Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 9

บทที่ 9

Published by 6032040006, 2018-08-31 01:19:50

Description: บทที่ 9

Search

Read the Text Version

แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 9

1. ความหมายของเครอื ขา่ ยไร้สายตอบ เครือขา่ ยแลนไร้สายแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1.WPAN(Wireless Personal Area Network) เปน็ ระบบเครือขา่ ยไร้สายสว่ นบคุ คล ปัจจบุ นั มีอย่สู องระบบทร่ี องรบั การทางานส่วนบุคคล คือ IR(Infra-Red) และ Bluetooth การท างานจะครอบคลุมบริเวณการสื่อสารที่ค่อนข้างจากดั เชน่ อินฟาเรด ระยะประมาณไม่เกนิ 3 เมตร และบลทู ธู ระยะไมเ่ กิน 10 เมตร 2. WLAN (Wireless Local Area Network) เป็นระบบเครือข่ายท้องถ่ินท่ีใช้งานในพื้นท่ีใดพื้นท่ีหนึ่งในระยะใกล้ ภายในหนว่ ยงานหรืออาคารเดยี วกัน เช่น สานักงาน บริษัท หรอื สถานทีจ่ ดั นทิ รรศการ 3. WMAN (Wireless Metropolitan Area Network) เป็นระบบเครือข่ายสาหรับเมืองใหญ่ๆ มีระบบเครือขา่ ยที่หลากหลายมกั ใชเ้ ชื่อมตอ่ สื่อสารกันระหว่างอาคารต่างๆภายในเมอื ง 4. WWAN (Wireless Wide Area Network) เปน็ ระบบเครอื ขายไรส้ ายขนาดใหญ่สาหรบั เมอื งหรอื ประเทศซึ่งมักมีการใช้งานผ่านดาวเทยี มขา้ มประเทศ

2. สือ่ กลางประเภทไร้สายตอบ ส่ือกลางประเภทไรส้ าย (Wireless Media)การสื่อสารขอ้ มูลแบบไร้สายน้สี ามารถสง่ ข้อมูลไดท้ ุกทิศทางโดยมอี ากาศเปน็ ตวั กลางในการสื่อสาร 1) คลืน่ วิทยุ (Radio Wave) วิธีการสื่อสารประเภทน้ีจะใช้การส่งคล่ืนไปในอากาศ เพ่ือส่งไปยังเครื่องรับวิทยุโดยรวมกบั คลื่นเสียงมีความถ่เี สียงทเ่ี ปน็ รูปแบบของคล่ืนไฟฟา้ ดงั นนั้ การส่งวิทยุกระจายเสยี งจึงไมต่ อ้ งใชส้ ายสง่ ขอ้ มลู และยงั สามารถสง่ คลน่ื สัญญาณไปไดร้ ะยะไกลซ่งึ จะอย่ใู นช่วงความถี่ระหว่าง 104- 109เฮิรตซ์ ดังน้ัน เครื่องรับวิทยุจะต้องปรับช่องความถ่ีใหก้ ับคล่นื วิทยทุ ี่ส่งมา ทาใหส้ ามารถรับขอ้ มลู ไดอ้ ย่างชดั เจน 2) สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซงึ่ เปน็ สัญญาณคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าไปในอากาศพรอ้ มกับข้อมูลทีต่ อ้ งการสง่ และจะต้องมีสถานีท่ีทาหน้าท่ีส่งและรบั ขอ้ มูล และเน่ืองจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกท่ีมีความโค้งได้ จึงต้องมีการต้ังสถานีรับ - ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง และแต่ละสถานจี ะตงั้ อยใู่ นท่สี ูง ซ่ึงจะอยูใ่ นชว่ งความถี่108- 1012 เฮิรตซ์

3) แสงอินฟราเรด (Infrared) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีความถ่ีอยู่ในช่วง 1011– 1014 เฮิรตซ์ หรือความยาวคล่ืน 10-3 – 10-6 เมตร เรียกว่า รังสี อินฟราเรด หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คล่ืนความถี่ส้ัน (Millimeter waves)ซ่ึงจะมียา่ นความถี่คาบเกี่ยวกับย่านความถี่ของคลื่นไมโครเวฟอยบู่ ้าง วัตถรุ ้อน จะแผร่ งั สีอินฟราเรดทม่ี ีความยาวคลื่นสั้นกว่า 10-4เมตรออกมา ประสาทสัมผัสทางผิวหนังของมนุษย์สามารถรับรังสีอินฟราเรด ล าแสงอินฟราเรดเดินทางเป็นเส้นตรง ไม่สามารถผา่ นวตั ถุทบึ แสง และสามารถสะทอ้ นแสงในวัสดุผิวเรียบได้เหมอื นกับแสงท่ัวไปใช้มากในการส่อื สาร ระยะใกล้ 4) ดาวเทียม (satilite) ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพ่ือหลีกเล่ียงข้อจากัดของสถานีรับ - ส่งไมโครเวฟบนผิวโลกวัตถุประสงค์ในการสร้างดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรับ - ส่งสัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการสง่ สญั ญาณดาวเทียมจะตอ้ งมีสถานีภาคพื้นดินคอยทาหน้าท่ีรับ และส่งสัญญาณขึ้นไปบนดาวเทียมที่โคจรอยู่สูงจากพนื้ โลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหล่าน้ัน จะเคล่ือนที่ด้วยความเร็วท่ีเท่ากับการหมุนของโลก จึงเสมือนกับดาวเทียมนั้นอยู่น่ิงอยู่กับท่ี ขณะท่ีโลกหมุนรอบตัวเอง ทาให้การส่งสัญญาณไมโครเวฟจากสถานีหน่ึงข้ึนไปบนดาวเทียมและการกระจายสญั ญาณ จากดาวเทียมลงมายงั สถานีตามจดุ ตา่ งๆ บนผิวโลกเปน็ ไปอย่างแมน่ ยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้ โดยอาศยั พลงั งานทไี่ ดม้ าจากการเปลี่ยนพลงั งานแสงอาทติ ย์ ดว้ ย แผงโซลาร์ (solar panel)

5) บลูทูธ (Bluetooth) ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเช่ือมต่อ และไม่จาเป็นจะต้องใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด ซ่ึงถือว่าเพิ่มความสะดวกมากกว่าการเชื่อมต่อแบบอินฟราเรด ท่ีใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างโทรศพั ท์มือถือ กบั อปุ กรณ์ ในโทรศพั ท์เคลอ่ื นทีร่ ุ่นก่อนๆ และในการวิจัย ไม่ได้มุ่งเฉพาะการส่งข้อมูลเพียงอย่างเดียว แต่ยังศึกษาถงึ การสง่ ข้อมลู ทเี่ ป็นเสยี ง เพอื่ ใชส้ าหรบั Headset บนโทรศัพทม์ ือถือดว้ ยเทคโนโลยี บลูทธู เป็นเทคโนโลยสี าหรบั การเชื่อมต่ออุปกรณ์แบบไร้สายที่น่าจับตามองเป็นอย่าง ยิ่งในปัจจุบัน ทั้งในเร่ืองความสะดวกในการใช้งานสาหรับผู้ใช้ท่ัวไปและประสิทธิภาพในการทางาน เนื่องจาก เทคโนโลยี บลูทูธ มีราคาถูก ใช้พลังงานน้อย และใช้เทคโนโลยี short – rangeซ่ึงในอนาคต จะถูกนามาใช้ในการพัฒนา เพ่ือนาไปสู่การแทนที่อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้สาย เคเบิล เช่น Headset สาหรับโทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี เป็นตน้ เทคโนโลยีการเชื่อมโยงหรอื การส่ือสารแบบใหมท่ ีถ่ ูกคิดคน้ ขึน้ เปน็ เทคโนโลยีของอินเตอร์เฟซทางคล่นื วิทยุ ต้ังอยู่บนพื้นฐานของการส่ือสารระยะใกล้ที่ปลอดภัยผ่านช่องสัญญาณความถ่ี 2.4 Ghz โดยท่ีถูกพัฒนาขึ้นเพ่ือลดข้อจากัดของการใช้สายเคเบิลในการเชื่อมโยงโดยมี ความเร็วในการเช่ือมโยงสูงสุดท่ี 1 mbp ระยะครอบคลุม 10 เมตรเทคโนโลยีการส่งคลนื่ วทิ ยุของบลูทูธจะใชก้ ารกระโดดเปล่ียนความถ่ี (Frequency hop) เพราะว่าเทคโนโลยีน้ีเหมาะที่จะใช้กบั การสง่ คล่ืนวิทยุทม่ี ีกาลงั ส่งตา่ และ ราคาถกู โดยจะแบง่ ออกเป็นหลายชอ่ งความถึ่ขนาดเล็ก ในระหว่างท่ีมีการเปลี่ยนช่องความถ่ึที่ไม่แน่นอนทาให้สามารถหลีกหนีสัญญารบกวนที่เข้ามาแทรกแซงได้ ซึ่งอุปกรณ์ท่ีจะได้รับการยอมรับว่าเป็นเทคโนโลยีบลูทูธ ต้องผ่านการทดสอบจาก Bluetooth SIG (Special Interest Group) เสียก่อนเพ่ือยืนยันว่ามันสามารถท่ีจะทางานรว่ มกับอปุ กรณ์บลูทูธตัวอืน่ ๆ และอนิ เตอรเ์ น็ตได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook