 4.การเบิกจ่ายเงินเป็นไปตาม การรายงานด้านเอกสารมากทา ระเบียบของทางราชการ ให้มีอุปสรรคในการจัดการเรียน 5.การบริหารจัดการผู้บริหารมี การสอนให้มีประสทิ ธิภาพ ภาวะความเป็นผู้นา มีคุณธรรม จริยธรรม 6.ครู ทุกคน มีศักยภาพในการ

19 ทางานตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย 7.โรงเรียนมีการประชาสัมพันธ์ กับผู้ปกครอง ชุมชน วิทยากร ท้องถ่ินและหน่วยงานต่าง ๆ ใน ท้องถิ่นเสมอทาให้ได้รับความ ร่วมมือด้วยดี ส่งผลทาให้เกิด ประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนการ สอน ตารางสรปุ ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก ปจั จยั น้าหนัก x ค่าเฉลยี่ ผลการ ภายนอก น้าหนกั คา่ เฉล่ีย (5 คะแนน) วเิ คราะห์ โอกาส อปุ สรรค โอกาส อุปสรรค 1.10 0.78 โอกาส S 0.3 3.67 2.60 1.05 0.80 T 0.3 3.50 2.67 0.4 0.3 E 0.1 4.00 3.00 1.35 0.75 P 0.3 4.50 2.50 3.90 2.63 1 1.27 สรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก

20 ตารางสรุป ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ปจั จัยภายใน น้าหนัก คา่ เฉล่ยี (5 คะแนน) นา้ หนัก x ค่าเฉลยี่ ผลการ วเิ คราะห์ จดุ แข็ง จดุ อ่อน จุดแข็ง จดุ อ่อน S1 0.1 4.67 2.33 0.47 0.23 จุดแขง็ S2 0.3 4.33 3.33 1.30 0.99 M1 0.3 4.67 3.00 1.40 0.99 M2 0.1 4.67 3.50 0.47 0.35 M3 0.1 4.00 2.50 0.40 0.25 M4 0.1 4.14 3.00 0.41 0.30 4.45 3.03 1 1.42 สรปุ ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน

กราฟแสดงผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในแล S โ จุดแข็ง 5 4 3 2 1 4.45 1.42 5 4 3 2 1 -1 -2 -3 -4

21 ละสภาพแวดล้อมภายนอก ของโรงเรยี นบา้ นระตะ O โอกาส 3.90 1.27 W จุดออ่ น -3.03 -1 -2 -3 -4 -5 -2.63 T อุปสรรค

สว นที่ 3 กรอบและทิศทางการพัฒนา ในการกาํ หนดยุทธศาสตรและแนวทางพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นบา นระตะ ไดศกึ ษา ตามกรอบทศิ ทางการพัฒนาจากหนวยงานหลักดังนี้ นโยบายของตนสงั กดั โรงเรยี นบานระตะ โรงเรยี นบานระตะ สงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๓ ไดนอมนํา พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิร เกลาเจาอยูหัว ดานการศึกษา กรอบยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป พ.ศ.2561-2580 แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายรัฐบาล จุดเนนนโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน แผนพฒั นาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต นโยบายการพัฒนาการศึกษาจังหวัดสงขลา และบริบทตาง ๆ ท่ีเก่ียวของมาเช่ือมโยงกับ อํานาจหนาท่ีของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 และกําหนดเปนกรอบ แนวทางในการจัดทาํ แผนปฏิบัติการ ประจําปการศึกษา พ.ศ.2563 ของโรงเรียนบานระตะ สํานักงาน เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. พระบรมราโชบาย ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสินทร มหาวชริ าลงกรณฯ พระวชริ เกลา เจา อยูหวั พระบรมราโชบาย ดานการศกึ ษา พระองคท า นตองการสรา งใหค นไทยมคี ณุ สมบัติ 4 ดา น คอื 1. มีทศั นคตทิ ด่ี แี ละถกู ตอง - มีความรคู วามเขาใจตอ ชาติบานเมอื ง - ยดึ ม่นั ในศาสนา - ม่นั คงในสถาบนั พระมหากษัตรยิ  - มคี วามเออื้ อาทรตอ ครอบครัว และชุมชนของตน 2. มีพน้ื ฐานชวี ติ ทีม่ ัน่ คงเขมแข็ง - รจู กั แยกแยะส่งิ ที่ผิด-ชอบ/ชัว่ -ดี - ปฏบิ ัติสงิ่ ทีช่ อบ ส่งิ ทีด่ ีงาม - ปฏิเสธส่ิงท่ผี ดิ สง่ิ ทช่ี วั่ - ชว ยกันสรา งคนดใี หแกบา นเมอื ง 3. มงี านทาํ มีอาชพี - เล้ยี งดลู กู หลานในครอบครวั หรือการฝกฝนอบรมในสถานศกึ ษาตอ งมุงใหเดก็ และ เยาวชนรกั งาน สูง าน ทาํ จนงานสําเรจ็

23 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบา นระตะ - การฝกฝนอบรมท้ังในหลกั สูตรและนอกหลักสูตร ตองมีจุดมุงหมายใหผูเรียนทํางาน และมีงานทําในท่สี ดุ - ตองสนับสนุนผสู าํ เร็จหลกั สตู รมีอาชีพ มงี านทาํ จนสามารถเลีย้ งตวั เองและครอบครัว ได 4. เปนพลเมอื งดมี ีระเบียบวินยั - การเปน พลเมอื งดี เปน หนา ทข่ี องทกุ คน - ครอบครัว สถานศึกษา และสถานประกอบการ ตองสงเสริมใหทุกคนมีโอกาสทํา หนาท่ีพลเมอื งดี - การเปนผลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะทําเพ่ือบานเมืองไดก็ตองทํา เชน งาน อาสาสมัคร งานบําเพญ็ ประโยชน งานสาธารณกุศล ใหท ําดว ยความมีน้าํ ใจและเอื้ออาทร” 2. ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติไดกําหนดกรอบยุทธศาสตรแหงชาติ ระยะ 20 ป พ.ศ.2561-2580 เพ่ือใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ป โดยกําหนดวิสัยทัศน เปา หมายและยทุ ธศาสตร ดงั น้ี วสิ ัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง” และเปนคติพจนป ระจาํ ชาติวา “มนั่ คง มงั่ คั่ง ย่ังยนื ” เปา หมาย 1. ความมน่ั คง 1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและภายนอก ประเทศในทุกระดับ ทั้งระดบั ประเทศ สงั คม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล และมีความม่ันคงในทุก มติ ิ ทงั้ มติ ิเศรษฐกจิ สังคม สิ่งแวดลอ ม และการเมอื ง 1.2 ประเทศมีความมนั่ คงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ท่ีเขมแขง็ เปนศนู ยก ลางและที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความมั่นคงเปนกลไกท่ีนําไปสู การบริหารประเทศทตี่ อ เน่อื งและโปรง ใสตามหลักธรรมาภิบาล 1.3 สังคมมคี วามปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชน มีความเขม แขง็ ครอบครวั มีความอบอุน 1.4 ประชาชนมคี วามม่ันคงในชีวิต มีงานและรายไดที่มั่นคงพอเพียงกับการดํารงชีวิต มีท่ีอยูอาศัย และความปลอดภัยในชีวติ ทรัพยส ิน 1.5 ฐานทรพั ยากรและสิ่งแวดลอม มคี วามม่ันคงของอาหาร พลังงาน และน้าํ

24 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบานระตะ 2. ความมัง่ ค่ัง 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเน่ือง ยกระดับเปนประเทศในกลุมรายไดสูง ความเหลื่อมล้ําของการพัฒนาลดลง ประชากรไดรบั ผลประโยชนจ ากการพัฒนาอยา งเทา เทียมกนั มากข้ึน 2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแขงขันสูง สามารถสรางรายไดท้ังภายในและภายนอก ประเทศ สรางฐานเศรษฐกิจและสังคมแหงอนาคต และเปนจุดสําคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาค ท้ังการคมนาคมขนสง การผลิต การคาการลงทุนและการทําธุรกิจ มีบทบาทสําคัญในระดับภูมิภาคและระดับโลก เกิดสายสัมพนั ธท างเศรษฐกจิ และการคา อยางมพี ลัง 2.3 ความสมบูรณใ นทุนท่ีจะสามารถสรางการพฒั นาคนอยา งตอเน่ือง ไดแก ทุนมนุษย ทุนทางปญญา ทุน ทางการเงิน ทุนท่ีเปนเคร่ืองมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 3. ความย่งั ยนื 3.1 การพฒั นาที่สามารถสรา งความเจรญิ รายได และคุณภาพชีวติ ของประชาชนใหเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง ซ่ึงเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไมใชทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดีไมสรางมลภาวะตอ สงิ่ แวดลอ มจนเกนิ ความสามารถในการรองรบั และเยียวยาของระบบนิเวศน 3.2 การผลิตและการบริโภคเปนมติ รกับสิ่งแวดลอม และสอดคลองกับกฎระเบียบของประชาคม โลก ซ่ึงเปนที่ยอมรับรวมกัน ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีคุณภาพดีข้ึน คนมี ความรับผิดชอบตอ สังคม มีความเออ้ื อาทร เสียสละเพอื่ ผลประโยชนส วนรวม 3.3 ประชาชนทกุ ภาคสว นในสงั คมยึดถอื และปฏบิ ตั ิตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วัตถปุ ระสงค 1. เพื่อสรางความปรองดองสมานฉนั ท 2. เพ่อื เพิม่ กระจายโอกาสและคุณภาพการใหบริการของรัฐอยา งทัว่ ถงึ เทาเทียม เปน ธรรม 3. เพือ่ ลดตนทนุ ใหภาคการผลิตและบริการ 4. เพ่อื เพมิ่ มลู คา สนิ คาเกษตร อุตสาหกรรม และบรกิ ารดวยนวตั กรรม ยทุ ธศาสตร 1. ยุทธศาสตรดานความมน่ั คง 2. ยุทธศาสตรด านการสรา งความสามารถในการแขง ขัน 3. ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพคน 4. ยุทธศาสตรดา นการสรา งโอกาสความเสมอภาคและเทาเทยี มกันทางสังคม 5. ยุทธศาสตรด า นการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ท่เี ปนมิตรกับสง่ิ แวดลอ ม 6. ยุทธศาสตรด า นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั

25 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบานระตะ เปาหมาย 1. ยทุ ธศาสตรด า นความม่ันคง มีเปา หมายดงั นี้ 1.1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 1.2 การพัฒนาศักยภาพในการปองกันประเทศพรอมรับมือกับภัยคุกคามทั้งทางทหาร และ ภยั คุกคามอื่นๆ 1.3 บูรณาการความรวมมือกับตางประเทศที่เอื้อใหเกิดความม่ันคงความม่ังคั่งทางเศรษฐกิจ ปอ งกนั ภยั คุกคามขามชาติ และคณุ ภาพชวี ิตของคนในชาติ 1.4 การรกั ษาความมั่นคงและผลประโยชนทางทรัพยากรธรรมชาติและทางทะเล 1.5 การบริหารจัดการความมั่นคงใหสอดคลองกันแผนงานพัฒนาอ่ืนๆ เพื่อชวยเหลือ ประชาชนและรวมพัฒนาประเทศ 2. ยทุ ธศาสตรด านการสรางความสามารถในการแขงขนั มเี ปาหมายดงั นี้ 2.1 การพัฒนาภาคการผลติ และบรกิ าร 2.2 การพฒั นาสงั คมผปู ระกอบการ (Entrepreneurial Society) เพอ่ื สรางผปู ระกอบการทางธรุ กิจ 2.3 การพฒั นาปจจยั สนบั สนนุ และการพัฒนาโครงสรา งพนื้ ฐานเพอื่ เพ่มิ ขดี ความสามารถในการ แขง ขนั 2.4 การวางรากฐานที่แข็งแกรง เพอื่ สนบั สนุนการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขนั 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน มีเปา หมายดังน้ี 3.1 การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม (Transformation of Culture) เพือ่ สรา งคนไทย ทีม่ คี ณุ ภาพ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย 3.2 การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว งชีวิต 3.3 การปฏิรปู การเรียนรแู บบพลิกโฉม (Transformation of Learning) 3.4 การพฒั นาและรักษากลุมผูมีความสามารถพิเศษ (Talents) 3.5 การเสรมิ สรางใหคนไทยมสี ุขภาวะทีด่ ี 3.6 การสรางความอยดู ีมีสขุ ของครอบครัวไทย 4. ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งโอกาสความเสมอภาคและเทา เทียมกันทางสังคม มีเปาหมาย ดังนี้ 4.1 การสรา งความม่นั คงทางเศรษฐกิจและสงั คมรวมทั้งความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสินของ คนทกุ กลุมในสงั คม 4.2 การสรา งโอกาสการเขาถงึ บรกิ ารทางสงั คมอยา งทัว่ ถึง 4.3 การเสรมิ สรา งพลงั ทางสงั คม 4.4 การสรางความสมานฉนั ทใ นสงั คม

26 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบานระตะ 5. ยุทธศาสตรดานการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทเี่ ปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอม มี เปาหมายดงั นี้ 5.1 จดั ระบบอนรุ กั ษ ฟนฟูและปองกนั การทําลายทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 วางระบบบริหารจดั การนาํ้ อยางบรู ณาการใหมีประสิทธิภาพใน 25 ลมุ นํา้ ทง้ั ดานอปุ สงค และอปุ ทาน 5.3 พฒั นาและใชพลงั งานทเ่ี ปน มิตรกบั สิง่ แวดลอมในทกุ ภาคเศรษฐกจิ 5.4 พัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศและเมืองทีเ่ ปนมิตรกับสงิ่ แวดลอ ม 5.5 รว มลดปญหาโลกรอนและปรับตัวใหพ รอ มรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.6 ใชเครอื่ งมอื ทางเศรษฐศาสตรและนโยบายการคลังเพอื่ สง่ิ แวดลอ ม 6. ยุทธศาสตรดานการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มเี ปา หมายดงั นี้ 6.1 การวางระบบบริหารงานราชการแบบบรู ณาการ 6.2 การยกระดับงานบริการประชาชนและการอํานวยความสะดวกของภาครฐั สคู วามเปน เลศิ 6.3 การปรบั ปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสรา งของหนว ยงานภาครัฐ 6.4 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การกําลงั คนและพฒั นาบุคลากรภาครฐั ในการปฏิบัติราชการ และมคี วามเปน มอื อาชพี 6.5 การตอ ตานการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ 6.6 การปรับปรุงแกไขกฎหมาย ระเบียบ และขอ บังคับใหม ีความชัดเจน ทนั สมยั เปน ธรรม และสอดคลองกับขอ บงั คับสากลหรือขอตกลงระหวา งประเทศ 3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 12 มีวตั ถุประสงคและเปาหมายในการพัฒนา ดงั นี้ วัตถปุ ระสงค 1. เพือ่ วางรากฐานใหคนไทยเปน คนทีส่ มบรู ณ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีระเบยี บ วินัย คานิยมท่ีดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุน ตลอดจน เปนคนเกงที่มี ทักษะความรูความสามารถและพัฒนาตนเองไดตอเน่อื งตลอดชีวิต 2. เพื่อใหคนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ไดรับความเปนธรรมในการเขาถึง ทรพั ยากรและบรกิ ารทางสังคมที่มีคุณภาพ ผูดอยโอกาสไดรับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความ เขม แข็งพึง่ พาตนเองได

27 แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2563 - 2565 โรงเรียนบา นระตะ 3. เพื่อใหเศรษฐกิจเขมแข็ง แขงขันได มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืนสรางความเขมแข็งของ ฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหมโดยการใชนวัตกรรมที่เขมขนมากข้ึนสรางความเขมแข็ง ของเศรษฐกิจ ฐานราก และสรา งความม่ันคงทางพลงั งาน อาหาร และน้ํา 4. เพื่อรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมใหสามารถสนับสนุนการ เติบโตทเ่ี ปน มติ รกบั สิ่งแวดลอ มและการมีคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ขี องประชาชน 5. เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินมีประสิทธิภาพ โปรงใส ทันสมัย และมีการทางานเชิง บรู ณาการของภาคีการพัฒนา 6. เพื่อใหมีการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค โดยการพัฒนาภาคและเมืองเพ่ือรองรับการ พฒั นายกระดับฐานการผลิตและบริการเดมิ และขยายฐานการผลิตและบรกิ ารใหม 7. เพ่อื ผลักดันใหประเทศไทยมคี วามเชือ่ มโยงกบั ประเทศตางๆ ท้ังในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติไดอยางสมบูรณและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งใหประเทศไทยมีบทบาทนาและสรางสรรคใน ดา นการคาการบรกิ ารและการลงทนุ ภายใตกรอบความรวมมือตางๆ ท้ังในระดับอนุภูมิภาคภูมิภาค และ โลก เปา หมายรวม เพอื่ ใหเปน ไปตามวตั ถุประสงค จงึ ไดกาํ หนดเปา หมายรวมการพฒั นาของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประกอบดวย 1. คนไทยมคี ณุ ลักษณะเปนคนไทยท่ีสมบรู ณ 2. ความเหลอื่ มล้ําทางดา นรายไดแ ละความยากจนลดลง 3. ระบบเศรษฐกิจมีความเขม แขง็ และแขง ขนั ได 4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดลอมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้าํ 5. มีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคีสรางภาพลักษณดี และเพิ่ม ความเชือ่ ม่นั ของนานาชาตติ อ ประเทศไทย 6. มีระบบบรหิ ารจดั การภาครัฐที่มีประสทิ ธิภาพ ทันสมยั โปรง ใสตรวจสอบได กระจายอํานาจ และมีสว นรว มจากประชาชน ยุทธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 มียุทธศาสตรในการพัฒนาประเทศ จํานวน 10 ยุทธศาสตร โดยมี 6 ยุทธศาสตรตามกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป และอีก 4 ยุทธศาสตรท่ีเปนปจจัย สนับสนนุ ดงั น้ี 1. การเสริมสรางและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย 2. การสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าในสงั คม

28 แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2563 - 2565 โรงเรียนบานระตะ 3. การสรา งความเขม แขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขงขนั ไดอยา งย่งั ยนื 4. การเตบิ โตท่ีเปน มติ รกบั สิ่งแวดลอ มเพือ่ การพฒั นาทย่ี ั่งยนื 5. การเสรมิ สรางความม่นั คงแหง ชาติเพ่ือการพฒั นาประเทศสคู วามม่ังคงั่ และยัง่ ยืน 6. การบรหิ ารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบ และธรรมาภบิ าลใน สังคมไทย 7. การพฒั นาโครงสรา งพืน้ ฐานและระบบโลจิสติกส 8. การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม 9. การพัฒนาภาค เมือง และพนื้ ท่ีเศรษฐกจิ 10. ความรว มมอื ระหวา งประเทศเพอ่ื การพฒั นา 4. นโยบายรัฐบาล คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีแถลงตอ รัฐสภา เมอ่ื วันพฤหสั บดที ่ี 25 กรกฎาคม 2562 ประเทศไทยมกี ารพัฒนาอยางตอเนื่องผานวิสัยทัศนและการขับเคล่อื นการพัฒนาของผนู ํา ประเทศในอดตี และในวันนีว้ ิสยั ทศั นในการขบั เคล่ือนประเทศของรัฐบาลชุดน้ี คือ“มุงมนั่ ใหประเทศไทย เปนประเทศที่พฒั นาแลว ในศตวรรษท่ี 21” โดยรฐั บาลไดก ําหนดนโยบายในการบรหิ ารราชการแผนดนิ ดังน้ี นโยบายหลกั 12 ดาน 1. การปกปองและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษตั ริย 2. การสรา งความมัน่ คงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ 3. การทาํ นบุ ํารงุ ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม 3.2 ปลูกฝง คานยิ มและวัฒนธรรมทด่ี ที ้ังดา นคุณธรรม จริยธรรมกตัญู ความซื่อสัตย การมีวินัย เคารพกฎหมาย มีจิตสาธารณะและการมีสวนรวมทําประโยชนใหประเทศ และเปนพลเมืองท่ีดี โดย สง เสริมใหสถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคมและชุมชนเปนฐานในการบมเพาะ สงเสริมใหภาคเอกชน ดําเนนิ ธุรกิจอยางมีธรรมาภบิ าล ใหสอื่ มีบทบาทกระตุน และสรา งความตระหนักในคานิยมที่ดี รวมถึงผลิต สอื่ ทีม่ คี ณุ ภาพและมีความรับผดิ ชอบและเปดพนื้ ท่ีสาธารณะใหป ระชาชนไดแสดงออกอยางสรา งสรรค 4. การสรา งบทบาทของไทยในเวทโี ลก 5. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแขง ขนั ของไทย 6. การพฒั นาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสูภมู ิภาค 7. การพัฒนาสรา งความเขม แขง็ จากฐานราก

29 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบา นระตะ 8. การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูและการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทุกชว งวัย 8.1 สงเสริมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 8.1.1 จัดใหม รี ะบบพฒั นาเด็กแรกเกิดอยางตอ เนือ่ งจนถงึ เด็กวยั เรียนใหมโี อกาสพัฒนาตาม ศักยภาพ เพ่ือสรา งคนไทยที่มีพฒั นาการเตม็ ตามศักยภาพผา นครอบครวั ที่อบอุนในทุกรปู แบบครอบครวั เพอ่ื สง ตอการพัฒนาเด็กไทยใหมีคุณภาพสูการพัฒนาในระยะถดั ไปบนฐานการใหค วามชว ยเหลือท่ี คาํ นึงถึงศกั ยภาพของครอบครวั และพื้นที่ เตรยี มความพรอมการเปน พอแม ความรูเร่อื งโภชนาการและ สขุ ภาพ การอบรมเลีย้ งดู การสง เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยผานการใหบรกิ ารสาธารณะท่ีเก่ยี วขอ ง โดยเฉพาะการยกระดบั คณุ ภาพสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ทัว่ ประเทศใหไ ดมาตรฐาน และพัฒนาศกั ยภาพ ของบุคลากรทางการศึกษาและผูดูแลเดก็ ปฐมวัยใหส ามารถจดั การศกึ ษาไดอ ยา งมคี ุณภาพ 8.1.2 สงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคํานงึ ถงึ พหปุ ญญาที่หลากหลายของเดก็ แตล ะคนให ไดร บั การสงเสริมและพฒั นาอยางเต็มตามศักยภาพ ผา นการออกแบบการจัดการเรียนรทู เ่ี ชอื่ มโยงกบั ระบบโรงเรียนปกติท่ีเปนระบบและมีทศิ ทางทีช่ ัดเจน 8.2 พัฒนาบัณฑติ พนั ธใุ หม 8.2.1 ปรบั รปู แบบการเรยี นรแู ละการสอนเพอื่ พัฒนาทกั ษะและอาชพี ของคนทุกชว งวัยสาํ หรับ ศตวรรษที่ 21 โดยปรับโครงสรางหลักสตู รการศกึ ษาใหท ันสมยั มกี ารนําเทคโนโลยแี ละการเรยี นรูผ าน ประสบการณจริงเขามามีสวนในการจดั การเรยี นการสอน และปรบั ระบบดงึ ดูด การคัดเลอื ก การผลิต และพัฒนาครู ทีน่ ําไปสกู ารมคี รูสมรรถนะสูงเปน ครูยุคใหมที่สามารถออกแบบและจัดระบบการสราง ความรู สรา งวินัย กระตุน และสรา งแรงบันดาลใจ เปด โลกทัศนมมุ มองของเด็กและครดู วยการสอนในเชงิ แสดงความคิดเห็นใหมากข้นึ ควบคกู บั หลักการทางวิชาการ 8.2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของผูเรียนท้ังในสวน ฐานความรูและระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ และตรงกับความตองการของประเทศในอนาคต และเปนผูเรียนท่ีสามารถปฏิบัติไดจริงและสามารถกํากับการเรียนรูของตนเองได รวมถึงมีทักษะ ดานภาษาอังกฤษและภาษาที่สามท่ีสามารถส่ือสารและแสวงหาความรูได มีความพรอมทั้งทักษะความรู ทักษะอาชีพ และทกั ษะชีวิตกอ นเขาสูตลาดแรงงาน 8.3 พัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวิชาชีพ และพัฒนาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม ๔.๐ โดยการ จัดระบบและกลไกความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชนท่ีชัดเจนเปนระบบในการพัฒนา กําลังคนท่ีมีทักษะขั้นสูงใหสามารถนําความรูและทักษะมาใชในการแกไขปญหา รวมถึงการสรางและ พัฒนานวตั กรรม ซ่งึ ตองครอบคลุมการพัฒนากําลังคนท่ีอยูในอุตสาหกรรมแลว กําลังคนท่ีกําลังจะเขาสู อุตสาหกรรม และเตรียมการสําหรับผลิตกําลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีในอนาคต รวมท้ังเรงรัดและขยายผลระบบคุณวุฒิวิชาชีพ การยกระดับฝมือแรงงานในกลุม อุตสาหกรรมท่มี ศี ักยภาพและอตุ สาหกรรมทใ่ี ชแรงงานเขมขน 8.6 สงเสรมิ การเรียนรูและพฒั นาทักษะทุกชว งวยั

30 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบา นระตะ 8.6.1 มุงเนนการพัฒนาโรงเรียนควบคูกับการพัฒนาครู เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัด การศกึ ษาในทกุ ระดับบนพ้นื ฐานการสนบั สนุนที่คํานึงถึงความจําเปนและศักยภาพของสถาบันการศึกษา แตล ะแหง พรอ มท้ังจดั ใหม ีมาตรฐานขนั้ ต่าํ ของโรงเรียนในทกุ ระดับ และสรางระบบวดั ผลโรงเรียนและครู ท่สี ะทอนความรบั ผิดชอบตอ ผลลัพธท ีเ่ กิดกบั ผเู รียน คนื ครใู หน ักเรียนโดยลดภาระงานที่ไมจําเปน รวมถึง จัดใหมีระบบฐานขอมูลเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการเช่ือมโยงหรือสงตอขอมูลครอบครัว และผูเรียนระหวางหนวยงานตาง ๆ ตั้งแตแรกเกิดจนถึงการพัฒนาตลอดชวงชีวิต ตลอดจนพัฒนา ชอ งทางใหภาคเอกชนมีสวนรว มในการจัดการศึกษาและการเรียนรูต ลอดชีวิต 8.6.2 พัฒนาแพลตฟอรมการเรียนรูผานระบบดิจิทัล พรอมท้ังสงเสริมใหมีการนําเทคโนโลยี สารสนเทศและการสรางสรรคที่เหมาะสมมาใชในการเรียนการสอนออนไลนแบบเปดท่ีหลากหลายเพ่ือ สงเสริมการเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกับชวงวัย ตลอดจนพัฒนาแหลงเรียนรูและ อุทยานการเรียนรูสําหรับเยาวชนที่เช่ือมโยงเทคโนโลยีกับวิถีชีวิต และสงเสริมการเรียนการสอนท่ี เหมาะสมสาํ หรับผทู ี่เขา สสู งั คมสงู วยั 8.6.3 ลดความเหลื่อมลํ้า ทางการศกึ ษา โดยบรู ณาการการดาํ เนนิ งานระหวา งหนว ยจดั การศึกษากบั กองทนุ เพ่อื ความเสมอภาคทางการศึกษามงุ เนนกลุม เด็กดอ ยโอกาสและกลุมเด็กนอกระบบ การศกึ ษา ปรบั เปล่ยี นการจดั สรรงบประมาณใหสอดคลองกบั ความจาํ เปน ของผเู รียนและลักษณะพื้นท่ี ของสถานศกึ ษา จดั ระบบโรงเรยี นพ่ีเลี้ยงจบั ครู ะหวา งโรงเรียนขนาดใหญท ม่ี คี ณุ ภาพการศึกษาดีกบั โรงเรยี นขนาดเล็กเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการสงเสริมใหภาคเอกชนชมุ ชนในพ้ืนท่ีเขา มามี สวนรวมในการออกแบบการศกึ ษาในพืน้ ท่ี สนับสนนุ เดก็ ที่มคี วามสามารถ แตไ มมที นุ ทรัพยเปนกรณี พิเศษ ตลอดจนแกไ ขปญ หาหนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสรางหนีก้ องทุนเงินใหก ูย ืมเพอ่ื การศึกษา และทบทวนรปู แบบการใหก ยู ืมเพ่อื การศกึ ษาท่เี หมาะสม 8.6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกชวงวัย โดยกําหนดระบบท่ีเอ้ือตอการพัฒนาทักษะและเพ่ิม ประสิทธิภาพของทุกชวงวัย อาทิ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาใหเช่ือมโยงกับระบบคุณวุฒิ วชิ าชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพอ่ื เทยี บโอนความรูและประสบการณหนวยการเรียนท่ีชัดเจน สงเสริมเยาวชนท่ีมีศักยภาพดานกีฬาใหสามารถพัฒนาไปสูนักกีฬาอาชีพ การกําหนดมาตรฐานฝมือ แรงงาน การจัดใหมีระบบทสี่ ามารถรองรับความตองการพัฒนาปรับปรุงทักษะอาชีพของทุกชวงวัย เพ่ือ รองรับการเปล่ียนสายอาชีพใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงานที่อาจจะเปลี่ยนไปตามแนวโนม ความกาวหนาทางเทคโนโลยใี นอนาคต 8.7 จัดทําระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะส้ัน เนนออกแบบหลักสูตรระยะ ส้นั ตามความสนใจ พฒั นาทกั ษะตา ง ๆ ท่ีใชในการดํารงชีวิตประจําวันและทักษะอาชีพของคนทุกชวงวัย ในพืน้ ทีแ่ ละชุมชนเปนหลัก พรอมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนาเปนรูปแบบธนาคารหนวยกิต ซึ่งเปนการ เรยี นเกบ็ หนวยกติ ของวิชาเรยี นเพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนขามสาขาวิชาและขามสถาบันการศึกษา หรือ

31 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบานระตะ ทาํ งานไปพรอ มกนั หรือเลือกเรียนเฉพาะหลักสูตรที่สนใจ เพื่อสรางโอกาสของคนไทยทุกชวงวัยและทุก ระดับสามารถพฒั นาตนเองทั้งในดานการศกึ ษาและการดํารงชีวติ 9. การพฒั นาระบบสาธารณสุขและหลกั ประกันทางสังคม 10. การฟน ฟทู รัพยากรธรรมชาติและการรกั ษาส่งิ แวดลอมเพือ่ สรา งการเติบโตอยา งยงั่ ยนื 11. การปฏริ ูปการบริหารจัดการภาครัฐ 12. การปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ และกระบวนการยตุ ธิ รรม นโยบายเรงดวน 12 เร่ือง 1. การแกไขปญหาในการดํารงชวี ติ ของประชาชน การแกไขปญหาในการดํารงชีวิตของประชาชน โดยลดขอจํากัดในการประกอบอาชีพของ คนไทยการจัดการระบบการขนสงสาธารณะผานเทคโนโลยีดิจิทัล ทบทวนรูปแบบและมาตรฐานหาบเร แผงลอยในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล เพ่อื ยงั คงเอกลักษณของเมอื งหลวงแหงรานอาหารริมถนน ทาํ ใหบ า นเมืองเปน ระเบยี บเรียบรอยและสวยงาม แกไขปญ หาหน้สี นิ และลดภาระหนี้สนิ ของประชาชนใน กองทนุ หมบู า น กองทนุ เงนิ ใหกูยืมเพอ่ื การศึกษา หนี้สินนอกระบบ การฉอโกงหลอกลวงประชาชน โดยครอบคลุมไปถงึ การฉอ โกงหลอกลวงผานระบบออนไลน ปรับปรุงระบบภาษีและการใหสินเช่ือท่ีเอื้อ ใหป ระชาชนสามารถมที ่ีอยูอาศัยเปน ของตนเองไดต ามความพรอมปรับปรุงระบบที่ดินทํากินใหเกษตรกร สามารถเขา ถึงได จดั ทาํ แนวทางการกําหนดสิทธิและการจัดการสิทธิในที่ดินของเกษตรกรที่เหมาะสมลด อุปสรรคในธุรกิจประมงพาณิชยและประมงชายฝง รวมท้ังชวยเหลือดูแลประมงพื้นบาน โดยยังตอง สอดคลอ งกับมาตรฐานดานการประมงขององคก รระหวางประเทศ 2. การปรับปรงุ ระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 3. มาตรการเศรษฐกิจเพ่อื รองรับความผนั ผวนของเศรษฐกจิ โลก 4. การใหค วามชว ยเหลอื เกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม 5. การยกระดบั ศักยภาพของแรงงาน 6. การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสอู นาคต 7. การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 โดยสรางแพลตฟอรมการเรียนรูใหมในระบบดิจิทัล ปรบั ปรุงรูปแบบการเรยี นรูม งุ สูร ะบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตรเ ทคโนโลยดี า นวศิ วกรรม คณิตศาสตร โปรแกรมเมอรและภาษาตางประเทศสงเสริมการเรียนภาษาคอมพิวเตอร (Coding)ต้ังแตระดับ ประถมศึกษาการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพในทุกตําบลสงเสริมการพัฒนาหลักสูตรออนไลนของ สถาบันการศึกษาตางๆ เพื่อแบงปนองคความรูของสถาบันการศึกษาสูสาธารณะ เชื่อมโยงระบบ การศึกษากับภาคปฏิบัติจริงใน ภาคธุรกิจสรางนักวิจัยใหมและนวัตกรเพ่ือเพ่ิมศักยภาพดานเทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศสรางความรูความเขาใจการใชเทคโนโลยีดิจิทัล ส่ือออนไลน และโครงขาย สังคมออนไลนข องคนไทยเพือ่ ปองกนั และลดผลกระทบในเชิงสังคม ความปลอดภัย อาชญากรรมทางไซ

32 แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบานระตะ เบอร และสามารถใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือในการกระจายขอมูลขาวสารที่ถูกตอง การสรางความ สมานฉนั ทแ ละความสามคั คีในสงั คม รวมทั้งปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรมท่จี ําเปนในการดําเนินชวี ิต 8. การแกไ ขปญหาทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบในวงราชการท้งั ฝา ยการเมอื งและฝายราชการ ประจาํ 9. การแกไ ขปญหายาเสพติดและสรา งความสงบสุขในพืน้ ที่ชายแดนภาคใต 10. การพัฒนาระบบการใหบริการประชาชน 11. การจัดเตรยี มมาตรการรองรับภัยแลงและอทุ กภัย 12 การสนบั สนุนใหมีการศึกษา การรบั ฟงความเห็นของประชาชน และการดาํ เนินการเพอ่ื แกไ ข เพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนูญ 5. แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แนวคดิ การจดั การศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติประกอบดวยหลักการจัดการศึกษา เพ่ือปวงชน (Education for All) หลักการจัดการศึกษาเพ่ือความเทาเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีสวนรวมของ ทุกภาคสวนของสังคม (All for Education) อีกท้ังยึดตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs2030) ประเด็นภายในประเทศ (Local Issues) โดยนํายุทธศาสตรชาติ (National Strategy) มาเปนกรอบความคิดสําคัญในการจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ โดยมีวิสัยทัศน จุดมงุ หมาย เปา หมาย และยุทธศาสตร ดงั น้ี วิสยั ทัศน “คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอยางเปน สขุ สอดคลองกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มคี ุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ 2. เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคลองกับ บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติและยทุ ธศาสตรชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรูและคุณธรรม จริยธรรม รูรักสามัคคี และ รว มมือผนกึ กําลงั มงุ สกู ารพฒั นาประเทศอยา งย่ังยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เพ่ือนําประเทศไทยกาวขามกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลาง และความเหล่ือมลํ้า ภายในประเทศลดลง

33 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบา นระตะ เปาหมายดานผเู รียน เปา หมายดา นผูเ รียน (Learner Aspirations) โดยมุง พัฒนาผูเรียนทุกคนใหม ีคุณลักษณะและ ทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ประกอบดวยทกั ษะและคณุ ลกั ษณะตอ ไปน้ี 1. 3Rs ไดแก การอานออก (Reading) การเขียนได (Writing) และการคิดเลขเปน (Arithmetic ) 2. 8Cs ไดแก ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและทักษะในการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน (Cross – cultural Understanding) ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และภาวะผูนํา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะดานการส่ือสารสารสนเทศและการรูเทาทันส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู (Career and Learning Skills) และความมเี มตตากรุณามีวินัย คุณธรรม จริยธรรม Compassion) เปา หมายของการจดั การศึกษา เปาหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ประการ ซึ่งมีตัวชี้วัดเพ่ือการบรรลุเปาหมาย 53 ตวั ช้วี ัด ประกอบดว ย เปา หมายและตวั ชว้ี ัดท่ีสาํ คญั ดงั น้ี 1. ประชากรทุกคนเขา ถึงการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพและมมี าตรฐานอยา งทวั่ ถงึ (Access) 2. ผูเรียนทุกคน ทุกกลุมเปาหมายไดรับบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานอยางเทาเทียม (Equity) 3. ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผูเรียนใหบรรลุขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพ (Quality) 4. ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาท่ีคุมคาและ บรรลุเปา หมาย (Efficiency) 5. ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและกาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเปนพลวัตและบริบทท่ี เปล่ียนแปลง (Relevancy) ยทุ ธศาสตร การท่ีแผนการศึกษาแหง ชาติจะบรรลผุ ลตามวสิ ัยทศั นแ ละเปาหมายการจัดการศึกษาไดนน้ั จําเปน ตอ งกาํ หนดยทุ ธศาสตร 6 ยุทธศาสตรหลัก ประกอบดวย ยุทธศาสตรท ่ี 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลติ และพัฒนากําลงั คนการวิจยั และนวตั กรรมเพอ่ื สรางขดี ความสามารถ ในการแขง ขนั ของประเทศ

34 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบานระตะ ยุทธศาสตรท่ี 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ชว งวยั และการสรา งสงั คมแหง การเรียนรู ยุทธศาสตรท่ี 4 การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตรท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสรา งเสริมคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอม ยุทธศาสตรท่ี 6 การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา เปา หมายตามยุทธศาสตร ยุทธศาสตรท ่ี 1 : การจัดการศกึ ษาเพ่ือความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ มีเปา หมาย ดงั น้ี 1. คนทกุ ชวงวัยมคี วามรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2. คนทกุ ชว งวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใตและพนื้ ที่พเิ ศษไดร ับ การศกึ ษา และเรียนรูอยา งมีคุณภาพ 3. คนทกุ ชว งวยั ไดรบั การศกึ ษา การดแู ลและปอ งกันจากภยั คุกคามในชวี ติ รปู แบบใหม ยุทธศาสตรท ่ี 2 : การผลิตและพัฒนากาํ ลังคน การวิจยั และนวตั กรรรม เพื่อสรา งขีดความ สามารถในการแขงขันของประเทศ มีเปา หมาย ดังน้ี 1. กาํ ลงั คนมีทกั ษะทสี่ ําคญั จาํ เปนและมสี มรรถนะตรงตามความตอ งการของตลาดงานและการ พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2. สถาบนั การศึกษาและหนวยงานที่จัดการศกึ ษาผลติ บัณฑติ ท่มี ีความเช่ียวชาญและเปนเลิศ เฉพาะ 3. การวจิ ยั และพฒั นาเพือ่ สรางองคความรู และนวัตกรรมทสี่ รางผลผลติ และมลู คาเพม่ิ ทาง เศรษฐกิจ ยุทธศาสตรที่ 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู มี เปา หมาย 1. ผเู รยี นมที ักษะและคณุ ลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะท่ีจําเปน ในศตวรรษที่ 21 2. คนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรูความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ มาตรฐานวชิ าชีพ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดตามศกั ยภาพ 3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรอยางมี คุณภาพและมาตรฐาน 4. แหลงเรียนรู ส่ือตําราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเขาถงึ ไดโดยไมจาํ กดั เวลาและสถานท่ี 5. ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมินผลมีประสิทธิภาพ 6. ระบบการผลติ ครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดม าตรฐานระดับสากล

35 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบานระตะ 7. ครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ไดร บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยุทธศาสตรท ่ี 4 : การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา เทียมทางการศกึ ษา มี เปา หมาย 1. ผูเรยี นทุกคนไดร บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพ 2. การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผา นเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อการศึกษาสําหรับคนทกุ ชวงวัย 3. ระบบขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจุบัน เพ่ือ การวางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล ยุทธศาสตรที่ 5 : การจัดการศึกษาเพอื่ สรา งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน มิตรกบั สิ่งแวดลอ ม มี เปา หมาย 1. คนทุกชวงวัย มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู ารปฏบิ ัติ 2. หลักสูตร แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรูท่ีสงเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนาํ แนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูการปฏบิ ตั ิ 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับ สง่ิ แวดลอม ยทุ ธศาสตรท ่ี 6 : การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา มเี ปาหมาย ดังน้ี 1. โครงสรางบทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคลองตัวชัดเจน และ สามารถตรวจสอบได 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงผลตอคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา 3. ทกุ ภาคสว นของสังคมมสี วนรว มในการจดั การศกึ ษาทีต่ อบสนองความตองการของประชาชน 4. กฎหมายและรูปแบบการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรทางการศึกษารองรบั ลกั ษณะที่แตกตางกัน ของผูเ รียน สถานศกึ ษา และความตอ งการกําลังแรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศกึ ษามีความเปนธรรม สราง ขวญั กาํ ลงั ใจ และสงเสรมิ ใหปฏิบัตงิ านไดอ ยางเตม็ ตามศักยภาพ 6. นโยบายและจุดเนนของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อใหการดําเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ เปาหมายของแผนแมบทภายใต ยทุ ธศาสตรชาติ วัตถปุ ระสงคข องแผนปฏิรูปประเทศดานการศกึ ษาและนโยบายรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบาย เรงดวนเร่ืองการเตรียมคนสูศตวรรษที่ 21 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แหง

36 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบานระตะ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั นี้ หลกั การ 1. ใหความสําคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ท้ังผูเรียน ครูและบุคลากร ทางการศึกษา ขาราชการพลเรือน และผูบริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทและ เปนการศึกษาตลอดชีวติ 2. บูรณาการการทํางานรวมกันระหวางสวนราชการหลัก องคการมหาชนในกํากับของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหมีความคลองตวั รวมท้งั หนวงงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่ ภูมิภาคใหสามารถปฏิบตั งิ านรว มกันได เพื่อดําเนินการปฏิรปู การศึกษารวมกับภาครฐั ภาคเอกชน และภาค ประชาชน ตามนโยบายประชารัฐ ระดับกอ นอนบุ าล เนน ประสานงานกับสว นราชการ และชุมชน ในการเตรยี มความพรอมผูเรยี นในดานสุขภาพและ โภชนาการ และจัดประสบการณการเรยี นรูท่ีเชื่อมโยงกบั ระบบโรงเรียนปกติ ระดับอนุบาล เนน สรางความรวมมือกับพอ แม ผูปกครอง และชมุ ชน เพื่อออกแบบกิจกรรมการพฒั นาทกั ษะที่ สําคัญดานตา ง ๆ เชน ทักษะทางสมอง ทกั ษะความคดิ ความจํา ทักษะการควบคมุ อารมณ ทักษะการรจู กั และประเมินตนเอง ระดับประถมศึกษา มงุ คาํ นึงถงึ พหุปญญาของผเู รยี นรายบคุ คลท่ีหลากหลายตามศกั ยภาพ ดว ยจุดเนน ดงั น้ี 1. ปลกู ฝงความมีระเบยี บวินัย ทัศนคติทถ่ี กู ตอง โดยใชก ระบวนการลูกเสือ และยุวกาชาด 2. เรยี นภาษาไทย เนนเพ่อื ใชเปนเครอ่ื งมอื ในการเรยี นรวู ชิ าอื่น 3. เรียนภาษาองั กฤษและภาษาพน้ื ถน่ิ (ภาษาแม) เนน เพอื่ การสอ่ื สาร 4. เรียนรูดวยวิธี Active Learning เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรูจากประสบการณ จรงิ หรอื จากสถานการณจาํ ลองผานการลงมอื ปฏิบตั ิ และเปด โลกทศั นมมุ มองรว มกันของผูเรียนและครูดวย การจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเหน็ ใหม ากขนึ้ 5. สรางแพลตฟอรม ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู และใชดิจิทลั เปน เครื่องมือการเรยี นรู 6. จดั การเรยี นการสอนเพือ่ ฝก ทักษะการคิดแบบมเี หตุผลและเปนขน้ั ตอน (Coding) 7. พัฒนาครูใหม ีความชาํ นาญในการสอนภาษาอังกฤษและภาษาคอมพวิ เตอร (Coding)

37 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบานระตะ 8. จัดใหม ีโครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ โดยเนนการปรับสภาพแวดลอมทงั้ ภายในและ ภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นใหเ อื้อตอการสรา งคุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ ระดับมัธยมศึกษา มุง ตอยอดระดับประถมศกึ ษา ดว ยจุดเนน ดังน้ี 1. จัดการเรียนรดู วยวิธีการทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร (STEM) และ ภาษาตางประเทศ (ภาษาท่ีสาม) 2. จดั การเรยี นรูทห่ี ลากหลาย เพ่อื สรางทักษะพื้นฐานทเี่ ชอ่ื มโยงสูก ารสรา งอาชพี และการมงี าน ทํา เชน ทกั ษะดานกฬี าที่สามารถพัฒนาไปสูนักกฬี าอาชพี ทักษะภาเพือ่ เปน มคั คุเทศก ระดับอาชีวศกึ ษา มงุ จดั การศึกษาเพือ่ การมงี านทําและสรางนวัตกรรมตามความตอ งการของพื้นท่ชี มุ ชนภูมิภาค หรอื ประเทศ รวมท้งั การเปน ผูประกอบการเองดวยจดุ เนน ดังนี้ 1. จัดการศกึ ษาในระบบทวภิ าคี ใหผูเรียนมีทักษะและความเช่ยี วชาญเฉพาะดา น 2. เรียนภาษาอังกฤษเพือ่ เพ่ิมทกั ษะสําหรับใชใ นการประกอบอาชีพ 3. เรียนรกู ารใชดจิ ิทัลเพ่อื ใชเปน เครือ่ งมือสําหรบั ในการสรางอาชีพ 4. จดั ตงั้ ศูนยป ระสานงานการผลติ และพัฒนากําลังคนอาชวี ศึกษาในภูมภิ าค การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มุงสรางโอกาสใหป ระชาชนผูเรยี นทีส่ าํ เร็จหลกั สูตร สามารถมงี านทาํ ดว ยจุดเนน ดังน้ี 1. เรียนรูการใชด ิจิทัลเพ่อื ใชเปน เครือ่ งมอื สําหรบั หาชอ งทางในการสรา งอาชพี 2. จัดทําหลักสูตรพฒั นาอาชีพที่เหมาะสมสําหรับผทู ่ีเขา สสู ังคมสงู วยั การขับเคล่ือนสูก ารปฏิบัติ 1. ทุกหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตองปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการใหสอดคลองกับ นโยบายของรัฐบาล และวางแผนการใชงบประมาณเปนรายไตรมาส รวมทั้งใชจายงบประมาณใหเปนไป ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับทเ่ี กี่ยวขอ ง 2. จัดทําฐานขอมูล (Big Data) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ใหครบถวน ถูกตอง ทนั สมยั 3. ใชเทคโนโลยแี ละดจิ ทิ ัลเปนเครอื่ งมือในการพัฒนางานท้งั ระบบ เนน การเรยี นรแู ละการบรหิ าร จดั การ 4. ปรบั ปรุงโครงสรา งของกระทรวงศกึ ษาธิการใหเ กิดความคลองตัว หากติดขดั ในเรือ่ งขอ กฎหมายใหผ ูบรหิ ารระดับสงู รว มหาแนวทางการแกไ ขรว มกนั 5. ใหหนว ยงานระดบั กรมกําหนดแผนงานสนบั สนุนทรัพยากร งบประมาณ อตั รากาํ ลงั ตามความ ตองการจําเปน ใหแกห นว ยงานในพ้นื ทภ่ี มู ภิ าค

38 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบา นระตะ 6. ใชกลไกกองทุนเพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา มาบูรณาการการดําเนินงานรว มกับหนว ย จัดการศึกษา 7. เรงทบทวน (ราง) พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ..... โดยปรับปรุงสาระสาํ คญั ใหเอื้อ ตอ การขบั เคล่อื นนโยบายของรัฐบาล 8. ในระดบั พืน้ ท่หี ากเกดิ ปญหาขอตดิ ขัดการปฏิบัติงาน ตอ งศกึ ษา ตรวจสอบขอมลู /ขอเท็จจรงิ ที่ เกดิ ขนึ้ เชน จํานวนเด็กในพนื้ ทน่ี อ ยลง ซึง่ จาํ เปน ตอ งมีการควบรวมโรงเรียน ใหพ จิ ารณาสื่อสารอธิบายทาํ ความเขา ใจที่ชัดเจนกบั ชุมชน 9. วางแผนการใชอตั รากําลงั ครู โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดบั อาชีวศกึ ษาใหมี ประสิทธิภาพและจัดทําแผนการประเมินครูอยางเปนระบบ รวมทั้งจัดทําหลักสูตรการพัฒนาครูใหมีองค ความรแู ละทกั ษะในดา นพหปุ ญญาของผูเรยี น 10. ใหศึกษาธิการจังหวัดจัดทําแผนการจัดการศึกษาของแตละจังหวัด นําเสนอตอคณะกรรรม การศึกษาธิการจงั หวดั และขับเคลือ่ นสกู ารปฏบิ ตั ิอยางเปน รปู ธรรม 11. ใหผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร และศกึ ษาธิการภาค มบี ทบาทหนา ทีต่ รวจราชการ ตดิ ตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทาํ รายงานเสนอตอ รัฐมนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการ อนงึ่ สําหรบั ภารกิจของสว นราชการหลักแหละหนวยงานท่ีปฏิบัติงานตามปกติ (Function) งาน ในเชิงยุทธศาสตร (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งไดดําเนินการอยูกอนน้ัน หากรัฐบาลหรือ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มนี โยบายสาํ คัญเพ่มิ เติมในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 นอกเหนือจากที่กําหนดหากมี ความสอดคลองกับหลักการ ในขางตน ใหถือเปนหนาท่ีของสวนราชการหลักและหนวยงานที่เก่ียวของ จะตอ งเรงรดั กํากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ใหการดาํ เนินการเกิดผลสําเรจ็ และมีประสิทธภิ าพอยางเปนรปู ธรรม ดว ยเชน กนั 7. นโยบายและจุดเนน รฐั มนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (นายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ) ตอยอด ในสิ่งที่ดีที่รวมกันทํามาแลว ตอยอดสิ่งที่เรามีอยูแลว และพัฒนาส่ิงที่เราสามารถ ปรบั ปรุงได VTR ทีเ่ ราเห็นและเราทราบแลว ชกั ชวนใหทุกทาน เปนผบู ริหารระดับสูงของกระทรวง และผู ท่ีขบั เคลือ่ นหลกั ในจงั หวัดและในภูมภิ าค รวมกันตอยอดและปรับปรุงในส่ิงที่เราตองทํา สูศตวรรษที่ ๒๑ การพฒั นาการศึกษาของประเทศไทย ไมไดเคล่ือนอยางท่ีเราจะดําเนินการ จําเปนตองพัฒนาการศึกษา ไทย ใหทันสมัย และทันตอศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและตลอดเวลา และตอง เปล่ียนแปลงรว มกัน เตรียมสังคม เตรียมคนรับสูสังคมสูงวัย และเปนปริมาณท่ีมากของสังคมไทย ถาไมสราง เยาวชนในวันน้ี ใหม ีความรแู ละความสามารถ และเกง เพื่อแบกรับภาระใหได ความสามารถของเยาวชน

39 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบา นระตะ ยงั สูประเทศอ่นื ไมไ ด การเปล่ียนแปลงยอมเกิดข้ึน เศรษฐกิจก็จะเดินไมไดดวย ใหทุกทานไดตระหนักถึง สงิ่ ที่เปล่ียนแปลง เราตอ งพฒั นาการศึกษา เพื่อสูการแขง ขันในระดับตา ง ๆ ตระหนกั และพัฒนา ใหการขับเคลอ่ื นเทคโนโลยี รวมกันปกปองประเทศไทย ดวยการพัฒนา การศึกษาไทย ในหลายๆ ประเทศเด็กของเรา ไมไดดอยกวาประเทศอ่ืนเลย แตละประเทศก็จัดการเรียน การสอนคลา ยๆ กนั กับประเทศไทย ปญ หาของกระทรวงศึกษาธกิ ารอยูทกี่ ารบริหาร การแกปญหาหลายประการ ตองแกไขปญหา ท่ีผูบริหารสถานศึกษา ขับเคล่ือนกระบวนการประเมิน กํากับ ติดตาม ช้ีวัด ใหเกิดความเขมขนของการ ปฏิบัติ หนาที่ของแตละภาคสวน ใหขับเคลื่อนไปได ในหลายประการยังไมเปนไปในทางเดียวกัน ไม สามารถพฒั นาได เราตอ งตอยอดกันตอ ไป ขับเคลอ่ื นไปดวยกนั กระบวนการจะตองเปลีย่ นแปลง ยังมเี ร่ือง การรองเรียน การทุจริต อยูอีกมาก ตองแกไขสิ่งที่ ไมถ ูกตอ ง ตองทาํ ส่งิ ใหม ๆ ใหเกิดประโยชนกับเด็ก ระบบในการบริหารจัดการยังไมดีพอ รวมกันเดินไป ขางหนา เดนิ ไปดว ยกนั ส่งิ ใดไมถ ูกตอง 1-3 ปน้ี เราตองแกไขกัน ปรับเปล่ียนความคุนเคยน้ัน ใหถูกตอง และเปนประโยชนกับการศึกษาไทย คํานึงถึงความกาวหนาของทุกคน ประโยชนของทุกทาน ที่ควรจะ ไดรับ และประโยชนท ีส่ าํ คญั ทสี่ ุดคือ นกั เรียน นักศกึ ษา ในระบบการศึกษาของไทยเปนสําคัญ เปนหลัก วิธีการ กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ ควบคุม เชน เร่ืองอาหารกลางวัน จะเปลี่ยนแปลงใหนึกถึง ประโยชนของนักเรียนเปนลําดับแรก ควรปรับปรุงกระบวนการในเร่ืองอาหารกลางวัน จะตองพยายาม ดาํ เนนิ การลงมือทํารวมกนั จะตองใชเวลาดาํ เนนิ การใหใ กลเคียงกัน เพอื่ ลดความเหล่ือมลํ้าใหไดมากที่สุด มาตรการตางๆ มาจากสวนกลาง จะตองมีความยืดหยุนพอ เพ่ือใหกระจายอํานาจพ้ืนท่ีใหมาก รวม ชว ยกนั คดิ เราจะตองมองถึงโครงสรางการบริหาร ใหมีการทํางานท่ีสะดวกกวาเดิม สรางประวัติศาสตร แหง การเปลย่ี นแปลงของการศึกษาไทย ทุกทา นตองรวมกันคิด รวมกันทํา รวมกันนําเสนอ และตัดสินใจ วา อะไรที่เปนประโยชนต อ การศกึ ษา และเยาวชนไทย ปกปองสิทธิของทุกคน ตามนโยบายที่รัฐบาลวางไว รฐั มนตรีพรอมกลา ตัดสินใจ ความขดั แยง ตา งๆ ตอ งไดรับการพูดคุย และรวมกันแกไขปญหาทุกภาคสวน เหน็ ดว ยทกุ ภาคสว น กลาวคือ การศกึ ษาไทยเปนวาระแหงชาติ เรารวมกันปรับ เปล่ียนโครงสรางเพื่อลดความซับซอน โดยเฉพาะในสวนภูมิภาคในจังหวัด โครงสรา งไมกระชบั พอตองลดความทับซอนกนั เชน นํ้าทวมในแตละจังหวดั ยังไมสามารถช้ีชัดและระบุได วาใครรับผิดชอบในแตละจงั หวดั ภูมภิ าคเมือ่ มปี ญ หาเกิดขน้ึ ไมมเี จาภาพ ไมมีคนรับผิดชอบ ทุกภาคสวน ตอ งลดอัตตาลงมา เพ่ือใหการขับเคลื่อนเดินไปได กระทรวงศึกษาธิการ ใชจายงบประมาณมากที่สุด อาชีพท่ีเก่ียวของกับการศึกษาไทย จะตอง ไดร บั การยอมรับและไดรับคําตอบแทนเปน ลําดับตนๆ ของประเทศ แตตองแสดงใหเห็นวางบประมาณที่ นํามาใชได อยางมีประสิทธิภาพและจะตองรวมกันแสดงประสิทธิผลใหเห็นจะตองรวมกันตอยอดและ พัฒนาในสงิ่ ทีร่ วมกันวางแผนเอาไว

40 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบา นระตะ กระบวนการหลักๆ ในการแกไขปญหา อยูที่การบริหารจัดการ โรงเรียนที่นาชื่นชม ที่ไดไปดู คือ โรงเรียนท่ีผอู ํานวยการโรงเรียนและครูมีความเขมแข็ง ครเู อาใจใสนกั เรยี น บริหารกระทรวง จะตองไดมีสวนรวมในการสนทนารวมกัน ปรับโครงสรางใหผูบริหาร กระทรวงไดเห็น และเสนอแนะในสิ่งที่คิดวายาก แลวลองนําเสนอโดยยึดในพ้ืนฐานเก่ียวกับเด็กและผล การศึกษาไทย เปน หลกั อาจหาแนวทางในการแกไขปญหารวมกนั จะตองทาํ ใหเยาวชนของเรามคี วามคิดสรางสรรค เรียนมาก ทองจาํ กันมาก เราตอ งปรับเปล่ียน เพ่ือใหเดก็ เกิดความคดิ สรา งสรรค เด็กเราทองเกง แตพลิกแพลงไมได ตองใหเด็กปรับตัวใหเขากับโลกที่เปลี่ยน ตองสรางทักษะ ของเยาวชนไทยใหมีความสามารถในการปรับตัวเอง เมื่อโลกเปล่ียน เด็กตองมีทักษะในการปรับเปล่ียน การทํางานหรือเรียนรู ใหสามารถควบคุมสถานการณของการเปลี่ยนแปลง สรางเด็กของเราใหสามารถ ควบคุม กํากบั AI ใหไ ด เราจะควบคุม ปรบั เปลี่ยนอยา งไร ใหสามารถพัฒนาได จุดไฟ : รวมกันเดิน : เดินไปดวยกัน : สรางแสงสวางของการศึกษาไทยใหโดดเดน : ประชาชนไทยหวังการตอยอดและพัฒนาการศึกษาไทย : สอดคลองทิศทางของผูนําประเทศรวมกัน วางไว 8. นโยบายของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ปง บประมาณ 2563 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไดตระหนักถึงความสําคัญของยุทธศาสตร ชาติเปนอยางยิ่ง เพราะเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศที่ย่ังยืน โดยเฉพาะอยางย่ิง ยุทธศาสตรชาติ ดานการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย ซ่ึงเปนยุทธศาสตรที่เนนการวางรากฐานการ พฒั นาทรัพยากรมนษุ ยข องประเทศอยางเปนระบบ โดยมุงเนนการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและ ในทุกชวงวยั ใหเปน ทรพั ยากรมนุษยที่ดี เกง และมคี ณุ ภาพพรอ มขบั เคลอื่ นการพัฒนาประเทศไปขางหนา ไดอยา งเตม็ ศกั ยภาพ ซึ่ง “คนไทยในอนาคต จะตองมีความพรอมท้ังกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดี รอบดานและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกตอง มีทักษะที่จําเปนใน ศตวรรษที่ ๒๑ มที กั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษและ ภาษาท่ี ๓ และอนุรักษภาษาทอ งถ่ิน มนี ิสัยรักการเรียนรู และการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต สูการเปนคนไทย ท่ีมีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอน่ื ๆ โดยมี สัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง” ดังนั้น เพื่อใหก ารพัฒนาประเทศไปสูเปาหมาย “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่อง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงไดกําหนดนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนการศึกษา

41 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบานระตะ แหงชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาลที่ไดแถลงนโยบายตอรัฐสภา เม่ือ วันท่ี 25 - 26 กรกฎาคม 2562 และนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยไดก าํ หนด วิสัยทัศน พนั ธกจิ เปาประสงค และมาตรการและแนวทางในการดาํ เนินการ ดงั นี้ วิสยั ทศั น “สรา งคณุ ภาพทุนมนษุ ย สสู งั คมอนาคตที่ยง่ั ยนื ” พนั ธกิจ 1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข 2. พฒั นาผูเรียนใหมีความสามารถความเปน เลิศทางวิชาการเพ่ือสรา งขดี ความสามารถในการ แขงขัน 3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผูเรยี นใหม ีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษที่ ๒๑ 4. สรา งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอ่ื มลาํ้ ใหผูเรยี นทกุ คนไดร บั บรกิ ารทางการศกึ ษา อยา งทวั่ ถึงและเทา เทียม 5. พัฒนาผูบรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเปน มืออาชพี 6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เพอื่ พัฒนามงุ สู Thailand ๔.๐ เปาหมาย 1. ผูเรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง มีหลักคิดที่ถูกตอง และเปนพลเมืองดี ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคานิยมท่ีพึงประสงค มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น ซอื่ สตั ย สุจริต มัธยสั ถ อดออม โอบออ มอารี มวี นิ ยั รกั ษาศีลธรรม 2. ผูเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และ อน่ื ๆ ไดรับการพฒั นาอยา งเตม็ ตามศักยภาพ 3. ผูเรียน เปนบุคคลแหงการเรียนรู คิดริเริ่มและสรางสรรคนวัตกรรม มีความรู มีทักษะมี สมรรถนะตามหลักสูตร และคุณลักษณะของผูเรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ มีสุขภาวะท่ีเหมาะสมตามวัย มี ความสามารถในการพึง่ พาตนเอง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปนพลเมืองพลโลกที่ดี (Global Citizen) พรอ มกา วสสู ากล นําไปสกู ารสรางความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ

42 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบา นระตะ 4. ผูเรยี นท่ีมคี วามตองการจําเปนพิเศษ (ผพู ิการ)กลมุ ชาติพนั ธุ กลุมผูดอ ยโอกาสและกลุม ทีอ่ ยูใน พื้นท่ีหา งไกลทรุ กนั ดาร ไดร ับการศึกษาอยางท่ัวถงึ เทาเทยี ม และมีคุณภาพ 5. ผบู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเปนบุคคลแหง การเรียนรู มคี วามรูและจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชีพ 6. สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลเุ ปา หมายการพฒั นาอยา งย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) และสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 7. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มี สมดุลในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการกํากับ ติดตาม ประเมินผลมีระบบขอมูลสารสนเทศท่ีมี ประสิทธิภาพและการรายงานผลอยางเปนระบบ ใชงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไดกําหนดนโยบายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดหลกั ของการพฒั นาท่ยี ัง่ ยนื และการสรางความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศในอนาคต เปน แนวทางในการจดั การศกึ ษาจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561– 2580 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนปฏิรูปประเทศดานการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2565)แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และมงุ สู Thailand 4.0 ดังนี้ นโยบายท่ี 1 ดา นการจัดการศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คงของมนุษยและของชาติ นโยบายที่ 2 ดานการจัดการศึกษาเพ่อื เพม่ิ ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ นโยบายที่ 3 ดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย นโยบายท่ี 4 ดานการสรางโอกาสในการเขาถงึ บรกิ ารการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพมีมาตรฐาน และลดความเหลื่อมลํา้ ทางการศึกษา นโยบายที่ 5 ดานการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอม นโยบายท่ี 6 ดา นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา 9. นโยบายการพัฒนาการศกึ ษาของจังหวดั สงขลา (สํานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดสงขลา) สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสงขลา ไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตรการ พัฒนาการศกึ ษาจังหวดั เปาประสงค ตวั ชว้ี ดั และกลยุทธ ตามแผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2563 -2565 จงั หวดั สงขลา ดังนี้

43 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรียนบา นระตะ วิสยั ทัศน “สงั คมแหงการเรียนรูคคู ณุ ธรรม นําคณุ ภาพ สูความสุขที่ยัง่ ยืน” นิยามวสิ ยั ทัศน สังคมแหงการเรียนรู หมายถึง การจัดการศึกษาใหแกผูเรียนทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับและ ผดู อยโอกาสเพือ่ การแสวงหาความรูใ นการดํารงตน การมีอาชพี และการแขง ขนั ในสังคมโลก คูค ณุ ธรรม หมายถงึ ดํารงตนเปนคนดีตามรอยเบอื้ งพระยุคลบาทโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งโดยใชเ งื่อนไขความรคู คู ุณธรรม ภายใตคานยิ ม “เกิดมาตองตอบแทนบุญคณุ แผน ดนิ ” นําคุณภาพ หมายถึง จัดระบบการศึกษาโดยใหเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาในทุก ระดบั สูความสุขที่ย่ังยืน หมายถึง สรางความตระหนักและดําเนินภารกิจภายใตการอนุรักษ สง่ิ แวดลอมและเพิ่มระดับคณุ ภาพชวี ติ ท่ยี ั่งยนื พนั ธกจิ 1. สง เสริมสงั คมแหงการเรียนรูต ลอดชวี ติ รกั ษส ิ่งแวดลอม และพัฒนาอยา งย่ังยืน 2. พัฒนาผูเรียนใหมีความรู คูคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเรียนรูสู อาชีพในภมู ิภาค อาเซยี น 3. สง เสรมิ โอกาสการเขา ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาของประชาชนอยา งทว่ั ถงึ และเกิดการเรียนรูตลอด ชีวิต 4. ยกระดับคณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาสูสากล 5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล 6. พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความตองการของบริบทเชิง พืน้ ทสี่ อดรับกับเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษสงขลา 7. พัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความตองการของบริบทเชิง พ้ืนท่สี อดรบั กบั เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ประเดน็ ยุทธศาสตร ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพอื่ ความม่ันคง ยุทธศาสตรท่ี 2 พัฒนากําลังคน การวจิ ัย เพ่อื สรา งความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ ยทุ ธศาสตรที่ 3 พฒั นาศักยภาพคนใหมีคณุ ภาพ ยุทธศาสตรท่ี 4 สรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ยทุ ธศาสตรท่ี 5 สงเสริมและจดั การศกึ ษาเพื่อเสริมสรา งคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอ ม ยุทธศาสตรที่ 6 พฒั นาระบบบริหารจดั การใหม ีประสทิ ธภิ าพ ยทุ ธศาสตรที่ 7 การจัดการศึกษาเพอ่ื การพัฒนาชมุ ชนและสงั คมอยางย่งั ยืนตามพระราโชบาย

44 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563 - 2565 โรงเรียนบา นระตะ เปาประสงค 1. ประชาชนมีการเรียนรูตลอดชีวิต อนุรักษภูมิปญญาทองถ่ิน รักษส่ิงแวดลอม และพัฒนาอยาง ยัง่ ยนื 2. ผูเ รียนมคี วามรู คคู ุณธรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเรียนรูส อู าชีพ ในภูมภิ าคอาเซยี น 3. ประชาชนมโี อกาสการเขาถึงบรกิ ารการศกึ ษาอยา งทว่ั ถงึ และเกิดการเรยี นรตู ลอดชวี ติ 4. หนวยงานทางการศึกษายกระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาชาติสูไทยแลนด 4.0 5. หนวยงานทางการศึกษามีระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลภายใตหลักการมีสวน รว ม และบรู ณาการการทํางานเพือ่ ใหเกิดความคุมคา 6. หนวยงานทางการศึกษาจัดการศึกษาใหผูเรียนมีความรูและทักษะดานวิชาชีพ พรอมเขา สูตลาดแรงงานในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษสงขลา 7. หนว ยงานทางการศกึ ษาพฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทเชงิ พนื้ ที่ 8. หนวยงานทางการศึกษามีการบริหารและการจัดการศึกษาท่ีสอดคลองกับบริบทเชิงพื้นที่ใน เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต 12. นโยบายการพัฒนาการศึกษา ของสาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 วสิ ยั ทศั น สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 นอมนําพระบรมราโชบาย ยึดหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จดั การศึกษาอยา งมคี ณุ ภาพ ทัว่ ถึง เสมอภาค สคู วามเปนเลศิ พันธกจิ 1. จดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานใหมีคณุ ภาพ 2. สรางโอกาสทางการศึกษาใหประชากรวัยเรยี นอยา งเทาเทยี ม ท่วั ถึงภายใตสงั คมพหุ วัฒนธรรม 3. สงเสริม สนบั สนนุ สถานศึกษาพฒั นาผเู รียนใหมีคุณธรรมนาํ ความรู มีทักษะอาชพี เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน มิตรกับสิง่ แวดลอ ม ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. สง เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาและพฒั นาศักยภาพการแขงขนั สูความเปน เลศิ กา ว ทนั การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหทันสมัยโดยใชเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล เนน การมสี ว นรว มทกุ ภาคสวน

45 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบา นระตะ เปา ประสงคห ลกั 1. สถานศึกษาจัดการศึกษาไดอยางมีคุณภาพ ผูเรียนมีความรูตามเกณฑมาตรฐานของ หลักสตู ร 2. ประชากรวัยเรียนไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางเทาเทียมทั่วถึง และมีคุณภาพ อยู รว มกบั ผอู ื่นในสงั คมอยา งมคี วามสุข 3. ผูเรียนมีความรู คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามหลักสูตรการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน และมีความสามารถในการแขงขนั 4. สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสอดคลองตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 และสถานศึกษามีระบบการ บริหารจัดการทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน โดยใชเทคโนโลยี และเนน การมสี วนรวมทุกภาคสว น 6. ผูบริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู ความสามารถและ สมรรถนะ ในการปฏบิ ัติงานไดต ามมาตรฐานวชิ าชพี และมาตรฐานการศึกษามีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสนิ มีขวัญกําลังใจในการปฏบิ ัติหนาที่ ประเดน็ กลยุทธ 1. จัดการศกึ ษาเพื่อความม่นั คง 2. พฒั นาคุณภาพผเู รยี นและสง เสรมิ การจัดการศึกษาเพ่อื สรา งขดี ความสามารถในการ แขงขัน 3. สง เสริมสนบั สนนุ การพฒั นาผูบ ริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา 4. สรา งโอกาสในการเขา ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรอู ยา งมคี ุณภาพ 5. พฒั นาระบบบริหารจดั การและสง เสริมการมสี วนรวมในการจัดการศกึ ษา 6. สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน มิตรกับส่งิ แวดลอม ประเด็นกลยุทธท่ี 1 จัดการศึกษาเพอ่ื ความม่นั คง มาตรการ 1. เสริมสรางความมัน่ คงของสถาบนั หลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ 2. เสริมสรางและพัฒนาการจัดการศกึ ษาโรงเรียนประชารัฐจงั หวดั ชายแดนภาคใตใ หม ี คณุ ภาพ 3. เสริมสรางการอยรู วมกันอยางมคี วามสขุ ในสงั คมพหุวัฒนธรรม 4. ปลูกฝงผูเรยี นดานคณุ ธรรม จริยธรรม และคา นิยมที่พงึ ประสงค 5. พัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรยี นในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดสงขลา และเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต

46 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2563 - 2565 โรงเรยี นบา นระตะ ตัวชี้วัดความสําเรจ็ 1. รอ ยละของสถานศกึ ษาปลูกฝงและเสริมสรางวถิ ีประชาธิปไตยความสามคั คี ความ สมานฉนั ท สันติวิธี ตอตานการทจุ รติ คอรปั ช่นั และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ  ทรงเปน ประมุข 2. รอ ยละของสถานศึกษานอ มนําแนวพระราชดาํ ริฯ สบื สานพระราชปณิธานและพระบรมรา โชบายดา นการศกึ ษาหรอื \"ศาสตรพระราชา\" มาใชในการจดั การเรยี นรอู ยา งยง่ั ยนื 3. รอยละของสถานศกึ ษาที่จดั การเรยี นรูใหผ ูเรยี นมคี านิยม \"เกิดมาตอ งตอบแทนบญุ คุณ แผนดิน\" 4. รอยละของสถานศึกษาเสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจเกีย่ วกบั ภยั คกุ คามในรูปแบบใหม เชน อาชญากรรม และความรนุ แรงในรปู แบบตา งๆ สิง่ เสพตดิ ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ ภยั จากโรคอุบัตใิ หม ภัยจากไซเบอร ฯลฯ 5. รอ ยละของผเู รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคตามหลักสตู ร การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และคา นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 6. ระดบั ความพงึ พอใจของครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทม่ี ตี อ ระบบการรักษาความ ปลอดภัย 7. รอยละของสถานศกึ ษาในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษเฉพาะกจิ และเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใตท่ีจดั การศกึ ษาสอดคลองกบั บริบทพื้นท่ี ประเดน็ กลยุทธท ี่ 2. พฒั นาคุณภาพผูเรยี นและสงเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือสรา งขีดความสามารถ ในการแขงขัน มาตรการ 1. เสรมิ สรา งความเขม แขง็ ในการพัฒนาผเู รียนอยางมีคุณภาพ 2. พัฒนากระบวนการเรียนรใู หค รอบคลุมผูเรียนทกุ กลมุ 3. สรา งขีดความสามารถในการแขงขนั 4. สงเสริม สนบั สนนุ การทําโครงงาน วิจัย และพัฒนาเพ่อื นําไปใชในการพฒั นาคณุ ภาพ การจดั การศกึ ษา ตวั ชวี้ ัดความสําเรจ็ 1. รอยละของผูเรยี นทมี่ ีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐานและ ดา นอสิ ลามศึกษาและระดับนานาชาติ 2. รอ ยละของผเู รียนทอี่ า นออกเขียนได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook