Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกหัดบทที่ 2

แบบฝึกหัดบทที่ 2

Published by 6032040006, 2018-08-30 03:25:43

Description: แบบฝึกหัดบทที่ 2

Search

Read the Text Version

แบบฝึกหดั บทที่ 2 นาย วสุพล นวลละอองปวส.2 คอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ 2 เลขท่ี 7

ระบบปฏิบตั ิการเครือข่าย (NOS)• 1.ความหมายของระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ขา่ ยตอบ เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบเพ่ือจัดการงานด้านการส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ให้สามารถใช้ทรพั ยากรร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น ระบบปฏิบัติการเครอื ข่ายจะมีลักษณะการทางานคล้ายกับระบบปฏิบัติการดอส จะแตกต่างในส่วนของการเพิ่มการจัดการเกี่ยวกับเครือข่ายและการใช้อุปกรณ์ร่วมกัน รวมทั้งมีระบบป้องกันการสูญหายของข้อมูล ปัจจุบันระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะใช้หลักการประมวลผลแบบไคลแอนด์เซิร์ฟเวอร์ (Client / Server)คือ การจดั การเรยี กใชข้ ้อมลู และโปรแกรมจะทางานอย่บู นเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ ในขณะท่ีส่วนประกอบอื่น ๆ ของระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะทางานอยู่บนเคร่ืองไคลแอนด์ เช่น การประมวลผล และการตดิ ตอ่ กบั ผู้ใช้

2.หนา้ ทหี่ ลักของระบบปฏบิ ตั ิการคืออะไรตอบ ระบบปฏิบัติการถูกสร้างโดยวัตถุประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์ได้โดยไม่จาเป็นไปยุ่งเกี่ยวหรือทราบถึงกลไกการทางานภายในระบบคอมพิวเตอร์ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการเองโดยหน้าท่ีของระบบปฏิบัติการมีหนา้ ทหี่ ลกั สาคัญต่อไปนี้ 1.ตดิ ต่อประสานงานกบั ผใู้ ช้ (User Interface) 2.ควบคุมดแู ลอปุ กรณ์ (Control Devices) 3.จัดสรรทรัพยากร (Resource) ตา่ งๆภายในระบบให้เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.1ทรพั ยากรของระบบมีจานวนจากดั 3.2ความตอ้ งการทรพั ยากร3.ระบบปฏบิ ตั ิการ Novell Netwareตอบ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System) ท่ีพฒั นาโดยบริษัทNovell การทางานของระบบปฏิบัติการ NetWare น้ันเป็นลักษณะ File Sever ที่คอยให้บริการขอ้ มูลตา่ ง ๆ ในเครอื ข่าย รวมทัง้ การบรกิ ารใหใ้ ชท้ รัพยากรต่างๆ ของเครือ่ งในเครือผ่านInternet

4.ระบบปฏบิ ตั ิการ Windows Server 2012ตอบ Windows server รุ่นปี 2012 น้ีได้มีการพัฒนาระบบและเพ่ิมฟีเจอร์ในการใช้งานต่างๆเพมิ่ ขึ้นอย่างมากมาย และมีการเน้นที่ระบบ Cloud มากข้ึน เพ่ือรองรับความต้องการสาหรับการใชง้ านในปจั จุบนั ซง่ึ ฟเี จอร์ทีโ่ ดดเดน่ นัน้ มอี ยดู่ ้วยกันหลายอย่าง ดงั น้ีHyper-V ซึ่งเป็นระบบเสมือนท่ีสามารถทาการจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายๆเคร่ืองได้อย่างสะดวกง่ายดาย เพื่อรองรับการขยายตัวของระบบ อีกทั้งฟีเจอร์ Hyper-V3 ยังทาให้การย้ายเซริ ์ฟเวอรเ์ ปน็ ไปอย่างสะดวกรวดเรว็ ด้วยการยา้ ยเคร่ืองได้แบบ Real-time โดยไม่ต้องปิดระบบซ่ึงเป็นการเพ่ิมความสะดวกและมกี ารทางานทยี่ ดื หยุ่นมากขึ้น และ Storage Migration เป็นฟเี จอร์ที่ทาให้สามารถย้ายเซิร์ฟเวอร์ไปได้อย่างสะดวกโดยไม่มี Downtime ทาให้สามารถเปิดใช้งานได้ตลอดเวลาโดยไม่มสี ะดดุรองรับระบบ Cloud ซ่ึงเหมาะสาหรับความต้องการในปัจจุบันที่ธุรกิจต่างๆหันมาใช้ระบบ Cloudกันมากขึ้นเพ่ือความสะดวกในการทางานและการเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลารองรับการใช้งานแบบ Virtual ทสี่ ามารถทางานไดด้ กี บั Microsoft Private Cloud

5.ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows Server 2012 R2ตอบ ขอ้ มลู สาคัญ: บทความน้ีแปลโดยซอฟต์แวร์การแปลด้วยคอมพวิ เตอร์ของ Microsoft แทนท่ีจะเป็นนักแปลท่ีเป็นบุคคล Microsoft มีบทความท่ีแปลโดยนักแปลและบทความที่แปลด้วยคอมพิวเตอร์ เพ่ือใหค้ ุณสามารถเข้าถึงบทความทั้งหมดในฐานความรู้ของเรา ในภาษาของคุณเองอย่างไรก็ตาม บทความท่ีแปลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นอาจมีข้อบกพร่อง โดยอาจมีข้อผิดพลาดในคาศัพท์ รปู แบบการใชภ้ าษาและไวยากรณ์ เช่นเดียวกับกรณีที่ชาวต่างชาติพดู ผิดเมื่อพูดภาษาของคุณ Microsoft ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อความคลาดเคล่ือน ความผิดพลาดหรือความเสียหายที่เกิดจากการแปลเน้ือหาผิดพลาด หรือการใช้บทแปลของลูกค้า และ Microsoft มีการปรับปรุงซอฟต์แวรก์ ารแปลดว้ ยคอมพวิ เตอรอ์ ยเู่ ป็นประจา

6.ระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows Server 2016 Technical Previewตอบ Windows Server 2016 เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเซิร์ฟเวอร์และศูนย์ข้อมูลรุ่นล่าสุดจากไมโครซอฟท์ ถูกออกแบบมาสาหรับงานยุคใหม่ รองรับทั้งการทางานร่วมกับคราวน์และอุปกรณ์IoT อกี ทง้ั เตรยี มพรอ้ มสาหรับงานประมวลผลชนดิ ใหม่ๆ อย่างการประมวลผลข้อมลู Big Dataเน่ืองจาก Windows Server 2016 มีฟีเจอร์ใหม่มากมาย บทความน้ีจงึ คัดเฉพาะ 10 ฟีเจอร์ที่นา่ สนใจและควรค่าแก่การอพั เกรดเปน็ Windows Server 20167.ระบบปฏิบตั ิการ UNIXตอบ ยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทหน่ึง ท่ีเป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system)ซ่ีงเป็นแนวคดิ ที่ผใู้ ชไ้ ม่ตอ้ ง ผกู ติด กับระบบใดระบบหน่ึงหรืออุปกรณ์ย่ีห้อเดียวกัน นอกจากน้ียูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพ่อื ตอบสนองการใชง้ านใน ลักษณะให้มีผู้ใชไ้ ด้หลายคน ในเวลาเดยี วกัน เรียกว่า มัลติยสู เซอร์ (multiusers)และสามารถทางานได้หลายๆงานใน เวลาเดียว กันในลักษณะท่ีเรียกว่ามัลติทาสกงิ้ (multitasking)

8.ระบบปฏิบัตกิ าร Linuxตอบ ลนี กุ ซ์ระบบปฏิบัติการแบบ 32 บติ ทีเ่ ป็นยนู ิกซโ์ คลน สาหรับเคร่ืองพีซี และแจกจ่ายให้ใช้ฟรี สนับสนุนการใช้งานแบบหลากงาน หลายผู้ใช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X วินโดวส์ ซึ่งเป็นระบบการติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก ทไ่ี ม่ขึ้นกับโอเอสหรือฮาร์ดแวร์ใดๆ (มักใช้กันมากในระบบยูนิกซ์) และมาตรฐานการส่ือสาร TCP/IP ท่ีใช้เป็นมาตรฐานการสอื่ สารในอนิ เทอร์เน็ตมาให้ในตัว ลีนุกซม์ ีความเข้ากันได้ (compatible) กับ มาตรฐานPOSIX ซึง่ เปน็ มาตรฐานอนิ เทอรเ์ ฟสทีร่ ะบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะต้องมีและมีรูปแบบบางส่วนที่คล้ายกับระบบปฏิบัติการยนู ิกซ์จากค่าย Berkeley และ System V โดยความหมายทางเทคนคิ แล้วลนี กุ ซ์ เปน็ เพียงเคอร์เนล (kernel) ของระบบปฏิบัติการ ซ่งึ จะทาหน้าทใ่ี นด้านของการจัดสรรและบริหารโพรเซสงาน การจัดการไฟล์และอุปกรณ์ I/O ต่างๆ แต่ผู้ใช้ท่ัวๆไปจะรู้จักลีนุกซ์ผ่านทางแอพพลิเคช่ันและระบบอินเทอร์เฟสที่เขาเหล่านั้นเห็น (เช่นShell หรอื X วินโดวส์) ถ้าคณุ รันลีนกุ ซ์บนเครื่อง 386 หรือ 486 ของคุณ มันจะเปลี่ยนพีซีของคุณให้กลายเป็นยนู ิกซ์เวอร์กสเตชน่ั ชนั ที่มีความสามารถสูง เคยมีผู้เทียบประสิทธิภาพระหว่างลีนุกซ์บนเครื่องเพนเทยี ม และเครื่องเวอร์กสเตชั่นชันชันในระดับกลาง และได้ผลออกมาวา่ ใหป้ ระสทิ ธิภาพที่ใกลเ้ คียงกัน

และนอกจากแพลตฟอร์มอินเทลแล้ว ปัจจุบันลีนุกซ์ยังได้ทาการพฒั นาระบบเพ่ือให้สามารถใช้งานได้บนแพลตฟอร์มอืน่ ๆด้วย เช่น DEC Alpha , Motorola Power-PC , MIPS เมื่อคุณสร้างแอพพลิเคชน่ั ข้ึนมาบนแพลตฟอร์มใดแพลตฟอร์มหนึ่งแล้ว คุณก็สามารถย้ายแอพพลิเคชั่นของคุณไปว่ิงบนแพลตฟอร์มอ่ืนได้ไม่ยาก ลีนุกซ์มีทีมพัฒนาโปรแกรมที่ต่อเนื่อง ไม่จากัดจานวนของอาสาสมคั รผรู้ ่วมงาน และส่วนใหญจ่ ะติดตอ่ กันผ่านทางอนิ เทอร์เน็ต เพราะท่ีอยู่อาศัยจริงๆของแต่ละคนอาจจะอยู่ไกลคนละซีกโลกก็ได้ และมีแผนงานการพัฒนาในระยะยาว ทาให้เราม่ันใจได้ว่า ลีนกุ ซ์เปน็ ระบบปฏบิ ัตกิ ารทม่ี อี นาคต และจะยงั คงพัฒนาตอ่ ไปได้ตราบนานเทา่ นาน9.ระบบปฏิบตั กิ าร Windows 8ตอบ สามารถรองรับกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองเก่า หรือ โน๊ตบุ๊คเคร่ืองเก่าได้ ซ่ึงไม่มีปัญในการใช้งานเพราะระบบปฏิบัติการ Windows 8 รองรับได้ต้ังแต่ CPU RAM 1 GHz ในแท็บเล็ต (Tablet) ทาให้ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ที่ใช้ทรัพยากรเครื่องน้อยมาก (น้อยกว่าระบบ Windows 7) และงา่ ยต่อการพฒั นา Application ซ่งึ พฒั นา Application ในครง้ั เดียว ยงั สามารถใช้ไดก้ ับทกุ อุปกรณ์ได้

รายชื่อต่อไปนีเ้ ป็ นรายชื่อของระบบปฏิบัติการต่าง ๆรายชอื่ ต่อไปน้เี ปน็ รายชอ่ื ของระบบปฏบิ ตั กิ ารต่าง ๆCP/M ซพี /ี เอ็ม (CP/M ย่อมาจาก Control Program/Monitor) เป็นระบบปฏิบัติการ ซ่ึงเดิมเขียนเพ่ือทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ชิพตระกูล 8080/85 ของอินเทล ซีพี/เอ็มเริ่มเขียนโดย แกรี คิลดัล (Gary Kildall) แห่งบริษัท ดิจทิ ัล รีเสิร์ช (Digital Research, Inc.) เดิมเป็นระบบซิงเกิลทัสก์ และทางานกับเฉพาะโพรเซสเซอร์ขนาด 8 บิต และหน่วยความจาไม่เกิน 64กิโลไบต์ แต่รุ่นหลังรองรับการทางานหลายผู้ใช้และขยายไปทางานบนโปรเซสเซอร์ซึ่งปัจจุบันนี้ล้าสมัยแลว้ หลงั จากเครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอรไ์ ด้ขยายมาเป็นเครื่องขนาด 16 บติ

MP/M ระบบปฏิบัติการที่เป็นท่ีนิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์แมคโอเอส และลนิ ุกซ์ นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอกซ์และโซลาริส และรวมถึงลินุกซ์ซ่ึงพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์ระบบปฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสาหรับการเรียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกส์ ชิน หรือ พินโทสระบบปฏิบัติการ Mac OS จากัดแค่คอมพิวเตอร์ของแอปเปิลเท่าน้ันในอุปกรณ์อ่ืนๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ไอโอเอส แอนดรอยด์ หรือ ซิเบียน ในโทรศัพท์มือถือหรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ตามบ้านรายชื่อต่อไปนี้เป็นรายชอ่ื ของระบบปฏิบัติการต่าง ๆระบบปฏิบัติการMP/Mเป็นเวอร์ชันสาหรับผู้ใช้หลายคน รองรับการการเชื่อมต่อจากเคร่ืองอื่นๆในเคร่ืองเดียวกัน แต่ละเคร่ืองจะใช้หน้าจอแบ่งกัน ใช้ไมโครโฟนน้อยท่ีสุด สามารถจัดการงานหลายๆอย่างพร้อมๆกันและระบบปกป้องหน่วยความจา สามารถใช้งานโปรแกรมพร้อมๆกันและสลับใช้งานได้ ปัจจุบันมีผู้ใช้นอ้ ยมากTRS-DOS เป็นระบบปฏบิ ตั ิการไมโครคอมพิวเตอร์สาหรับส่ือสาร ระบบนี้รองรับแผ่นดิสถึงส่ีแผ่น ระบบนี้จะทางานไดถ้ า้ มีแผน่ ดสิ ปัจจบุ นั ได้จดทะเบียนกบั Microsoft แลว้

ProDOS เป็นระบบของเคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกท่ีบริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาด คอมพิวเตอร์ชุดน้ีได้ก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงที่เป็นประโยชน์ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพิวเตอร์ หลังจากที่แอปเปิลทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และแอปเปิล ทรี (Apple III)ตามกันออกมาอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรี หันมาผลิตชุดแมคอินทอชซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดสงู มากในปจั จบุ ัน

DOS ระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญของระบบซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการประกอบขึ้นจากชุดโปรแกรมที่ทาหน้าท่ีควบคุมดูแลการดาเนินการต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ และประสานการทางานระหวา่ งทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบคอมพวิ เตอร์ ทั้งส่วนที่เป็นซอฟต์แวร์และส่วนท่ีเป็นฮาร์ดแวร์ให้เป็นไปย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ระบบคอมพิวเตอร์ในระดับไมโครคอมพิวเตอร์ โดยท่ัวไปใช้ระบบปฏิบัติการท่ีจัดเก็บอยู่บนแผ่นบันทึกหรือฮาร์ดดิสก์ ซึ่งเป็นท่ีรู้จักกันดีในชื่อของ เอ็มเอสดอส (Microsoft Disk Operating System :MS-DOS) ซ่ึงพัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์คอร์ปอเรช่ัน ระบบปฏิบัติการนี้ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ตามความตอ้ งการของผใู้ ชแ้ ละพฒั นาการทางด้านซอฟต์แวรแ์ ละฮารด์แวร์

Microsoft Windows Microsoft Windows คือกลุ่มของระบบปฏิบัติการหลายตระกูลซึ่งท้ังหมดน้ีพัฒนาขึ้นโดยมีการทาการตลาดและจาหน่ายโดย Microsoft แต่ละครอบครัวมีความสาคัญกับภาคอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ครอบครัว Windows ที่ใช้งานอยู่ ได้แก่ Windows NT และWindows Embedded; เช่นนี้อาจรวมถึงอนุวงศ์เช่น Windows Embedded Compact(Windows CE) หรือ Windows Server ครอบครัว Windows ที่หมดอายุแล้ว ได้แก่ Windows9x, Windows Mobile และ Windows PhoneLinux ระบบปฏิบัติการท่ีสรา้ งข้ึนรอบ ๆ ลินุกซ์เคอร์เนล โดยปกติ Linux จะบรรจุในรปู แบบท่ีเรียกว่าการแจกจา่ ย Linux (หรือ distort สั้น ๆ ) สาหรับการใช้เดสก์ท็อปและเซิร์ฟเวอร์ การกาหนดส่วนประกอบของลินุกซ์คือลินุกซ์เคอร์เนล [11] ระบบปฏิบัติการเคอร์เนล แรกท่ีปล่อยออกมาใน 17 กันยายน 2534 โดยไลนัสทอร์วาลด์ได้ [12] [13] [14] การกระจาย Linux จานวนมากใช้คาว่า \"Linux\" ในช่ือของพวกเขา มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรีใช้ช่ือ GNU / Linux เพ่อื อา้ งองิ ถึงตระกูลระบบปฏิบัติการรวมถึงการแจกจา่ ยเฉพาะเพือ่ เน้นว่าการแจกแจงลีนุกซ์ส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นแค่เคอร์เนลเท่านั้นและมีส่วนร่วมกันไม่เพียง แต่เคอร์เนลเท่านั้น สาธารณูปโภคและห้องสมุดจานวนมากซึ่งสว่ นใหญ่มาจากโครงการ GNU เร่ืองนี้นาไปสู่การโต้เถียง

Unix อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ก็มีมากมายหลายช้ินแต่เคยสงสัยกันบ้างหรอื เปล่าว่าเจ้าคอมพวิ เตอร์ รจู้ ักอปุ กรณ์เหลา่ นไ้ี ดอ้ ย่างไรและตดิ ต่อรบั ส่งข้อมูลกับอุปกรณ์เหล่าน้ีได้อย่างไรการท่ีจะทาให้คอมพิวเตอร์ใช้อุปกรณ์ เหล่านี้ร่วมกันทางานได้ก็จะต้องมีอะไรสักอย่างหน่ึงมาดูแลควบคุมใช่ไหม?ส่ิงท่ีทาหน้าท่ีควบคุมการทางานของ อปุ กรณ์ท้ังหมดท่ีรวมอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็คือ\"ระบบปฏิบัติการ\"(Operating System) หรือที่เราเรียกกันส้ันๆ ว่า โอเอส(OS)เจา้ ตัวระบบปฏิบัติการทีว่ ่าน้ีไม่ได้ทาหน้าท่ี ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆเท่าน้ันแต่มันยังมีหน้าท่ี รบั คาสั่งที่ปอ้ นจากผู้ใชม้ าแปลเพ่อื ส่งั ให้เครื่อง คอมพวิ เตอร์ทางานตามที่เราต้องการอกีด้วยในปัจจุบันมีระบบปฏิบัติการ มากมายหลายชนิดหลายระบบให้เลือกใช้ตามความต้องการของแต่ละบุคคล หรือ หน่วยงานเช่น ดอส (DOS) วินโดวส์ (WINDOWS)โอเอส/ทู (OS/2) ยูนิกซ์(UNIX) เป็นตน้

Mac OS macOS คือระบบปฏิบัติการท่ีเป็นหวั ใจสาคัญของ Mac ทุกเคร่ือง ซึ่งจะช่วยให้คุณทาสิ่งต่างๆ ได้ในแบบที่คุณจะไม่มีวันพบจากคอมพิวเตอร์เครื่องไหนๆ น่ันเป็นเพราะ macOS และฮารด์ แวรอ์ อกแบบมาเปน็ พิเศษเพอ่ื ทางานรว่ มกันโดยเฉพาะ และ macOS เองก็มาพร้อมแอพมากมายที่ล้วนออกแบบมาอย่างสวยงาม นอกจากน้ียังทางานควบคู่กับ iCloud ในการทาให้รูปภาพเอกสาร และไฟล์ประเภทอืน่ ๆ บนอปุ กรณ์ทุกเครือ่ งของคณุ ตรงกนั และอัพเดทอย่เู สมอ

FreeBSD คือซอฟต์แวร์เสรีซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่เหมือนยูนิกซ์ (Unix-like) สืบทอดมาจาก AT&TUNIX ผ่านทางสายของ Berkeley Software Distribution (BSD) คือ 386BSD และ 4.4BSD ฟรีบีเอสดีรองรบั การทางานบนซพี ียูตระกูลหลกั ๆ หลายตระกูลด้วยกัน นอกจากตระกูล X86 ของอินเทลท่ีใช้กันอย่างกว้างขวาง ก็ยังมี DEC Alpha, UltraSPARC ของ Sun Microsystems, Itanium (IA-64), AMD64 และPowerPC ส่วนของตระกูลรองได้แก่คอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรมแบบ PC-98 การรองรับสาหรับตระกูลARM และ MIPS กาลังอยู่ระหว่างการพัฒนา จุดเด่นที่สาคัญของฟรีบีเอสดีคือประสิทธิภาพและเสถียรภาพโลโก้ด้ังเดิมและตวั มาสคอตของโครงการฟรีบเี อสดคี ือตวั ดีม่อนสีแดงซงึ่ มารแ์ ชล เคิรก์ แมคคูสิก (MarshallKirk McKusick) เปน็ เจ้าของลขิ สิทธ์ิโอเอส/2 เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่เร่ิมแรกพัฒนาโดยไมโครซอฟท์และไอบีเอ็ม แต่ต่อมาทางไอบีเอ็มได้พัฒนาต่อเพียงผู้เดียว ช่ือของโอเอส/2ย่อมาจาก \"Operating System/2\" การพัฒนาโอเอส/2เร่ิมต้นเมอ่ื สิงหาคม พ.ศ. 2528 ภายใต้ชื่อรหัสว่า ซีพี/ดอส (CP/DOS) โดยใช้เวลาในการพัฒนาท้ังหมดสองปีในการออกรุ่นโอเอส/2 1.0 เม่ือเมษายน พ.ศ. 2530 จนกระทั่งในปี 2533 ไมโครซอฟท์ได้แยกและถอนตัวจากการพฒั นาเมือ่ ทางไมโครซอฟท์ได้ออกซอฟตแ์ วร์ วนิ โดวส์ 3.0 ในขณะทีโ่ อเอส/2 ออกรุ่น 1.3

RISC OS เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ซึ่งได้รับการออกแบบโดย Acorn Computers Ltdในเคมบริดจป์ ระเทศองั กฤษ ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพือ่ ใช้กับชิปเซ็ต ARM ซ่ึง Acorn ได้ออกแบบมาพร้อมกันเพอื่ ใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของ Archimedes รุ่นใหม่ RISC OS ใช้ช่ือจาก RISC (ลดการสอนชดุ คอมพวิ เตอร)์ สนบั สนนุ สถาปตั ยกรรมBeOS เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลท่ีพฒั นาข้ึนครั้งแรกโดย Be Inc.ในปี พ. ศ. 2534 เป็นคร้ังแรกที่เขียนขึ้นเพื่อใช้งานกับ Be Box hardware BeOS ถูกสร้างข้ึนสาหรับงานด้านสื่อดิจิทัลและได้รับการเขียนขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์จากสิ่งอานวยความสะดวกด้านฮาร์ดแวร์ท่ีทันสมัยเช่นการประมวลผลแบบหลายตัวประมวลผลแบบสมมาตรด้วยการใช้ แบนด์วิดท์ I / O modular, multithreading ที่แพร่หลายระบบมัลติทาสกิ้งแบบ pre-emptive และระบบแฟ้มบันทึกประจาวันแบบ 64 บิตที่เรียกว่า BFS BeOS GUI ได้รับการพัฒนาบนหลักการของความชดั เจนและการออกแบบทีส่ ะอาดและไม่ซบั ซ้อน

Amiga เป็นตระกูลคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลท่ีขายโดย Commodore เริ่มต้นในปี 1985 รูปแบบเดิมเป็นส่วนหน่ึงของคลื่นคอมพวิ เตอร์ขนาด 16 และ 32 บิตท่ีมี RAM 256 KB หรือมากกว่าGUI ของเมาส์และกราฟิกและเสียงท่ีดีขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ระบบ 8 บิต คลื่นน้ีรวม Atari ST-released ปีเดียวกัน Apple Macintosh และต่อมา Apple IIGS ข้ึนอยู่กับไมโครโปรเซสเซอร์Motorola 68000 Amiga แตกต่างจากรุ่นเดิมโดยรวมเอาฮาร์ดแวร์ที่กาหนดเองเพื่อเร่งกราฟิกและเสียงรวมทั้งสไปรต์และตัวกระพริบตาและระบบปฏิบัติการแบบมัลติทาสกิ้งท่ีเรียกว่าAmigaOSPlan9 เป็นระบบปฏิบัติการตัวหนึ่งซึ่งนาแนวคิดต่อมาจากยูนิกซ์ พัฒนาโดยห้องปฏิบัติการวิจยั เบลล์ แพลนไนนไ์ ม่ไดพ้ ฒั นามาจากยนู ิกซ์โดยตรง แต่มีหลักการทางานใกล้เคียงกันมาก แพลนไนน์ถกู พัฒนาเปน็ การภายในห้องปฏิบตั กิ ารมาช่วงระยะหนึ่ง ก่อนจะเผยแพร่สู่สาธารณชนใน ค.ศ.1993 ในปัจจุบันทางหอ้ งปฏิบัติการวิจยั เบลล์ไม่สนใจหาผลประโยชน์เชิงพาณิชย์กับแพลนไนน์อีกตอ่ ไป และประกาศให้ใชส้ ญั ญาแบบโอเพ่นซอร์ส รุน่ ล่าสดุ คอื 4th edition

NetWare เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเลิกใช้แล้วซึ่งพฒั นาขึ้นโดย Novell, Inc.ก่อนหนา้ นี้ บริษทั ได้ใชร้ ะบบมัลตทิ าสก้งิ รว่ มกันเพ่ือใช้บริการต่างๆบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยใชโ้ ปรโตคอลเครอื ข่าย IPXMorphOS เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเลิกใช้แล้วซ่ึงพัฒนาขึ้นโดย Novell, Inc.ก่อนหนา้ น้ี บรษิ ัท ไดใ้ ช้ระบบมัลติทาสก้งิ รว่ มกนั เพอื่ ใช้บริการต่างๆบนคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลโดยใชโ้ ปรโตคอลเครือข่าย IPXZaurus เป็นระบบของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกท่ีบริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาด คอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงที่เป็นประโยชน์ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพิวเตอร์ หลังจากท่ีแอปเปิลทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และแอปเปิล ทรี (Apple III)ตามกันออกมาอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรี หันมาผลิตชุดแมคอินทอชซ่ึงมีส่วนแบ่งการตลาดสงู มากในปัจจุบัน

VMS ระบบติดตามเรือ (Vessel Monitoring System; VMS) หมายถึง ระบบท่ีใช้ในการตดิ ตอ่ สอื่ สารระหวา่ งเรอื ที่ออกปฏบิ ัตงิ านอยู่กลางทะเลกับ เจ้าของเรือและศูนย์ปฏิบัติการ VMS ท่ีอยู่บนฝั่ง ด้วยการส่งสัญญาณทางอิเล็กทรอนิกส์จากเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ติดต้ังบนเรือ ประมง(Embedded Tracking Unit – ETU) แล้วส่งสัญญาณมายังหน่วยรับที่ติดต้ังเคร่ืองมืออุปกรณ์ภาครับหรือเคร่อื ง ควบคมุ ระบบทอ่ี ยบู่ นฝงั่ ท่ีศูนย์ปฏิบตั กิ าร (Monitoring & Controlling Center– MCC) เพื่อบอกให้ทราบถึงตาแหน่างปัจจุบันของเรือ คามเร็วและทิศทางของเรือท่ีกาลังแล่นและข้อมูลจากเซนเซอร์ ตลอดจนมีการบันทึกข้อมูลต่างๆ ตามเวลาท่ีผ่านมาในอดีต โดยเจ้าของเรือหรือเจา้ หน้าที่ท่เี กย่ี วข้องสามารถเรียกดขู ้อมูลยอ้ นหลังได้ ตามท่ีต้องการ ซึ่งข้อมูลจะถูกส่งผ่านGPRS (General Packet Radio Service) มายังหน่วยรับบนฝั่งผ่านเครือข่าย GSM (GlobalService Mobile)

EPOC เป็นระบบปฏิบตั กิ ารที่ออกแบบสาหรบั คอมพิวเตอร์-โทรศพั ทข์ นาดเล็ก ที่เข้าถึงแบบไร้สายไปที่บริการโทรศัพท์และสารสนเทศอื่น ๆ EPOC มีพ้ืนฐานจากระบบปฏิบัติการรุ่นก่อนจากPsion ซ่ึง เปน็ ผผู้ ลิตรายใหญ่รายแรกของ personal digital assistants ชื่อน้ีมีที่มาจากบริษัทเช่ือว่าโลกกาลังสู่ “ยุคใหม่ของความสะดวกสบายส่วนบุคคล” EPOC เป็นระบบแรกท่ีเพิ่มการส่ือสารแบบไร้สาย และสถาปัตยกรรมสาหรับการเพมิ่ โปรแกรมประยุกต์ Psion ประกาศว่าเวอร์ชันแรกของ EPOC จะเปน็ ระบบปฏบิ ตั ิการเปดิ และอนุญาตให้กับผู้ผลติ อุปกรณ์อืน่ Psion ได้ต้ังบริษัทใหม่ร่วมกับ Ericson Nokia และ Motorola เรียกว่า symbian ซึ่งเป็นเจ้าของใบอนุญาต EPOC ในปัจจุบันและพัฒนาต่อไป สาหรับผู้ผลิตอุปกรณ์ขนาดกระเป๋า EPOC เป็นทางเลือกนอกจากWindows CE ของ Microsoft (Palm pilot ของ 3 COM ใช้ระบบปฏิบัติการของตัวเองเรียกว่าPalm OS)

Solaris ช่ือเต็ม The Solaris Operating Environment (เดอะ โซลาริส โอปาเรติ่ง อมิ วายเมน) เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่อยู่ในตระกูลเดียวกับระบบปฏิบัติการ Unix (ยูนิกซ์)พัฒนาข้ึนโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์ สามารถรองรับการทางานแบบเครือข่ายได้เช่นเดียวกับระบบอื่นระบบปฏิบัติการโซลาริสใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 2 แบบ คือ แบบ สปาร์ค และแบบx86 (แบบเดยี วกบั ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป) รุ่นแรก ๆ ของโซลาริส ใช้ช่ือว่า SunOS(ซันโอเอส) โดยมีพ้ืนฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูล BSD (บีเอสดี) และต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้โค้ดของSystem V (ซิสเต็มส์ไฟว์) แทน และเปล่ียนช่ือมาเป็น โซลาลิส ดังเช่นในปัจจุบัน (เวอร์ชันล่าสุดปัจจุบันคือ Solaris 11.3 ทอ่ี อกในปี 2015)IRIX เป็นระบบปฏิบัติการท่ียกเลิกโดย Silicon Graphics (SGI) เพ่อื ทางานบนเวิรก์ สเตชันและเซิร์ฟเวอร์ของ MIPS เป็นระบบ UNIX System V ท่ีมีส่วนขยาย BSD IRIX เป็นระบบปฏบิ ัติการชุดแรกท่ีมีระบบไฟล์ XFS

Darwin เป็นนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ผู้ทาการปฏิวัติความเชื่อเดิม ๆ เกี่ยวกับที่มาของส่ิงมีชีวิตและเสนอทฤษฎีซ่ึงเป็นท้ังรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพ้ืนฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เขาตีพิมพ์ข้อเสนอของเขาในปี ค.ศ. 1859 ในหนังสือชื่อ TheOrigin of Species (กาเนิดของสรรพชีวิต) ซึ่งเป็นผลงานที่มีช่ือเสียงที่สุดของเขา ผลงานน้ีปฏิเสธแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ท้ังหมดที่เคยมีมาก่อนหน้าน้ีเก่ียวกับการกลายพันธ์ุของปีชีส์[1][2] ช่วงคริสต์ทศวรรษ1870 ชุมชนวิทยาศาสตร์และสาธารณชนส่วนมากจึงยอมรับทฤษฎีวิวัฒนาการในฐานะท่ีเป็นความจริงอย่างไรก็ดี ยังมีคาอธิบายที่เป็นไปได้ทางอ่ืนๆ อีก และยังไม่มีการยอมรับทฤษฎีน้ีเป็นเอกฉันท์ว่าเป็นกลไกพื้นฐานของวิวัฒนาการ ตราบจนกระท่ังเกิดแนวคิดการสังเคราะห์วิวัฒนาการยุคใหม่ (modernevolutionary synthesis) ขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930-1950[3][4] การค้นพบของดาร์วินยังถือเป็นรูปแบบการควบรวมทางทฤษฏีของศาสตร์เก่ียวกับชีวิต ที่อธิบายถึงความหลากหลายทางชีวภาพของส่ิงมชี วี ติ [5][6]HPUX HP-UX (จาก \"Hewlett Packard Unix\") คือการใช้งานระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของ Hewlett-Packard Enterprise โดยใช้ระบบ UNIX System V (ระบบแรกของระบบ III) และได้รับการเผยแพร่เป็นคร้ังแรกในปีพศ. 2527 รุ่นล่าสุดสนับสนุนระบบคอมพิวเตอร์ HP 9000, บนพ้ืนฐานของสถาปัตยกรรมชดุ คาสง่ั PA-RISC และระบบ HP Integrity บนสถาปัตยกรรม Itanium ของ Intel

UNICOSเป็นระบบซอฟต์แวร์ท่ีทาหน้าที่จัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และแหล่งซอฟต์แวร์และบริการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายการสง่ สญั ญาณเสยี งไปออกลาโพง หรอื จดั สรรพ้นื ท่ีในหน่วยความจา ตามท่ีซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมท้ังทาหน้าท่ีจัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายๆ ตวั ทางานพร้อมๆ กนัMINIXเป็นเหมือนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขนาดเล็ก ข้อดีคือ ราคาถูก ประสิทธิภาพค่อนข้างดีประหยัดไฟมาก และน้าหนักเบา พกพาไปไหนมาไหนสะดวก เหมาะสาหรับงานท่ัวไปและความบนั เทิงAIXAIX ย่อมาจาก Advanced Interactive executive ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ของบริษัทไอบีเอม็ ซ่ึงใช้ในสถาน่ีงานยูนิกซ์ RS/6000 ระบบปฏิบัติการ AIX เป็นยูนิกซ์ในกลุ่ม System V และมีคาสั่งท่ีครอบคลุมถึงยนู กิ ซใ์ นกลมุ่ BSDทางานไดบ้ นเวริ ์กสเตชนั มนิ ิคอมพวิ เตอร์ และเมนเฟรม

Chrome OS กูเกิล โครมโอเอส (องั กฤษ: Google Chrome OS) เป็นโครงการระบบปฏิบัติการที่ออกแบบและผลิตโดยกูเกิล โดยเป้าหมายสาหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานเวิลด์ไวด์เว็บเป็นหลักเปิดตัวเม่ือวันท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ซอฟต์แวร์นี้พัฒนาต่อจากกูเกิลโครม และเคอร์เนิลลินุกซ์โดยตัวระบบปฏิบัติการนี้มุ่งเน้นสาหรับคอมพิวเตอร์ในลักษณะของโน้ตบุ๊ก โดยวางแผนจะเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2553 ระบบปฏิบัตกิ ารจะทางานกบั โพรเซสเซอร์ x86 หรอื ARM architectureSuriyan เป็นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการท่ีสามารถใช้งานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ัวไป โดยSIPA เหน็ ว่าการท่ีประชากรในชาติจะต้องใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่เป็น ซอฟต์แวร์เชิงพานิชนั้น นอกจากจะสิ้นเปลืองและไม่ปลอดภัยแล้ว เราจะไม่สามารถใช้งานได้อย่างย่ังยืนอีกด้วย ทางSIPA จึงพฒั นาระบบปฏิบัติการ Suriyan ท่ีเป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สท้ังระบบข้ึนมาให้ใช้งาน เพ่ือเป็นทางเลือกในการใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ีต้องการความประหยัด และความปลอดภัย ที่สามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งย่ังยนื

IOS ผูพ้ ฒั นา บริษัทแอปเปลิ Edit this on Wikidata เขียนด้วย C, C++, ออ็ บเจกทฟี -ซ,ี จาวา (มีขอ้ ตระกลู พพิ าท) สถานนะ แมคโอเอสเทน็ , ยูนกิ ซ์ รหัสตน้ ฉบับ วันทีเ่ ปิดตัว ยงั ให้บริการอยู่ รนุ่ เสถียร ซอฟต์แวร์จากดั สทิ ธ์ิ มิถุนายน 29, 2007; 10 ปีกอ่ น ร่นุ ทดลอง 11.0.3 (15A432) (ตลุ าคม 11, 2017; 7 เดือนกอ่ น) 11.1 beta 3 (15B5086a) (ตุลาคม 16, 2017; 7 เดือนก่อน)

ThaiOS Thai OS Thai OS เป็นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ัวไป โดย SIPA เหน็ ว่าการท่ีประชากรในชาติจะต้องใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่เป็น ซอฟต์แวร์เชิงพานิชนั้น นอกจากจะสิ้นเปลืองและไม่ปลอดภัยแล้ว เราจะไม่สามารถใช้งานได้อย่างย่ังยืนอีกด้วย ทาง SIPA จึงพฒั นาระบบปฏิบัติการ Suriyan ท่ีเป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สท้งั ระบบข้ึนมาใหใ้ ชง้ าน เพอ่ื เปน็ ทางเลือกในการใช้งานคอมพวิ เตอร์ท่ีต้องการความประหยัดและความปลอดภัย ที่สามารถใช้งานได้อย่างย่ังยืน จากความสาเร็จในการพัฒนา Suriyan การตอบรบั ทีด่ ีจากผู้ใช้ SIPA จึงประกาศ ความเป็นมาของ Thai OS Suriyan เป็นโครงการภายใต้การดูแลของสานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิป้า ซึ่งเริ่งโครงการเมื่อปี พ.ศ. 2549 โดยเป็นโครงการพัฒนาลินุกซ์เซิร์ฟเวอร์พร้อมใช้ (instant server) ให้ชื่อว่า Suriyan GNU/Linux การพัฒนา Suriyan ในแง่มุมของการใช้งานเซิร์ฟเวอร์ยังไม่เเพียงพออีกทั้งการตอบรับยังไม่กว้างพอ ทาให้การพฒั นาโครงการ Suriyan GNU/Linux ล่าช้าลงและลดบทบาทการพฒั นาในเวอร์ชัน 1.0 สาหรับโครงการ Suriyan GNU/Linux ยังสามารถดาวน์โหลดได้ท่ี suriyan.org

android คือระบบปฏิบัติการแบบเปิดเผยซอร์ฟแวรต์ ้นฉบับ (Open Source) โดยบรษิ ัท กูเกิ้ล(Google Inc.) ทไี่ ด้รับความนยิ มเป็นอยา่ งสูง เนื่องจากอปุ กรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ มีจานวนมาก อุปกรณ์มีหลากหลายระดับ หลายราคา รวมทั้งสามารถทางานบนอุปกรณ์ท่ีมีขนาดหนา้ จอ และความละเอียดแตกตา่ งกันได้ ทาให้ผูบ้ ริโภคสามารถเลอื กไดต้ ามต้องการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook