Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore merged (pdf.io) (1)

merged (pdf.io) (1)

Published by kittikan2505, 2020-06-01 05:38:37

Description: merged (pdf.io) (1)

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการศึกษา ภาษาสันสกฤตเบอื้ งตน้ Basic Sanskrit ससं ्कृ त เรียบเรยี งโดย พระครกู ติ ตชิ ัยกาญจน์ ป.ธ.๔, พธ.บ., M.A. หลกั สูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา โครงการขยายห้องเรียน มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะพุทธศาสตร์ วดั ไชยชมุ พลชนะสงคราม พระอารามหลวง จงั หวัดกาญจนบุรี

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ คำนำ (ในกำรพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓) เอกสารประกอบการเรียนการสอน ภาษาสันสกฤตเบื้องต้น เล่มนี้ ได้พิมพ์เป็นครั้งที่ ๓ ผู้เรียบเรียงได้ปรับปรุงแก้ไขคาศัพท์ต่าง ๆ ที่มีข้อผิดพลาดอยู่บ้าง ให้ถูกต้องมากขึ้น และเพิ่มเนื้อหา ของ สังขยาและอัพยยศพั ท์ และยังไดเ้ พิ่มวตั ถุประสงค์ ขอบข่ายเนอ้ื หาและแบบฝึกหดั ในแต่ละบทให้ มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อใช้เป็นคู่มือในการศึกษาวิชาภาษาสันสกฤตของนิสิตภาควิชา พระพุทธศาสนา โครงการขยายห้องเรียน คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั ห้องเรียนวัดไชยชุมพลชนะสงคราม จังหวัดกาญจนบรุ ี ข้าพเจ้าขออนุโมทนาขอบคุณบุรพาจารย์ผู้สอนภาษาสันสกฤตใหแ้ ก่ข้าพเจ้า และท่านเจ้าของ ตาราที่ข้าพเจ้าได้นามาเพื่อใช้ประกอบการเรียบเรียงครั้งนี้ และขออนุโมทนาขอบใจ นางสาวพิมพา ไทรสังขโกมล และนางสาวสาริณี ไทรสังขสิริพงศ์ เจ้าหน้าที่ มจร. ที่ช่วยจัดหน้ากระดาษให้เป็นท่ี เรยี บรอ้ ย หากเอกสารการเรียนการสอนภาษาสันสกฤตเบอ้ื งตน้ เลม่ นี้ มขี อ้ ผิดพลาด ขอครูอาจารย์และ ท่านผู้รู้ได้เมตตาชี้แนะ จักเป็นพระคุณอย่างยิ่ง และขอบุญกุศล ความดี ที่เกิดจากเอกสารเล่มน้ี จงสาเรจ็ ประโยชน์แก่ทกุ ทา่ น พระครกู ิตติชัยกาญจน์ เรียบเรียง ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ห น้า | ก

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ คำนำ (ในกำรพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒) เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาสนั สกฤตท่ไี ดจ้ ดั ทาข้นึ ในครง้ั แรกนนั้ จดั ทา ดว้ ยความเร่งรีบประการหน่ึง และอกี ประการหน่ึงคือ ในเวลานนั้ ยงั ไม่สามารถหาแบบอกั ษรภาษา สนั สกฤตท่จี ะมาใชพ้ มิ พใ์ นคอมพวิ เตอรไ์ ด้ จงึ ใชก้ ารเขยี นดว้ ยลายมอื ทาใหม้ คี วามผดิ พลาดอยู่ บา้ งและไม่สวยงาม หลงั จากใชเ้ ป็นตาราประกอบการเรียนการสอนได้ ๓ ภาคการศึกษา พระครูวรวงศ์ พระ นิสติ ชนั้ ปีท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ซ่งึ มคี วามชานาญทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ รบั อาสาพมิ พต์ น้ ฉบบั ใหใ้ หม่ อกี ทง้ั ยงั ช่วยคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ ประวตั คิ วามเป็นมาของภาษาสนั สกฤตและเน้ือหาบางส่วน ทา ใหเ้อกสารประกอบการเรียนการสอนภาษาสนั สกฤต ในการพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒ น้ี มคี วามสมบูรณ์และ สวยงามยง่ิ ข้นึ ซง่ึ จะเป็นประโยชนแ์ ก่พระนิสติ ในรุ่นต่อๆ ไปไดใ้ ชเ้ป็นเอกสารประกอบการศึกษาได้ งา่ ยข้นึ จงึ ขออนุโมทนาขอบคุณพระครูวรวงศ์ มา ณ โอกาสน้ี พระครูกติ ตชิ ยั กาญจน์ ๔ ส.ค. ๒๕๕๔ ห น้า | ข

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ คำนำ (ในกำรพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑) เอกสารการเรียนการสอนภาษาสนั สกฤตน้ี เกิดข้นึ เพราะขา้ พเจา้ ไดร้ บั มอบหมายใหส้ อนใน วชิ าน้ี อนั เป็นวชิ าเลอื ก ท่ยี งั ไม่มีผูส้ อนท่จี บดา้ นน้ีโดยตรง แมแ้ ต่ขา้ พเจา้ เองก็ไมไดจ้ บทางดา้ น ภาษาสนั สกฤตโดยตรง แต่อาศยั ทเ่ี คยไดเ้ รียนมาตง้ั แต่บาลอี บรม จนถงึ อดุ มศึกษา ก็ยงั พอทจ่ี ะมี ความรูห้ ลงเหลอื อยู่บา้ ง ประกอบกบั ไดข้ อคาแนะนาจากท่านผูร้ ู้ และคน้ ควา้ เพ่ิมเติมจากตารา สนั สกฤตต่างๆ ทาใหก้ ารเรียนการสอนพอเป็นไปได้ ซ่งึ ในช่วงแรกใหพ้ ระนิสติ จดตามท่เี ขยี นบน กระดาน ระหว่างปิดภาคเรียนท่ี ๑ ประมาณ ๑๕วนั ไดใ้ ชเ้ วลาในช่วงน้ี เรียบเรียงเอกสาร ประกอบการเรยี นการสอนภาษาสนั สกฤตฉบบั น้ีข้นึ มา เพอ่ื เป็นแบบเรยี นใหพ้ ระนิสติ ใชเ้ป็นคู่มอื ใน การศกึ ษา เอกสารประกอบการเรยี นการสอนฉบบั น้ี จะเกิดข้นึ มไิ ดเ้ ลย หากไม่ไดร้ บั ความเมตตาจาก หลวงพด่ี ารง (พระมหาดารง สริ คิ ุตฺโต) หวั หนา้ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล (เพอ่ื นร่วมรุ่น) ไดม้ อบสมดุ บนั ทกึ วชิ าสนั สกฤตท่ที ่านยงั สามารถเก็บรกั ษาไวอ้ ย่างดี นบั ว่าเป็นอุปการคุณต่อขา้ พเจา้ เป็นอย่าง ยง่ิ จงึ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี เอกสารประกอบการเรียนการสอนภาษาสนั สกฤตฉบบั น้ี ไดเ้ รียบเรียงในช่วงเวลาท่เี ร่งรดั ยงั คงมขี อ้ บกพร่องและผดิ พลาดอยู่บา้ ง ขอครูอาจารยแ์ ละท่านผูร้ ูท้ งั้ หลายไดโ้ ปรดเมตตาแนะนา จกั ขอบพระคุณอย่างสูง ขอขอบพระคณุ แดบ่ รุ พาจารยผ์ ูส้ อนภาษาสนั สกฤตใหแ้ ก่ขา้ พเจา้ และเจา้ ของตาราทข่ี า้ พเจา้ ไดน้ ามาเพอ่ื ใชป้ ระกอบการเรยี บเรยี งในครงั้ น้ี ไว้ ณ โอกาสน้ี พระครูกิตตชิ ยั กาญจน์ ๑๕ ต.ค. ๒๕๕๑ ห น้า | ค

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ หนา้ สำรบญั กขค งจฉ คานา สารบญั ๒ บทท่ี ๑ ความรู้เบอื้ งตน้ ๓ ๖ ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั ภาษาสนั สกฤต ๘ ประโยชนข์ องภาษาบาลแี ละสนั สกฤตทม่ี ตี อ่ ภาษาไทย ประเภทของระบบการเขยี น ๑๐ แบบฝึกหดั ๑๒ บทท่ี ๒ อักษรเทวนาครี ๑๕ อกั ษรเทวนาครี ๒๐ วธิ กี ารเขยี นอกั ษรเทวนาครี ๒๐ ตารางแสดงพยญั ชนะ ๒๑ ตารางเปรยี บเทยี บสระ ฯ ๒๒ ตารางเปรยี บเทยี บพยญั ชนะ ๒๔ พยญั ชนะตวั สะกด กฎเกณฑก์ ารเขยี นพยญั ชนะ र् แบบฝึกหดั ห น้า | ง

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ สำรบญั ๒๖ ๒๘ บทที่ ๓ ฐานทเ่ี กดิ ของอกั ษร ๒๙ ฐานทเี่ กดิ ของอกั ษร ๓๔ เสยี งของอกั ษร ๓๖ พยญั ชนะสงั ยกุ ต์ สงั ขยา ๓๘ แบบฝกึ หดั ๓๙ ๔๐ – ๕๔ บทที่ ๔ นารมศพั ท์ นามศพั ท์ ๕๕ วภิ กั ติ ๕๗ แจกนาม अ การนั ตป์ ลุ ลงิ ค์ – उ การันต์ นปสฺุ กลงิ ค์ ๕๗ แบบฝกึ หดั ๕๗ บทที่ ๕ สรรพนาม ๕๘ สรรพนาม ๕๘ บรุ ษุ สรรพนาม ๖๐ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๑ ๖๓ สรรพนามบุรษุ ที่ ๒ ๗๑ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๓ นยิ มสรรพนาม อนยิ มสรรพนาม แบบฝกึ หดั ห น้า | จ

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ สำรบญั บทที่ ๖ อัพยยศพั ท์ ๗๓ อพั ยยศพั ท์ ๗๓ อปุ สรรค ๗๔ นบิ าต ๗๗ แบบฝกึ หดั ๗๙ บทท่ี ๗ กรยิ า ๘๐ กริยาอาขยาต ๘๐ วภิ กั ตกิ รยิ า ๘๑ วภิ กั ตหิ มวด วรตฺ มานะ ๘๒ วภิ ก้ ตหิ มวด อนทยฺ ตนภตู ะ ๘๓ ตวั อยา่ งธาตคุ ณะท่ี ๑ ๘๗ แบบฝึกหดั บรรณานกุ รม ห น้า | ฉ

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบอ้ื งต้น บทที่ ๑ ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั ภาษาสนั สกฤต วัตถุประสงค์ ๑. อธิบายความเป็นมาของภาษาสันสกฤตได้ ๒. อธบิ ายประโยชนข์ องภาษาสนั สกฤตได้ ๓. อธบิ ายสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ในภาษาสนั สกฤตได้ ขอบขา่ ยเนือ้ หา ความเปน็ มาของภาษาสันสกฤต ประโยชน์ของภาษาสนั สกฤต สัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ในภาษาสนั สกฤต กิจกรรมการเรยี นการสอน บรรยาย อภปิ ราย, ซักถาม ทำแบบฝกึ หัดท้ายบท ส่ือการเรียนการสอน เอกสารประกอบการสอน Power Piont ห น้ า | ๑

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ ससं ्कृ त ภาษาสันสกฤต (Sanskrit Langue) ภาษาสันสกฤต เป็นภาษาท่ีมีววิ ัฒนาการมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน ถือเป็น ภาษาที่ศักดิ์สิทธ์ิของคนชั้นสูง แต่เดิมไม่ได้มีการวางหลักเกณฑ์เคร่งครัด ต่อมาเมื่อระยะเวลาล่วงไป ประกอบกับภาษาในคัมภีร์พระเวทน้ีมีภาษาพ้ืนเมืองปะปนอยู่มาก เป็นเหตุให้หลักเกณฑ์ต่างๆ ของ ภาษานี้คลาดเคลื่อนไป กระทั่งได้มีนักปราชญ์ของอินเดียคนหนึ่งชื่อ “ปาณินิ (पाणिणि : Pāṇini)” ได้ ศกึ ษาคัมภีร์พระเวทท้ังหลาย แล้วนำมาแจกแจงวางหลักเกณฑใ์ ห้เป็นระเบียบและรัดกุม แตง่ เป็นตำรา ไวยากรณ์ขึ้นเรียกชื่อว่า “อัษฏาธยายี (अष्टाध्यायी : Aṣṭādhyāyī)” และต่อมาได้มีผู้เรียกภาษาท่ี ปาณินิได้จัดระเบยี บของภาษาไว้เป็นอย่างดีและสมบูรณ์ท่ีสุดน้ีวา่ “สันสกฤต” แต่กฎเกณฑ์ท่ีปาณินิได้ วางไว้นี้กลับเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาษาสันสกฤตไม่มีวิวัฒนาการเหมือนภาษาอื่นๆ เพราะนอกจาก ภาษาสันสกฤตจะถือว่าเปน็ ภาษาท่ศี ักด์ิสิทธิ์ ใช้ในหมู่ของนักปราชญ์ โดยเฉพาะกษัตริยแ์ ละพราหมณ์ที่ เป็นบุรุษเพศ กฎเกณฑ์และรายละเอียดปลีกย่อยยังทำให้ไม่เอื้อต่อการใช้ จึงทำให้ภาษาสันสกฤตเป็น ภาษาตายในท่สี ดุ ภาษาสันสกฤต (ससं ्कृ ता वाक् : Saṁskṛtā Vāk : สํสฺกฤตา วากฺ) เป็นภาษาที่เก่าแก่ท่ีสุด ภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน คำว่า สํสฺกฤต (ससं ्कृ त: Saṁskṛta) แปลว่า “กลั่นกรองแล้ว” ส่วนคำว่า สํสฺกฤตา วากฺ แปลว่า “ภาษาที่กลั่นกรองแล้ว” ซ่ึงเป็นภาษาของชนช้ันพราหมณ์ ตรงข้าม กับภาษาพูดของชาวบ้านท่ัวไปที่เรียกว่าปรากฤต ภาษาสันสกฤตมีพัฒนาการในหลายยุคสมัย โดยมี หลกั ฐานเก่าแก่ที่สดุ คือภาษาทป่ี รากฏในคัมภรี ฤ์ คเวท (เมือ่ ราว ๑๒๐๐ ปกี ่อนครสิ ตกาล) ภาษาสันสกฤตไม่มีอักษรสำหรับเขียนชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ และก็คล้ายกับภาษาอื่น หลายภาษา น่ันคือสามารถเขียนได้ด้วยอักษรหลายชนิด อักษรเก่าแก่ที่ใช้เขียนภาษาสันสกฤตมีหลาย ชนิดด้วยกัน เช่น อักษรขโรษฐี (Kharoṣṭhī) หรืออักษรคานธารี (Gāndhārī) นอกจากน้ียังมีอักษร พราหมี (อักษรทั้งสองแบบพบได้ท่ีจารึกบนเสาอโศก) รวมถึง อักษรสิทธัม ซ่ึงใช้บันทึกคัมภีร์พุทธ ศาสนารวมถึงบทสวดภาษาสันสกฤตในประเทศจีนและญ่ีปุ่นโดยเฉพาะในนิกายมนตรยาน อย่างไรก็ ตาม โดยทั่วไปนิยมเขียนภาษาสันสกฤตด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ส่วนอักษรอ่ืนๆ เป็นความ นิยมในแต่ละท้องถิ่น ทั้งน้ีเน่ืองจากอักษรท่ีใช้ในอินเดีย มักจะเป็นตระกูลเดียวกัน จึงสามารถดัดแปลง และถ่ายทอดระหวา่ งชุดอกั ษรได้ง่าย แม้กระทั่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังมีจารึกภาษาสันสกฤตที่ใช้ อักษรปัลลวะ อักษรขอม นอกจากน้ีชาวยุโรปยังใช้อักษรโรมันเขียนภาษาสันสกฤต โดยเพ่ิมเติมจุดและเคร่ืองหมายเล็กน้อย เท่านน้ั แม้ว่าภาษาสันสกฤตนั้น สามารถใช้อักษรต่างๆ ไดแ้ ทบทุกแบบของอนิ เดียก็ตาม แต่มักจะนยิ ม ใช้อักษรเทวนาครีเพียงอย่างเดียว ดังนั้นเอกสารประกอบการสอนภาษาสันสกฤตเบื้องต้นน้ี จึงศึกษา ห น้า | ๒













































เอกสารประกอบการสอน วิชาภาษาสันสกฤตเบ้อื งต้น บทที่ ๓ ฐานท่ีเกดิ ของอกั ษร (Places of Pronunciation) วัตถปุ ระสงค์ ๑. สามารถบอกฐานที่เกดิ ของอักษรได้ ๒. สามารถออกเสียงได้ถกู ต้องตรงตามอักษร ๓. รู้จกั วธิ กี ารซอ้ นและกล้ำพยัญชนะ ๔. สามารถเขยี นและอา่ นตวั เลขภาษาสนั สกฤตได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ฐานทเ่ี กดิ ของอกั ษร เสียงของอักษร พยัญชนะสงั ยุกต์ (พยัญชนะซอ้ น) และพยัญชนะกล้ำ ตวั เลข และการอา่ นตัวเลขสันสกฤต กจิ กรรมการเรียนการสอน บรรยาย อภิปราย, ซักถาม ทำแบบฝึกหัดท้ายบท ส่อื การเรยี นการสอน เอกสารประกอบการสอน Power Piont ห น้ า | ๒๕

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ ฐานท่ีเกิดของอกั ษร (Places of Pronunciation) ฐานท่ีเกิดของอักษร คือตำแหน่งที่เสียงพยัญชนะและสระเกิดข้ึน ซ่ึงในภาษาสันสกฤตน้ี มีอยู่ ด้วยกัน ๙ ตำแหน่ง ดังน้ี ๑. กัณฐยะ เสยี งท่ีเกดิ แตค่ อ ได้แก่สระ अ आ พยัญชนะ ก วรรค क ख ग घ ङ् อวรรค ह् และวิสรฺค ः ๒. ตาลัพยะ เสียงทเี่ กดิ แต่เพดาน ไดแ้ ก่สระ इ ई พยญั ชนะ จ วรรค च छ् ज झ ञ อวรรค य श ๓. มูรธนั ยะ เสยี งทเี่ กิดแต่ปุ่มเหงอื ก ไดแ้ ก่สระ ऋ ॠ พยญั ชนะ ฏ วรรค ट् ठ् ड् ढ् ण อวรรค र ष ๔. ทนั ตยะ เสียงทเี่ กดิ แต่ฟัน ได้แกส่ ระ ऌ พยญั ชนะ ต วรรค त थ द् ध न อวรรค ि स ๕. โอษฐยะ เสยี งทเี่ กิดแต่รมิ ฝีปาก ไดแ้ ก่สระ उ ऊ พยัญชนะ ป วรรค प फ ब भ म ๖. กัณฐตาละวยะ เสยี งทีเ่ กิดแต่คอและเพดาน ได้แก่ ए ऐ ๗. กณั เฐาษฺฐฺยะ เสียงท่ีเกิดแต่คอและริมฝปี าก ไดแ้ ก่ ओ औ ๘. ทนั เตาษฺฐยฺ ะ เสียงทเ่ี กดิ แตฟ่ นั และรมิ ฝปี าก ได้แก่ व ๙. นาสิกยะ เสยี งท่ีเกดิ แตจ่ มกู ได้แก่ अ ห น้ า | ๒๖

เอกสารประกอบการสอน วิชาภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ इ ई พยญั ชนะ จ วรรค च छ ज झ ञ य श अं उऊ ऋ ॠ พยญั ชนะ ฏ วรรค ट ठ ड ढ ि र ष พยญั ชนะ ऌ พยญั ชนะ ต วรรค त थ द ध ि ल स ป วรรค पफब भम अआ พยญั ชนะ ก วรรค फ ख र् घ ङ ह , ैः ैःैःैःैःैःैःैःैःैःैः ห น้ า | ๒๗

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ เสยี งของอักษร (Pronunciation) อักษรนั้น แต่ละตัวย่อมมีลักษณะของการออกเสียงแตกต่างกันออกไป เพื่อทำให้คำมีความ แตกต่าง ซ่งึ ระบบเสียงของภาษาสนั สกฤตนน้ั สามารถจำแนกได้ดังนี้ ๑. เสยี งอโฆษะ (เสียงไมก่ ้อง) ได้แกพ่ ยญั ชนะ क ख च छ् ट् ठ् त थ प फ श ष स ๒. เสียงโฆษะ (เสียงกอ้ ง) ได้แก่ สระท้งั หมด अ आ इ ई उ ऊ ऋ ॠ ऌ ए ऐ ओ औ अ अ และ พยัญชนะ र् ् घ ् ङ् ज ् झ ्ञ ् ड ् ढ ् ि ् द ् ध ् ि ् ब ् भ ् म ् य ् र ् ल ् व ् ह ् ๓. เสยี งสิถลิ (เสียงเบา) ได้แก่ क् र् ् च ् ज ् ट ् ड ् त ् द ् प ् ब ् य ् र ् ल ् व ् ๔. เสียงธนติ (เสียงหนกั ) ได้แก่ ख ् घ ् छ ् झ ्ठ ् ढ ् थ ् ध ् फ् भ ् श ् ष ् स ् ह ् ๕. เสยี งอนนุ าสกิ (เสยี งขนึ้ จมกู ) ได้แก่ ङ् ञ ् ि ् ि ् म ् ตารางแยกเสียงพยญั ชนะ ก วรรค อโฆษะ สิถิล โฆษะ จ วรรค สถิ ลิ ธนิต ग ธนติ ธนติ อนนุ าสิก ฏ วรรค कख ज घ ङ् ต วรรค च छ् ड् झञ ป วรรค ट् ठ् द् ढ् ण อรรธสระ तथ ब धन อษู มะ पफ यरिव भम शषस ह् ห น้ า | ๒๘

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสันสกฤตเบอ้ื งต้น พยัญชนะสงั ยกุ ต์ (พยัญชนะซ้อน) ในการประสมคำภาษาสันสกฤต พยญั ชนะท้ังหลายที่ไม่ประสมกับสระ เม่ือเขียนอยูต่ ิดกนั หรือ อยู่ซ้อนกัน จะสามารถเขียนเป็นอีกรูปแบบหน่ึง เป็นลักษณะอักษรรวม (ligature) เรียกว่า พยัญชนะสังยุกต์ พยัญชนะสังยุกต์น้ี บางตัวก็มีรูปคล้ายรูปเดิม บางตัวก็ต่างจากรูปเดิม โดยตัวหนึ่งมี หน้าท่ีเป็นตัวสะกด ตัวหนึ่งเป็นตัวตาม การเขียนพยัญชนะสังยุกต์ มีรายละเอียดของกฏเกณฑ์ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. พยัญชนะตัวท่ี ๑ ซ้อนหนา้ ตนเอง และซ้อนหนา้ พยญั ชนะตัวที่ ๒ ในวรรคของตน ๑.๑ พยัญชนะตวั ที่ ๑ ซ้อนหน้าตนเอง กกฺ क्क , क्क सक्को (sakko) สกฺโก เท้าสักกะ จจฺ च्छ्रच , च्च उच्छ्रचो (ucco) อุจโฺ จ สูง ฏฏฺ ट्ट ् अट्टो (aṭṭo) อฏโฺ ฏ คดี (attā) อตฺตา ตน ตตฺ त्त अत्ता (sappo)สปโฺ ป งู ปฺป प्प सप्पो (akkharaṁ) อกขฺ รํ อักษร (accharā) อจฉฺ รา นางอปั สร ๑.๒ พยญั ชนะตวั ที่ ๑ ซ้อนหนา้ พยญั ชนะตวั ท่ี ๒ กฺข क्ख अक्खर จฉฺ च्छ्रछ् अच्छ्रछरा ฏฐฺ ट्ठ ् अणट्ठ (aṭṭhi) อฏฺฐิ กระดกู ตถฺ त्थ हत्थो (hattho)หตโฺ ถ หัตถ์,มือ ปฺผ प्फ पुप्फ (pupphaṁ)ปุปฺผํ ดอกไม้ ๒. พยัญชนะตวั ที่ ๓ ซอ้ นหนา้ ตนเอง และซ้อนหน้าพยัญชนะตวั ท่ี ๔ ในวรรคของตน ๒.๑ พยัญชนะตวั ที่ ๓ ซ้อนหนา้ ตนเอง คคฺ ग्ग अिग्ग (aggi) อคฺคิ ไฟ ชฺช ज्ज, ज्ज मज्ज (majjaṁ) มชชฺ ํ นำ้ เมา ฑฺฑ ड्ड ् छु ड्डो (chuḍḍo)ฉฑุ โฺ ฑ อนั เขาท้ิงแล้ว ห น้ า | ๒๙


























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook