Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการสมุดพก

สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการสมุดพก

Published by สนง พมจ.กาฬสินธุ์, 2021-11-16 05:11:37

Description: สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการสมุดพก

Search

Read the Text Version

สารบญั หน้า เรื่อง ๑ ๒ บทสรุป ๑๐ รายงานผลการดำเนนิ งาน ภาคผนวก ๑. เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมินโครงการ (แบบสอบถาม) ๒. กำหนดการการประชุม ๓. ภาพบรรยากาศการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมประกอบโครงการ

๑ บทสรุป การประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงาน โครงการบูรณาการ การจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ มี วัตถุประสงค์เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์มีความรู้ ความเข้าใจใน การจัดทำสมุดพกครัวเรือน รวมทั้งสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานของเจ้าหน้าที่ และ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกันในการจัดทำสมุดพกครัวเรือน โดยกลุ่มเป้าหมาย โครงการประกอบด้วยเจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด กาฬสินธุ์ จำนวน ๗๕ คน และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จำนวน ๑๓๕ คน รวม กลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น ๒๑๐ คน โดยมีกลุ่มงานนโยบายและวิชาการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ การประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงาน โครงการบูรณาการ การจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ ดำเนินการ ณ โรงแรมริมปาว อำเภอเมืองกาฬสินธ์ุ จังหวัดกาฬสินธุ์ ระหว่างวันที่ ๓ -๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ รวม ๕ วัน โดยการดำเนินการประชุมนั้น จะเป็นรูปแบบการบรรยายให้ความรู้ ในหัวข้อ การแก้ไขปัญหา ครัวเรือนยากจนแบบเบ็ดเสร็จแม่นยำ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ การวิเคราะห์และวางแผนการ ช่วยเหลือครัวเรือนยากจน TPMAT และแนวทางการจัดทำสมุดพกครัวเรือนกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ พร้อมทั้งจับคู่ฝึกปฎิบัติการจัดทำสมุดพกครัวเรือนจากผลการประเมินการประชุมเชิง ปฎิบัติการเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงาน โครงการบูรณาการการจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการส่วน ใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ประเด็นคำถามโดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความพึงพอใจ สถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย ๔.๔๐ ส่วนประเด็นคำถามที่มีค่าเฉล่ียต่ำสุด คือ ความรู้ความ เข้าใจในเรื่องนี้ก่อนอบรมโดยมีค่าเฉล่ีย ๓.๘๑ อย่างไรก็ดี ความพึงพอใจในภาพรวมของการประชุมในครั้งนี้ ถือว่าอยู่ในระดับความพึงพอใจมากมีค่าเฉลี่ย ๔.๒๔ รวมทั้งได้มีข้อเสนอแนะให้สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้มีการจัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมอีกครั้ง เพื่อให้เจ้าหน้าที่และ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีความรู้ความเข้าใจในการจัดเก็บข้อมูลสมุดพกครัวเรือน มากย่ิงขึ้น จากผลการประเมินและข้อเสนอแนะ กลุ่มงานนโยบายและวิชาการ สำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกาฬสินธ์ุ ผู้รับผิดชอบโครงการ จะนำเอาข้อเสนอแนะ คำติ ชม ไปพิจารณาและ ปรับปรุงแก้ไขให้ดีย่ิงข้ึน ต่อไป

๒ รายงานผลการดำเนินงาน หลักการและเหตุผล ประเทศไทยมียุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ อย่างยั่งยืน โดยมีวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงครอบคลุม ๖ ประเด็นยุทธศาสตร์ โดยยุทธศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องโดยตรง กับกระทรวง พม. ครอบคลุมในยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ รวมถึง ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีมาตรการและการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนและลดความเหล่ือมล้ำอย่างต่อเนื่อง อาทิการจัดตั้งศูนย์ขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วง วัยอย่างยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นการขจัดความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำของ ประชาชนในประเทศ รวมทั้งการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ส่งผลให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข ได้รับผลประโยชน์จากการ พัฒนามากขึ้น ประกอบกับ ในปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาทางสังคมมีความซับซ้อนมากขึ้น รวมทั้งวิกฤติ เศรษฐกิจ ปัญหาการเข้าถึงบริการภาครัฐ และสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด -19 ซ่ึงทวีความรุนแรง ส่งผลกระทบต่อคนทุกช่วงวัย ทุกกลุ่มอาชีพ โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง อาทิ ครอบครัวยากจนที่มีเด็กเล็ก ครอบครัวแม่เลี้ยงเด่ียว ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ที่อยู่ในสภาวะ ยากลำบาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้กำหนดโครงการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนและสำนักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ร่วมกับ สวทช nectec สพร.กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม วิจัยและพัฒนาฐานข้อมูลหลายมิติ TPMAP (Thai People Map and Analytics Platform) โดยใช้ฐานข้อมูล (big data ) จากเกณฑ์ จปฐ.และผู้ ได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ และหน่วยงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ท่ีดูแลกลุ่มคนทุกช่วงวัย มา เป็นฐานในการช้ีเป้าหมาย( target) กลุ่มครัวเรือนท่ียากจนเพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน ใน 5 มิติ (ด้านการ เข้าถึงบริการภาครัฐ ด้านความเป็นอยู่ ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านรายได้) โดยบูรณาการท้ังหน่วยงานท้ัง ภาครัฐภาคเอกชน ภาคเี ครือข่าย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีพันธกิจในการพัฒนาคนและสังคมให้มี คุณภาพเต็มศักยภาพ มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง สร้างเสริมเครือข่ายจากทุกภาคส่วนในการมีส่วนร่วม พัฒนาสังคมและจัดระบบสวัสดิการท่ีเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย เพ่ือให้ประชาชนมีหลักประกันและ มีความมั่นคงในชีวิต โดยให้ความสำคัญกับกลุ่มประชาชนผู้ได้รับผลกระทบที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ และเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนกลุ่มเปราะบางให้สามารถเข้าถึง สิทธิและสวัสดิการ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางให้ครอบครัวมีความมั่นคง มีความสุข สามารถ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน จึงจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ระหว่าง ๑๒ กระทรวง ๑ หน่วยงาน เพื่ออาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ท่ีเก่ียวข้องในการขับเคล่ือนงานโครงการฯ ดังกล่าว ให้ประสบความสำเร็จ

๓ ปัจจุบันจังหวัดกาฬสินธุ์มีฐานกลุ่มครัวเรือนยากจน จากการดำเนินโครงการคนกาฬสินธ์ุ ไม่ท้ิงใครไว้ ข้างหลัง ด้านยกระดับคุณภาพชีวิติคนจนข้ันพ้ืนฐาน มาต้ังแต่ ปี ๒๕๖๑ ในปัจจุบันมีครัวเรือนที่เข้าร่วม โครงการฯ จำนวน ๓,๖๘๕ ครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือน ๘,๓๒๔ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๐.๘๕ ของจำนวน ประชากรท้ังจังหวัด ซ่ึงประชาชนในกลุ่มน้ีมีเป้าหมายตรงกันกับฐานข้อมูล TPMAP เพียง ๓ % (๓๐๘ ครัวเรือน) ดังนั้น มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุจึงได้พัฒนาฐานข้อมูลขึ้นมาอีกชุด คือ KHM V.2 กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือน ๙,๓๙๔ สมาชิกในครัวเรือน ๔๑,๓๔๗ คน โดยนำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายท่ีแท้จริงจาก TPMAP โครงการคนกาฬสินธ์ุ ไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง และมหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุค้นพบใหม่ เพ่ือเป็นชุดข้อมูลท่ีมีความ สมบูรณ์ ประกอบดว้ ย ขอ้ มูล TPMAP กล่มุ ท่ีอยู่ได้อยดู่ ีถูกตดั ออก กลุ่มเปา้ หมายของโครงการคนกาฬสินธ์ุ ไม่ทิ้ง ใครไวข้ า้ งหลังท่ไี มป่ รากฏใน TPMAP และกลุ่มท่ีคน้ พบใหม่ได้ถูกบรรจุไว้ในฐานข้อมูลชดุ นี้ สำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดกาฬสินธุ์จึงได้จัดการประชุมเชิงปฎิบัติการ เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานโครงการบูรณาการการจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ขึ้น พร้อมทั้งให้ความรู้และแนวทางการ จัดทำสมุดพกครัวเรือน เพื่อสอบทานและจัดทำฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในพื้นที่จังหวัด กาฬสินธุ์พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในพ้ืนที่จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยเน้น การบูรณาการกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ อันจะทำให้ประชาชนสามารถดำรงชีวิต และสามารถพ่ึงพาตนเองได้ โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ต่อไป วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ี และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจใน การจัดทำสมุดพกครัวเรือน ๒. สร้างความเข้าใจและแลกเปล่ียนเรียนรู้การทำงานของเจ้าหน้าที่ และอาสาสมัครพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ ร่วมกันในการจัดทำสมุดพกครัวเรือน กลุ่มเป้าหมาย ๑. เจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน ๗๕ คน ๒. อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จำนวน ๑๓๕ คน

๔ วิธีดำเนินงาน วัน/เวลา กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน พื้นที่ ๓–๗/๑๑/๒๕๖๔ ดำเนินงาน ๐๘.๓๐ - ๑๒.๐๐ - ลงทะเบียน - เจ้าหน้าที่หน่วยงาน ๗๕ คน ห้องประชุม - บรรยายให้ความรู้ หัวข้อ การแก้ไข ในสังกัดกระทรวง พม. เบญจพร ปัญหาครัวเรือนยากจนแบบเบ็ดเสร็จ จังหวัดกาฬสินธ์ุ โรงแรมริม แม่นยำ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ - อาสาสมัครพัฒ นา ๑๓๕ คน ปาว โดยอาจารย์มหาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ สังคมและความมั่นคง - บรรยายให้ความรู้ หัวข้อ การวิเคราะห์ ของมนุษย์ แ ล ะ ว า ง แ ผ น ก า ร ช ่ว ย เห ล ือ ค ร ัว เร ือ น ยากจน TPMAT โดยนักสังคมสงเคราะห์ สนง.พมจ.กาฬสินธ์ุ - บรรยายให้ความรู้ หัวข้อ แนวทางการ จัดทำสมุดพกครัวเรือนกระทรวง พม. โดย นายวิษณุ พันซ้าย นักพัฒนาสังคม สนง.พมจ.กาฬสินธ์ุ วัน/เวลา กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน พ้ืนท่ี ๓–๗/๑๑/๒๕๖๔ ดำเนินงาน ๑๓.๐๐ - ๑๖.๓๐ - จับ คู่ ฝึกป ฎ ิบัติการจัดท ำสมุดพ ก - เจ้าหน้าที่หน่วยงาน ๗๕ คน ห้องประชุม ครัวเรือน ในสังกัดกระทรวง พม. เบญจพร - สอบถาม แลกเปลี่ยน และสรุปการ จังหวัดกาฬสินธุ์ โรงแรมริม เรียนรู้ - อาสาสมัครพัฒ นา ๑๓๕ คน ปาว สังคมและความมั่นคง ของมนุษย์

๕ ระยะเวลาดำเนินการ ระหว่างวันท่ี ๓ – ๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ณ โรงแรมริมปาว อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. เจ้าหน้าท่ี และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีความรู้ความเข้าใจในการ จัดทำสมุดพกครัวเรือน ๒. เกิดการแลกเปล่ียนเรียนร้กู ารทำงานของเจ้าหน้าท่ี และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ร่วมกันในการจัดทำสมุดพกครัวเรือน

๖ สรปุ แบบประเมินความพึงพอใจ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อช้ีแจงวตั ถปุ ระสงค์และแนวทางการดำเนนิ งาน โครงการบรู ณาการจัดเก็บข้อมูลเพ่ือจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพชวี ติ กลมุ่ เปราะบาง รายครัวเรอื นในพื้นทจ่ี งั หวดั กาฬสนิ ธุ์ พ.ศ.๒๕๖๔ – ๒๕๖๘ แบบสอบถามความพึงพอใจในการดำเนินงานตามโครงการบูรณาการจดั เกบ็ ข้อมูลเพ่อื จัดทำแผนพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ กลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื นในพื้นทีจ่ ังหวัดกาฬสนิ ธุ์ พ.ศ.๒๕๖๔ – ๒๕๖๘ มีจำนวน ๒๔ ขอ้ เป็น ลักษณะเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) ตามวธิ กี ารของลเิ คอร์ท (Likert) ซงึ่ มี ๕ ระดับ ไดแ้ ก่ ดีมาก มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด กำหนดการใหค้ ะแนนการประเมินผลตามหลักเกณฑ์ ดงั นี้ ๕ หมายถงึ ผลการดำเนนิ การดีมาก ๔ หมายถงึ ผลการดำเนินการดี ๓ หมายถงึ ผลการดำเนนิ การปานกลาง ๒ หมายถึง ผลการดำเนนิ การน้อย ๑ หมายถงึ ผลการดำเนินการน้อยที่สดุ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การประเมินผลการสำรวจครงั้ นี้ มผี ู้เข้าร่วมโครงการทง้ั หมด จำนวน ๒๐๓ คน และตอบแบบสอบถามทงั้ หมด จำนวน ๑๕๐ คน โดยมีรายละเอยี ดและผลสรุปในแตล่ ะประเด็นคำถามตา่ งกนั ซ่ึงไดส้ รุปผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ทางสถิติออกเป็น ๓ สว่ นดงั นี้ ๑. ขอ้ มลู สว่ นตัวของผเู้ ข้าร่วมโครงการ ๒. ความคดิ เหน็ ก่อน – หลงั เข้ารว่ มโครงการ, ความคดิ เห็นตอ่ วิทยากร, ความคดิ เห็นต่อการจัด โครงการ และคุณภาพของโครงการ ๓. ข้อเสนอแนะ ๑. ขอ้ มูลสว่ นตัวของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ตารางที่ ๑.๑ จำนวนและรอ้ ยละของผู้เข้ารว่ มโครงการจำแนกตามเพศ เพศ จำนวน รอ้ ยละ ชาย ๓๔ ๒๒.๗ หญงิ ๑๑๖ ๗๗.๓ รวม ๑๕๐ ๑๐๐ จากตารางที่ ๑.๑ พบว่าผู้เขา้ ร่วมโครงการเปน็ เพศหญงิ มากกว่าเพศชาย โดยเป็นเพศหญงิ ร้อยละ ๗๗.๓ และเพศชาย รอ้ ยละ ๒๒.๗

๗ ตารางท่ี ๑.๒ จำนวนและร้อยละของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ อายุ จำนวน รอ้ ยละ ๑๘ – ๒๔ ๔ ๒.๗ ๒๕ – ๓๕ ๒๒ ๑๔.๗ ๓๖ – ๔๕ ๑๘ ๑๒ ๔๖ – ๕๕ ๕๕ ๓๖.๗ ๕๖ ปีขึ้นไป ๔๗ ๓๑.๓ ๑๕๐ ๑๐๐ รวม จากตารางที่ ๑.๒ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการเป็นผู้มีอายุ ๑๘ – ๒๔ ร้อยละ ๒.๗ อายุ ๒๕ – ๓๕ ร้อย ละ ๑๔.๗ อายุ ๓๖ – ๔๕ ร้อยละ ๑๒ อายุ ๔๖ – ๕๕ ร้อยละ ๓๖.๗ และอายุ ๕๖ ปีข้ึนไป ร้อยละ ๓๑.๓ ตารางที่ ๑.๓ จำนวนและร้อยละการศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการ การศกึ ษา จำนวน ร้อยละ ม.๖ ๘๙ ๕๙.๓ ปวช. ๖ ปวส. ๘ ๔ ๔๑ ๕.๓ ปรญิ ญาตรี ๖ ๒๗.๓ ปรญิ ญาโท ๐ ๔ ปรญิ ญาเอก ๑๕๐ ๐ ๑๐๐ รวม จากตารางท่ี ๑.๓ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการเป็นผู้มีการศึกษาระดับม.๖ ร้อยละ ๕๙.๓ การศึกษาปวช. ร้อยละ ๔ การศึกษาปวส. รอ้ ยละ ๕.๓ การศึกษาปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ ๒๗.๓ และการศกึ ษาปริญญาโท รอ้ ยละ ๔

๘ ตารางท่ี ๑.๔ จำนวนและรอ้ ยละของผ้เู ข้ารว่ มโครงการจำแนกตามอาชพี อาชพี จำนวน ร้อยละ นักศกึ ษา ๑ ๐.๗ ขา้ ราชการ ๑๒ ๘ พนกั งานของรัฐ รฐั วิสาหกิจ ๒๒ ๑๔.๗ ลกู จา้ ง ๒๐ ๑๓.๓ เกษตรกร ๘๐ ๕๓.๓ ๑๕ ๑๐ อ่นื ๆ ๑๕๐ ๑๐๐ รวม จากตารางที่ ๑.๔ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกตามอาชีพ อาชีพนักศึกษา รอ้ ยละ ๐.๗ ข้าราชการ ร้อยละ๘ พนักงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ๑๔.๗ ลูกจ้าง ร้อยละ ๑๓.๓ เกษตรกร ร้อยละ ๕๓.๓ และอื่นๆ รอ้ ยละ๑๐ ๒. ความพงึ พอใจในการเข้าร่วมโครงการ ตารางที่ ๒.๑ ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการท่ีมตี ่อการเขา้ ร่วมโครงการ ประเด็นความคดิ เห็น ระดับความพึงพอใจ / ความรคู้ วาม รอ้ ยละ เขา้ ใจ /การนำความรู้ไปใช้ ค่า ด้านวิทยากร ๑. การเตรยี มตัวและความพร้อมของวิทยากร มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย คะแนน ๒. การถา่ ยทอดของวทิ ยากร ที่สุด กลาง ทีส่ ุด เฉล่ยี ๓. สามารถอธิบายเนื้อหาไดช้ ัดเจนและตรง ประเด็น ๕ ๔ ๓ ๒๑ ๔. ใชภ้ าษาท่เี หมาะสมและเข้าใจงา่ ย ๕. การตอบคำถามของวทิ ยากร ๔๘ ๙๓ ๘ ๑ - ๔.๒๕ ๘๕.๐๗ ๖. เอกสารประกอบการบรรยายเหมาะสม ๕๔ ๙๐ ๖ - - ๔.๓๒ ๘๖.๔๐ ด้านสถานท่ี / ระยะเวลา / อาหาร ๕๗ ๘๖ ๗ - - ๔.๓๓ ๘๖.๖๗ ๑. สถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม ๒. ความพร้อมของอปุ กรณโ์ สตทัศนปู กรณ์ ๖๑ ๘๑ ๘ - - ๔.๓๕ ๘๗.๐๗ ๕๑ ๘๗ ๑๒ - - ๔.๒๖ ๘๕.๒๐ ๕๗ ๘๕ ๘ - - ๔.๓๓ ๘๖.๕๓ ๖๗ ๗๖ ๗ - - ๔.๔๐ ๘๘ ๕๗ ๘๕ ๘ - - ๔.๓๓ ๘๖.๕๓

๓. ระยะเวลาในการอบรม / สมั มนามคี วาม ๙ เหมาะสม ๔. อาหาร มีความเหมาะสม ๔๒ ๙๓ ๑๓ ๒ - ๔.๑๗ ๘๓.๓๓ ด้านการใหบ้ รกิ ารของเจ้าหน้าที่ ๑. การบริการของเจา้ หนา้ ที่ ๔๗ ๘๒ ๒๐ ๑ - ๔.๑๗ ๘๓.๓๓ ๒. การประสานงานของเจา้ หนา้ ที่โครงการ ๓. การอำนวยความสะดวกของเจา้ หนา้ ท่ี ๕๖ ๘๙ ๕ - - ๔.๓๔ ๘๖.๘๐ ๔. การให้คำแนะนำหรือตอบขอ้ ซักถามของ ๕๓ ๘๖ ๑๐ ๑ - ๔.๒๗ ๘๕.๔๗ เจา้ หน้าที่ ๕๗ ๘๖ ๗ - - ๔.๓๓ ๘๖.๖๗ ดา้ นความรู้ความเข้าใจ ๕๖ ๘๕ ๙ - - ๔.๓๑ ๘๖.๒๗ ๑. ความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองนกี้ อ่ นการอบรม ๒. ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองนหี้ ลังการอบรม ๒๖ ๗๖ ๔๑ ๗ - ๓.๘๑ ๗๖.๑๓ ๓. สามารถบอกประโยชน์ ได้ ๕๐ ๘๘ ๑๒ - - ๔.๒๕ ๘๕.๐๗ ๔๓ ๘๗ ๒๐ - - ๔.๑๕ ๘๓.๐๗ ประเดน็ ความคดิ เห็น ระดบั ความพึงพอใจ / ความรู้ความ รอ้ ยละ ๔. สามารถบอกขอ้ ดีได้ เขา้ ใจ /การนำความรู้ไปใช้ ค่า ๘๔ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย คะแนน ทีส่ ุด กลาง ท่ีสุด เฉล่ีย ๕ ๔ ๓ ๒๑ ๔๐ ๑๐ ๑๐ - - ๔.๒๐ ๕. สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดได้ ๔๑ ๙๖ ๑๓ - - ๔.๑๙ ๘๓.๗๓ ๖. สามารถจดั ระบบความคดิ /ประมวลความคิดสู่ ๓๘ ๙๓ ๑๙ - - ๔.๑๓ ๘๒.๕๓ การพฒั นางานอย่างเป็นระบบ ดา้ นการนำความรไู้ ปใช้ ๔๒ ๙๘ ๑๐ - - ๔.๒๑ ๘๔.๒๗ ๑. สามารถนำความรู้ท่ีได้รบั ไปประยุกต์ใช้ในการ ๔๓ ๙๖ ๑๑ - - ๔.๒๑ ๘๔.๒๗ ปฏบิ ตั ิงานได้ ๔๒ ๙๖ ๙ - - ๔.๒๒ ๘๔.๔๐ ๒. สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ / ถ่ายทอดแก่ ๔๓ ๙๙ ๘ - - ๔.๒๓ ๘๔.๖๗ ชุมชนได้ ๑๑๗๑ ๒๑๓๖ ๒๘๑ ๑๒ - ๔.๒๔ ๘๔.๘๑ ๓. สามารถให้คำปรกึ ษาแก่เพ่ือนร่วมงานได้ ๔. มีความม่นั ใจและสามารถนำความรู้ทีไ่ ดร้ ับไป ใช้ได้ รวม

๑๐ ผลจากตารางที่ ๒.๑ พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากท่ีสุด ประเด็นคำถามโดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความพึงพอใจสถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย ๔.๔๐ สว่ นประเดน็ คำถามทีม่ คี า่ เฉลย่ี ตำ่ สดุ คอื ความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งนก้ี ่อนการอบรม โดยมี อย่างไรก็ดี ความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ ถอื ว่าอยูใ่ นระดบั ความพึงพอใจมาก มคี ่าเฉล่ีย ๔.๒๔ ๓. ข้อเสนอแนะ ๓.๑ อพม.เข้าใจและปฎิบัติหน้าท่ี พร้อมขับเคลื่อนได้ สามารถพัฒนาความม่ันคงของมนุษย์ระดับ ชมุ ชนไปสจู่ ดุ หมายได้ ๓.๒ อยากให้ดแู ล อพม. ในเร่ืองคา่ ใช้จ่าย ค่าน้ำมนั รถในการลงสำรวจข้อมูล ๓.๓ ควรแยกกลุ่มเป้าหมายระหว่างเจ้าหน้าที่กับ อพม. เพื่อจะได้แลกเปลี่ยนประเด็นการทำงานท่ีมี ขอ้ จำกดั ๓.๔ หากไม่สามารถแยกกลุ่มเป้าหมายได้ ควรจัดกลุ่มเป้าหมายเจ้าหน้าที่ และ อพม.ที่อยู่ในความ รบั ผิดชอบพ้นื ท่ีเดียวกนั เพือ่ ง่ายต่อความเขา้ ใจในการทำงานร่วมกัน ๓.๕ อยากใหม้ กี ารอบรมให้ความรู้เพ่มิ เติมอีกครง้ั ๓.๖ ระยะเวลาในการอบรมนอ้ ยเกนิ ไป ๓.๗ การออกแบบสไลด์พาวเวอร์พ้อยในการนำเสนอคอ่ นข้างซับซ้อนเข้าใจยาก การจดั รูปแบบไม่คอ่ ย ชดั เจน ๓.๘ อยากให้มกี ารอบรมในระดบั ชมุ ชนบา้ ง ๓.๙ อยากให้เจ้าหน้าท่ีท่ีรบั ผิดชอบสมุดพกครอบครัวลงพื้นท่ีอบรมให้ความรู้แก่ อพม. ประจำอำเภอ แต่ละอำเภอเพอื่ ให้เข้าใจถึงวิธกี ารกรอกข้อมลู สมดุ พกครอบครัว ๓.๑๐ อยากได้ค่าน้ำมนั รถในการออกสำรวจขอ้ มลู สมดุ พกครอบครวั ๓.๑๑ วิทยากรให้ความรู้ดมี าก ผู้ฟงั มีความเขา้ ใจ ๓.๑๒ การจดั อบรมให้ความร้คู วรจะมีตัวแทน อพม.แตล่ ะตำบลเข้าร่วมอบรมด้วย อย่างนอ้ ยตำบลละ ๑ คน ๓.๑๓ เอกสารประกอบการอบรมตวั หนงั สอื เล็กเกินไป ยากตอ่ การอ่านทำความเขา้ ใจ ๓.๑๔ การจัดอบรมทำได้ดีและเป็นการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ อพม.มีความรู้ความเข้าใจใน การกรอกขอ้ มลู สมดุ พกครอบครัว

๑๑ ภาคผนวก ๑. เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการประเมินโครงการ (แบบสอบถาม)

๑๒

๑๓

๑๔ ๒. กำหนดการการประชุม

๑๕ ๓. ภาพบรรยากาศการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมประกอบโครงการ

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙