Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 4 วินิจฉัยชุมชน

หน่วยที่ 4 วินิจฉัยชุมชน

Published by Nutchanath Wichit, 2020-01-28 01:04:35

Description: หน่วยที่ 4 วินิจฉัยชุมชน

Search

Read the Text Version

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั สรุ าษฎร์ธานี เอกสารประกอบการสอน NURNS10 การพยาบาลอนามยั ชุมชน หนว่ ยท่ี 4 กระบวนการวินิจฉยั ชมุ ชน อาจารย์ ดร. นชุ นาถ วิชติ วตั ถุประสงค์ เพื่อใหน้ ักศึกษาสามารถ 1. เขา้ ใจกระบวนการพยาบาลอนามัยชมุ ชน 2. อธิบายความหมาย และขั้นตอนการประเมนิ สุขภาพของชุมชนได้ 3. อธิบายการกาหนดปัญหาภาวะสุขภาพของชุมชนได้ 4. อธิบายการวางแผนในการแก้ปญั หาภาวะสุขภาพชุมชนได้ 5. อธิบายการประเมินโครงการได้ 6. สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการให้การพยาบาลในชมุ ชนได้ หวั ข้อบรรยาย 1. การประเมนิ ชมุ ชน: การรวบรวม การวิเคราะห์ การนาเสนอข้อมูลสขุ ภาพชุมชน 2. การวินจิ ฉยั ชุมชนและการจัดลาดบั ความสาคัญ 3. การวางแผน 4. การดาเนนิ งานตามแผน 5. การประเมนิ ผล กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. บรรยายเชิงอภปิ ราย 2. ระดมสมอง 3. การวเิ คราะห์สถานการจาลอง ส่ือการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. Power point 3. วีดิทศั น์ 4. สถานการจาลอง การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 2. สอบระหว่างภาค 3. รายงานกลุ่มจากสถานการจาลอง 4. การนาเสนอสถานการจาลอง ~1~

การปฏบิ ัตงิ านดา้ นสุขภาพอนามยั ในชุมชนน้ันมเี ป้าหมายคือตอ้ งการใหป้ ระชาชนมีสุขภาพอนามยั ที่ดี แขง็ แรงปราศจากโรคและไม่มีปัญหาทางสงั คม พยาบาลอนามัยชุมชนเป็นบุคคลหน่ึงในทีมความรับผดิ ชอบทต่ี ้อง ดแู ลทงั้ ชุมชนโดยใช้การใช้กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน ซ่งึ ประกอบดว้ ย 1. การประเมนิ สขุ ภาพชมุ ชน (Health Assessment) 2. การกาหนดปัญหา การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปญั หาสุขภาพชุมชน (Diagnosis) 3. การวางแผนแก้ปัญหาสขุ ภาพชุมชน (Planning) 4. ปฏบิ ตั ิการพยาบาลสุขภาพชุมชนเพอื่ แก้ปญั หาสุขภาพในชมุ ชน (Implementation) 5. การประเมินผลการปฏิบตั กิ ารพยาบาลสขุ ภาพชุมชน (Evaluation) Assessmen t Evaluation Diagnosis Implementatio Planning n รปู ที่ 1 กระบวนการพยาบาลอนามยั ชุมชน 1. การประเมินสขุ ภาพของชุมชน (Community Health Assessment) การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพชุมชนเปน็ ขั้นตอนแรกในการดูแลสุขภาพชุมชน โดยใช้กระบวนการพยาบาล ซ่ึง ประกอบดว้ ยการเกบ็ รวบรวมข้อมูลของชุมชน การวเิ คราะหท์ างสถติ ิ และหลงั จากนั้นจงึ นามาเสนอต่อสาธารณชน เพ่ือเขา้ สู่ข้นั ตอนต่อไปของกระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน คอื การระบุปญั หาของชมุ ชน การประเมนิ สขุ ภาพชมุ ชน ตอ้ งพจิ ารณาถงึ องค์ประกอบต่างๆ ทม่ี ีผลต่อความสมั พันธ์ หรือมีผลตอ่ สขุ ภาพ ของคนในชุมชนนัน้ ๆ จงึ ตอ้ งมีการประเมินทงั้ มติ ิทางสังคม วัฒนธรรม จติ วิทยา ความเชอ่ื เศรษฐกจิ และการเมือง ร่วมดว้ ย การประเมินสุขภาพชุมชน ความหมายวา่ เป็นกระบวนการคน้ หาข้อมูล ความต้องการ ตามการรบั รูข้ อง ชุมชน (Allender and Spradley: 2005) การประเมินสขุ ภาพชมุ ชน ความหมายว่า การประเมนิ สขุ ภาพชมุ ชนเป็นกระบวนการสร้างความคนุ้ เคยกบั ชุมชน (Anderson and McFarlane: 1996) การประเมินสุขภาพชมุ ชน ความหมายวา่ เป็นการรวบรวมและประเมินรายละเอยี ดเก่ียวกับภาวะสุขภาพ ชุมชน เพอ่ื นาไปสู่การวางแผนปฏิบัติการแก้ปัญหาภาวะสุขภาพ ~2~

จากความหมายข้างต้น สรุปไดว้ ่า การประเมินสุขภาพชมุ ชนเปน็ ขนั้ ตอนแรกและเป็นกระบวนการที่มี ความสาคญั ท่ีจะก่อให้เกิดความคุน้ เคยและสมั พนั ธภาพท่ีดีกับผรู้ ับบรกิ าร ทาให้ทราบถงึ ข้อมูลความตอ้ งการ เกีย่ วกับภาวะสขุ ภาพของชมุ ชน เพือ่ นามาเป็นข้อมลู ในการวางแผนดาเนินโครงการด้านสขุ ภาพในชุมชน วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมินภาวะสุขภาพ 1. เพ่อื ประเมนิ ภาวะเสย่ี งทางสขุ ภาพ ภาวการณเ์ จ็บปว่ ย และปจั จยั ตา่ งๆ ที่มีผลให้เกิดปัญหาสุขภาพในชมุ ชน 2. เพอ่ื จาแนกกลุ่มประชาชนในชมุ ชน เช่น กลมุ่ เสีย่ ง กลมุ่ ปกติ กลมุ่ เจบ็ ปว่ ย เพอ่ื การจดั ลาดับการทากิจกรรม ทางสขุ ภาพ 3. เพอ่ื ทราบทรัพยากรตา่ งๆในชุมชน ความเขม้ แขง็ ความมสี ่วนรว่ ม เพื่อเป็นข้อมลู พนื้ ฐานในการตดั สนิ ใจใน การทากจิ กรรมให้เหมาะสมกับชุมชนนั้น 4. เพื่อการวางแผนให้การดูแลรักษา ส่งเสรมิ และฟนื้ ฟสู ุขภาพของบุคคลกลุม่ ตา่ งๆ 5. เพอ่ื ทราบข้อมลู ด้านสุขภาพและข้อมลู ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับสขุ ภาพชุมชน เชน่ ขอ้ มูลด้านส่งิ แวดลอ้ ม การสขุ าภบิ าล สาธารณูปโภคต่างๆ 6. เพ่ือทราบความเป็นอยขู่ องประชาชน พฤติกรรมการดาเนนิ ชวี ิต พฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสบู บุหรี่ การดื่มสรุ า การใชย้ าชุด รวมทงั้ พฤตกิ รรมการดูแลสง่ เสริมสขุ ภาพ ตลอดจน ความเชอ่ื ค่านยิ ม 7. ช่วยในการสรา้ งสมั พันธภาพและความคุ้นเคยกับประชาชนในชมุ ชน 8. ชว่ ยกระตนุ้ ความสนใจของประชาชน ใหอ้ ยากร่วมพัฒนาสุขภาพชมุ ชนก่อให้เกดิ การมสี ่วนรว่ ม 9. ทาใหท้ ราบปจั จัยส่งเสริม ปัญหา อุปสรรค ซงึ่ อาจจะเกดิ ข้นึ ขณะทากจิ กรรม การประเมนิ สุขภาพชมุ ชนประกอบดว้ ยกจิ กรรมหลกั ๒ ประการ คือ 1. การรวบรวมขอ้ มูล (Collection of data) 2. การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูล (Analysis and Interpretation of data) 1.1 การรวบรวมขอ้ มูล (Collection of data) เป็นวิธีการท่จี ะให้ได้มาของสิ่งทต่ี ้องการ ซงึ่ ขอบเขตของการรวบรวมข้อมลู ขน้ึ อยกู่ บั วัตถุประสงค์ แนวคดิ หรอื ทฤษฎีทจ่ี ะนามาใช้ในการสรา้ งเคร่อื งมอื แหลง่ ข้อมูล (Source of data) แหลง่ ท่มี าของขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพมี 2 วธิ ี คอื 1. ขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary data) คือข้อมูลใดๆ ทผี่ ้ศู ึกษาต้องเก็บข้ึนมาใหม่เปน็ ข้อมลู โดยตรง หรอื จากตน้ กาเนดิ ของข้อมูลเอง โดยการไป การสมั ภาษณ์ การสังเกต สอบถาม ใช้เครือ่ งมือตรวจ การโทรศัพท์ ซ่ึงเป็นข้อมูลท่ีรวบรวมข้นึ ใหม่จะไดต้ วั แปร ตามท่กี าหนด ~3~

2. ข้อมลู ทุติยภมู ิ (Secondary data) คือ ข้อมลู สถิตซิ ่ึงเก็บรวบรวมมาก่อนแล้วเพื่อจุดมุง่ หมายอื่น เป็นข้อมูลท่ีได้จากการไปรวบรวมมาจากแหล่ง ตา่ งๆ ซึ่งมีผู้อื่นรวบรวม หรอื รายงานไว้ เชน่ ประวัติผู้ปว่ ยท่ไี ดจ้ ากโรงพยาบาลหรือสถานีอนามยั ทะเบียนราษฎร สตู บิ ัตร มรณะบตั ร ข้อมลู นักเรียนที่ไดจ้ ากโรงเรียน ข้อมลู ระดบั หมู่บ้านทไี่ ดจ้ ากกรมพฒั นาทด่ี ินหรือจงั หวดั ชนิดของขอ้ มูล (Type of data) 1. ข้อมลู เชิงปรมิ าณ (Quantitative Data) คือข้อมูลทว่ี ัดออกมาเป็นตวั เลขแล้ว สามารถนาไปใช้ในการวิเคราะหท์ างสถิตติ ่อไปได้ เป็นขอ้ มูลทบ่ี อกถึง จานวน ขนาด มีหนว่ ยต่างกันแลว้ แตต่ วั แปร เชน่ นา้ หนกั (ปอนด์ กิโลกรัม) ระยะเวลา (วนั ชว่ั โมง) ความยาว (เมตร เซนติเมตร) รายได้ (บาท) อายุ (ปี เดือน) 2. ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เปน็ ข้อมูลที่ไม่สามารถทาการวดั หรือให้คา่ ทีเ่ ป็น ตัวเลขได้ เป็นขอ้ มลู ที่ได้จากสภาพตามธรรมชาติ บอก ลกั ษณะหรือคุณสมบตั ิของสิง่ ตา่ งๆ เชน่ เพศ อาชีพ เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาวะสขุ ภาพ 3. ขอ้ มลู เชิงเวลา (Chronological data) เปน็ ขอ้ มูลทบ่ี อกในรปู เวลา ฤดูกาล ปี พ.ศ. เดอื น วนั เวลา ทม่ี ีเหตกุ ารณน์ ้นั ๆ เกดิ ขนึ้ เช่น ข้อมูลจากสมดุ บนั ทกึ การเยีย่ มของชมุ ชน ข้อมลู รายงานประจาปี 4. ขอ้ มูลเชิงภูมศิ าสตร์ (Geographical data) เปน็ ข้อมูลท่ีบอกตาแหนง่ ตามลักษณะภมู ิศาสตร์ และชือ่ สถานทต่ี ่างๆ (Geographical data) เป็นข้อมูลที่ บอกตาแหน่งตามลักษณะภมู ิศาสตร์ และช่อื สถานทตี่ ่างๆ เชน่ แผนที่ ในการประเมินภาวะสุขภาพอนามยั ของชมุ ชน จะตอ้ งมีเครื่องมือเพ่ือใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งการใช้ เคร่ืองมืออะไร มีลกั ษณะอยา่ งไร ได้มาจากไหน กข็ ึ้นอยู่กบั วัตถปุ ระสงค์ของการรวบรวมขอ้ มลู และกรอบแนวคดิ ใน การมองเกยี่ วกับชมุ ชน ขนั้ ตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. การเตรยี มการ (Preparing) เปน็ ขน้ั ตอนแรกของการรวบรวมข้อมลู โดยกลุ่มผมู้ หี น้าทรี่ ับผดิ ชอบมาประชมุ ปรึกษาหารือกนั ถึงวัตถปุ ระสงค์ รายละเอยี ดของการดาเนินงานในชมุ ชน ทจ่ี ะต้องรวบรวมข้อมลู ระยะเวลา งบประมาณท่ีต้องใช้ ตลอดทั้งการแบง่ หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ 2. การตรวจสอบ (Exploration) โดยการศกึ ษาละเอยี ดข้อเท็จจริงของชุมชนเทา่ ที่จะสามารถทาได้มากทสี่ ดุ จาก เอกสาร รายงาน องค์กร และบุคคล เช่น สภาพการณ์ ปัญหาสขุ ภาพ ทรพั ยากรตา่ งๆของชุมชน 3. กาหนดวตั ถุประสงค์ การรวบรวมข้อมลู ต้องกาหนดวัตถปุ ระสงค์ให้ชดั เจน วา่ ต้องการอะไร เพ่ือการแก้ไข ปัญหาของชุมชน หรอื เพ่ือการพฒั นาชุมชน ซึ่งจะเปน็ แนวทางในการสรา้ งเคร่ืองมือ กาหนดวธิ กี ารรวบรวมข้อมูล และกาหนดจานวนประชากร 4. การกาหนดจานวนประชากรทาได้ดงั น้ี คอื - แบบเบ็ดเสร็จ (Complete enumerate information) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมลู ทุกครอบครวั ในชมุ ชน ใชใ้ นกรณีทชี่ มุ ชนไม่ใหญ่มากนกั และมบี ุคคลากรสามารถทางานได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม ~4~

- แบบผ่านกลุ่ม (Group information) กล่มุ ทีส่ าคัญท่ีสุดคือ กลุ่มผู้นาชุมชน หรือคณะกรรมการชุมชน นอกจากนนั้ ก็เป็นกลุ่มพ่อบา้ น แมบ่ ้าน หนมุ่ สาว ผู้สงู อายุ อาสาสมัคร หรือกลมุ่ อาชีพตา่ งๆ ซงึ่ เปน็ กลุ่มทีค่ าดวา่ จะ สามารถใหข้ ้อมลู ของชุมชนในเรอ่ื งต่างๆได้ครอบคลุมมากท่ีสดุ วิธีน้ีมักในกรณที ตี่ ้องการขอ้ มูลที่เฉพาะเจาะจงหรือ ขอ้ มูลโดยรวมของชมุ ชน เชน่ ประวัติชมุ ชน ปัญหาและความต้องการของชุมชนหรือของแต่ละกลมุ่ - แบบกลมุ่ ตัวอยา่ ง (Sample) โดยการเลอื กกล่มุ ตัวอย่างท่ีเหมาะสมตามวธิ กี ารทางสถิติ ใชเ้ มื่อมปี ระชากร จานวนมาก ไมส่ ามารถรวบรวมขอ้ มลู จากทุกครอบครัวไดห้ รอื ไม่ตอ้ งการข้อมลู กวา้ งเกินไป ทาใหส้ ้นิ เปลอื งเวลา คา่ ใชจ้ ่าย แรงงาน แต่กต็ ้องเก็บขอ้ มลู หรือเลือกกล่มุ ตวั อยา่ งท่นี ้อยเกินไป เพราะอาจได้ข้อมูลท่ีไมค่ รอบคลุม ดงั นนั้ ในการกาหนดจานวนประชากรโดยวิธไี หนนัน้ ข้นึ อยู่กบั วัตถปุ ระสงค์ พน้ื ที่ กาลงั คน งบประมาณ และเวลา 5. การสรา้ งเคร่อื งมือ เพ่อื รวบรวมขอ้ มลู ตามกรอบแนวคิด ทฤษฎีหรือการประยกุ ตใ์ ช้ตามความเหมาะสมและตาม วตั ถปุ ระสงค์ ทาการทดสอบความเท่ียงตรง ความเชื่อถอื ได้ และการทดลองใชก้ ่อนนาไปใชจ้ ริง และปรับปรุง เคร่อื งมือ 6. การเตรยี มผเู้ ก็บรวบรวมเคร่ืองมือ โดยชี้แจงรายละเอยี ดของโครงการ วตั ถปุ ระสงค์ของการเก็บรวบรวม เครื่องมือและทาความเขา้ ใจในเครอื่ งมอื 7. การเตรยี มชุมชน ในการท่ีจะเข้าไปดูแลสขุ ภาพชุมชนในพ้ืนทีห่ รือชมุ ชนใดกต็ ามจะต้องไดร้ ับการยอมรับจาก หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบดา้ นสุขภาพในพื้นทน่ี ัน้ เสียก่อน ต่อมาต้องไดร้ บั ความร่วมมอื จากผนู้ าชุมชน ซง่ึ เป็นกลุ่ม บุคคลทมี่ ีความสาคญั ทส่ี ุดที่จะทาให้การดาเนนิ งานประสบผลสาเรจ็ ดังน้นั กอ่ นเข้ารวบรวมข้อมูลสุขภาพของชุมชน ตอ้ งเข้าพบผูน้ าชุมชนก่อน ทั้งท่ีเปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ แตค่ วรพบผนู้ าชมุ ชนท่ีเป็นทางการก่อน แลว้ จงึ พบ ผนู้ าชุมชนทีไ่ มเ่ ปน็ ทางการให้มากทส่ี ุด โดยการแนะนาคณะทางาน ช้ีแจงรายละเอยี ดโครงการ วตั ถปุ ระสงค์ของการ รวบรวมขอ้ มลู ประโยชน์ท่ีชมุ ชนจะได้รับ และขอความร่วมมือพร้อมท้งั นดั หมาย วนั เวลา ที่จะดาเนินการ 8. การดาเนินการ เลือกเวลาเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ให้เหมาะสม ควรเลือกเวลาท่ปี ระชาชนอยูบ่ า้ น เวลาทสี่ ะดวกที่จะ ใหค้ วามร่วมมือ ไม่ควรไปในฤดฝู นเพราะการคมนาคมไมส่ ะดวก การทาแผนทีช่ มุ ชนลาบาก ควรเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือให้พร้อม และดาเนินการตามท่ีกาหนดไว้ คอื ทาแผนทแ่ี ละเกบ็ รวบรวมข้อมูลใหเ้ สรจ็ ภายในระยะเวลาที่ วางแผนไว้ 9. การบันทึกข้อมูล ควรจะต้องบนั ทึกข้อมูลทันทข่ี ณะที่ใชเ้ ครอื่ งมือเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพอ่ื ป้องกันการการลมื ควร บันทึกให้ครบถว้ นและถกู ต้องตามความเป็นจรงิ 10. การจัดเกบ็ ข้อมูล ต้องจัดเก็บข้อมลู ท่ีได้ใหเ้ ปน็ ระบบและมีระเบยี บ เพ่ือนาไปวิเคราะหแ์ ละใช้ประโยชน์ในการ ดาเนนิ งานต่อไป วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู ในงานอนามัยชุมชน 1. การสงั เกต (Observation) เป็นวิธพี นื้ ฐานในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลชมุ ชนเก่ยี วกับบุคคล สิ่งแวดลอ้ ม พฤติกรรมของบุคคล หรอื ปรากฏการณต์ ่างๆ ท่ีเกดิ ขึน้ เพื่อหาขอ้ เท็จจริงตามที่ต้องการ ผูท้ าการสงั เกตจะเดนิ สารวจชุมชน (Community walk) เพ่ือใหเ้ ห็นสภาพครา่ วๆ ของชุมชน โดยใช้ประสาทสมั ผสั ได้แก่ ตา หู ล้นิ จมูก และกายเปน็ สาคญั ดังนั้น การสังเกตที่ดตี ้องมกี ารกาหนดหรือตง้ั วตั ถุประสงค์ไว้ และผูส้ งั เกตจะต้องมปี ระสาทสัมผัสทด่ี ี (Sensation) มีความ ต้ังใจ (Attention) มีความสามารถในการรับรู้และสื่อความหมายดี (Perception) การสงั เกตแบ่งเป็น ๒ ประเภท 1.1 ใชต้ วั ผูส้ ังเกตเป็นหลัก ~5~

- สงั เกตโดยการมีสว่ นร่วม (Participant Observation) เปน็ การเข้าไปร่วมกจิ กรรมหรือเป็นสมาชิกกับ กลมุ่ ที่ต้องการจะสังเกต และเฝ้าสงั เกตบุคคล ชมุ ชน กิจกรรมและ สถานการณท์ ี่ตอ้ งการศึกษาตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ี กาหนดไว้ - สังเกตโดยการไม่มสี ่วนร่วม (Non - Participant Observation) ผู้สงั เกตไม่ไดเ้ ข้าไปร่วมเปน็ สมาชิกกลุม่ หรือรว่ มกจิ กรรมของกลมุ่ แต่อาจเข้าไปอยู่ในสถานการณ์น้ันๆ โดยบงั เอญิ หรือโดยไม่ทราบวา่ มเี หตกุ ารณ์ใดเกิดขนึ้ หรอื เขา้ ไปเพ่ือทากิจกรรมอย่างอื่น เชน่ การเขา้ ไปเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยการสัมภาษณ์ การตรวจรา่ งกา เปน็ ตน้ 1.2 มโี ครงร่างเปน็ หลกั - สังเกตโดยมีโครงรา่ ง (Structured Observation) มีแบบสงั เกตหรือมีการกาหนดหวั ข้อ หรอื เรื่องที่ ต้องการสังเกตไว้ล่วงหนา้ จะไมม่ ีการสงั เกตเร่ืองอื่นนอกเหนอื จากท่ีกาหนดไว้ - สงั เกตโดยไมม่ ีโครงร่าง (Unstructured Observation) ไมม่ กี ารกาหนดหวั ข้อ หรอื เรือ่ งท่ีต้องการสังเกต อย่างเฉพาะเจาะจงลงไป แต่กจ็ ะมีกรอบไว้กว้างๆ และมักเป็นการสงั เกตโดยผูส้ ังเกตเขา้ ไปร่วมในกจิ กรรมดว้ ยการ เป็นสมาชกิ กลมุ่ และต้องมีความสามารถในการเปน็ ผูส้ งั เกตที่ดี หลักการสงั เกต 1. ศึกษาส่งิ ท่จี ะสงั เกตไวล้ ่วงหนา้ กอ่ นว่าจะมีสิ่งใดควรสงั เกตบา้ ง จะสงั เกตเวลาใด นานเท่าใด 2. ความสอดคล้องระหว่างประเด็นท่สี ังเกตกับประเดน็ ทีเ่ ปน็ ปัญหา เช่น ปัญหาไขเ้ ลือดออก กจ็ ะสงั เกต ประเดน็ ยงุ ลาย พฤติกรรมของบคุ คล และสภาพแวดล้อมชุมชน 3. กาหนดวธิ ีบันทกึ ใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ และต้องบันทึกรายละเอียดให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ นน้ั ๆ 4. แปลความหมายของขอ้ มูลหรือสถานการณด์ ้วยความระมัดระวงั เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ เท็จจรงิ 5. มคี วามชานาญในการใช้เครื่องมือ บนั ทึกผลการสงั เกต ประโยชน์ของการสงั เกต 1. ไดข้ ้อมูล สถานการณ์หรอื พฤตกิ รรมในขณะที่เกิด 2. ไดข้ ้อมลู จากบุคคลท่ีไม่สามารถใหค้ าตอบได้ เช่น ทารก หรือข้อมลู จากสัตวต์ ่างๆ 3. ไดข้ ้อมูลจากบุคคลที่ไม่เต็มใจ ไมร่ ่วมมือในการตอบคาถาม ข้อจากัดของการสังเกต 1. ถ้าเหตุการณ์ท่ีต้องการทราบยงั ไม่เกดิ ตอ้ งเสียเวลาในการรอคอย 2. ถา้ เจา้ ของไมอ่ นุญาตก็ไมส่ ามารถสังเกตได้ เช่น เรอื่ งส่วนตัวบางเรื่อง 3. ไมส่ ามารถเก็บข้อมูลไดท้ ุกสถานท่ี ทุกแงท่ กุ มุมในขณะเดียวกัน ดังน้ันจะต้องใชว้ ิธีอนื่ ประกอบ จึงจะได้ ข้อมลู สมบรู ณต์ ามต้องการ 2. การสัมภาษณ์ (Interviewing) เป็นขบวนการค้นหาขอ้ มูลหรอื ข้อเท็จจรงิ แบบเผชิญหน้าระหว่างผสู้ มั ภาษณ์ (Interviewer) และผใู้ ห้ สมั ภาษณ์ (Interviewee) ซงึ่ โดยปกติแลว้ ผู้สัมภาษณ์จะเป็นผ้ไู ปตดิ ตอ่ กบั ผ้ใู หส้ ัมภาษณโ์ ดยตรง การสมั ภาษณ์ แบง่ เป็น 2 ชนิด 2.1 การสัมภาษณโ์ ดยมโี ครงร่าง (Structured Interview) เป็นการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถามที่สร้างไว้ แลว้ ตามวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ้องการ ลักษณะของแบบสอบถามท่ีใช้ในการสัมภาษณแ์ บบนี้แบง่ ออกเปน็ ๒ แบบคือ ~6~

- แบบปลายปิด (Closed – end Questionnaire) เป็นแบบสอบถามทีใ่ นแต่ละข้อได้กาหนดคาตอบไว้ให้ เลอื ก ซ่งึ อาจจะมคี าตอบท่ีถกู ตอ้ งที่สุดเพียงคาตอบเดยี วหรือหลายคาตอบก็ได้ แบบสอบถามนี้ไม่สามารถถามออก นอกเรื่องช่วยให้ประหยัดเวลา - แบบปลายเปิด (Opened – end Questionnaire) เป็นแบบสอบถามที่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ตอบสามารถตอบ ได้โดยอิสระตามความคดิ เห็นของตนเอง ซ่ึงบางคาถามอาจได้คาตอบทีเ่ ป็นประโยชน์มาก 2.2 การสัมภาษณ์โดยไม่มโี ครงรา่ ง (Unstructured Interview) เป็นการสมั ภาษณ์โดยไม่มีแบบสอบถามไว้ ล่วงหน้า แต่จะมีกรอบไว้กวา้ งๆ วา่ จะสมั ภาษณ์ในเรอื่ งใด ประเดน็ ใด ลกั ษณะการสัมภาษณจ์ ะเปน็ การสนทนาการ เปิดโอกาสใหผ้ ใู้ ห้สัมภาษณ์ได้พูด ไดร้ ะบาย แสดงความรสู้ ึก ความคดิ เห็น แล้วผูส้ มั ภาษณจ์ ะต้องพยายามตะล่อม เขา้ สปู่ ระเด็นสาคัญ เพื่อนามาประกอบการค้นหาปญั หาหรือความต้องการของประชาชน แบ่งออกเปน็ ๓ ลกั ษณะ - การสมั ภาษณท์ ่ีมีจดุ ม่งุ หมายชัดเจน (Focused Interview) โดยผสู้ ัมภาษณ์จะต้องพยายามหันเหเร่ืองท่ี สนทนากันใหเ้ ข้าสู่จดุ ท่ีต้องการจะได้ข้อมลู - การสัมภาษณอ์ ยา่ งลกึ ซง้ึ (Depth Interview) เปน็ การสัมภาษณ์เพอ่ื ให้ได้ข้อมูลทซ่ี ่อนเรน้ อยูใ่ นใจของ ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ อาจจะต้องใช้วธิ ีหลายๆอย่างประกอบกัน และผสู้ ัมภาษณจ์ ะต้องมที ักษะและประสบการณม์ าก - การสัมภาษณ์แบบไม่มีทศิ ทาง (Non - directive Interview) โดยเปิดโอกาสให้ผูส้ ัมภาษณไ์ ด้พูดไปตาม ความพอใจ ผูส้ ัมภาษณเ์ พียงแตฟ่ ังและตอบรับคาพดู หรือกระตุน้ ให้พูดไปเร่ือยๆ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ึงกวา้ งมาก ผู้สมั ภาษณ์ ต้องสรปุ ข้อมูลที่ไดต้ ามความเหมาะสม หลักการสัมภาษณ์ 1. การเตรียมการ - ศึกษาแบบสอบถามโดยละเอียดโดยใหเ้ ข้าใจความหมายของคาถามรวมท้ังคาตอบตา่ งๆ ทวี่ างไว้ลว่ งหนา้ เพอื่ ให้การสัมภาษณเ์ ปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว และการบนั ทึกข้อมลู มีความถูกตอ้ งสมบรู ณส์ ามารถนาไปวเิ คราะห์ได้ - ศึกษาและทาความค้นุ เคยกับชมุ ชน อาจศกึ ษากบั เอกสารหรือทรพั ยากรบคุ คล เชน่ คณะกรรมการชุมชน ครู และเจ้าหนา้ ท่ีทเ่ี กีย่ วข้องกับชมุ ชนเกี่ยวกบั วถิ ีการดารงชวี ิต สภาพความเป็นอยู่ ภาวะเศรษฐกจิ โดยรวม วฒั นธรรม ความเช่ือ ค่านยิ ม เพือ่ ช่วยในการตง้ั คาถาม การซักรายละเอยี ดตา่ งๆ - การเตรียมแบบสอบถามหรืออปุ กรณ์ที่จะต้องใช้ ให้เพียงพอในการปฏิบตั งิ านในแตล่ ะวัน พรอ้ มทั้งเตรยี ม แผนทีช่ ุมชนหรอื แผนท่ีบา้ นท่ีจะไปสมั ภาษณ์ (ถ้ามี) กาหนดทศิ ทางและเวลาสมั ภาษณ์ - การแตง่ กาย ควรแตง่ เคร่ืองแบบของหน่วยงาน แตถ่ า้ จาเปน็ จริงควรใชเ้ ครื่องแตง่ กายอ่ืนท่ีสุภาพ เรียบร้อย สะอาด ตามความเหมาะสมกบั สถานท่ี - เตรียมชุมชนที่จะสมั ภาษณ์ ควรจะนดั วนั เวลา ทีจ่ ะไปสมั ภาษณแ์ กผ่ ูใ้ หส้ ัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้า และตอ้ งให้ ความสาคัญกบั การนัดหมายต้องไปตามนัดเพอ่ื เปน็ การสร้างความเชือ่ ถือและศรทั ธาแกป่ ระชาชน 2. การดาเนนิ การ - การเรมิ่ ตน้ สมั ภาษณ์ ความสาเร็จของการสมั ภาษณ์ขึ้นอยู่กับการสรา้ งสมั พนั ธภาพหรอื การเขา้ ถงึ (Approach) ผู้ให้สมั ภาษณ์ โดยทาใหผ้ ใู้ ห้สัมภาษณ์เกิดความนบั ถอื มีความไวว้ างใจ มคี วามร้สู กึ เป็นกนั เอง ท้งั น้ีขน้ึ อยกู่ บั บคุ ลิกของผ้สู ัมภาษณ์ ความมไี หวพริบ การรับรู้ การปรับตวั และขนึ้ อยู่กบั ความพร้อมและทัศนคติของผ้ใู หส้ มั ภาษณ์ดว้ ย ไม่มหี ลกั ปฏิบตั ทิ ่ี แน่นอนวา่ ควรทาอย่างไรจงึ จะดีท่สี ุด แต่หลกั สาคัญที่ควรปฏิบัติคือ ~7~

1) แนะนาตัวและอธบิ ายจุดมุ่งหมายของการสัมภาษณใ์ ห้ผู้สัมภาษณเ์ ข้าใจว่าผู้สมั ภาษณ์เปน็ ใคร มาจากไหน มาครัง้ น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์อยา่ งไร ชมุ ชนจะได้ประโยชนอ์ ะไรจากการสัมภาษณ์ครัง้ นีอ้ ยา่ งไรในลักษณะ กวา้ งๆ ไม่ควรสญั ญาว่าจะกลับมาช่วยเหลอื แก่ผู้ใด 2) สังเกตการณ์ยอมรับและความพรอ้ มทจี่ ะรว่ มมือใหส้ ัมภาษณ์ ถา้ เขายอมรบั แต่ยงั ไม่พรอ้ มให้รอ จนกว่าจะพร้อมหรือลากลบั ก่อน แลว้ นดั วนั เวลา ท่ีจะมาอกี คร้ัง 3) เลอื กสถานที่ ควรสงบ เงียบ สบาย ใหไ้ ดใ้ ช้ความคิด ไม่ควรจะมบี ุคคลอืน่ ยกเว้นผใู้ ห้สมั ภาษณ์ และบุคคลในครอบครวั เพราะอาจทาให้คาตอบบดิ เบือนไป ควรสัมภาษณบ์ รเิ วณบา้ นเพราะจะไดส้ ังเกตพฤติกรรม ของบุคคลและสง่ิ แวดลอ้ มดว้ ย 4) สนทนาเรื่องทีค่ ดิ ว่าผใู้ หส้ มั ภาษณ์สนใจหรอื กาลงั ปฏบิ ตั ิอยู่ เชน่ การเล้ยี งดูบตุ ร อาชีพ โดยใช้ เวลาเล็กนอ้ ยก่อนเรม่ิ การสมั ภาษณ์ - ทาการสัมภาษณ์ตามแบบสัมภาษณ์ 1) สรา้ งความคุ้นเคยตลอดเวลาการสัมภาษณ์ แสดงความสนใจ พยายามจาชื่อผูใ้ หส้ ัมภาษณ์และ ใช้คาแทนชอ่ื เขาและเราใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม 2) ลกั ษณะท่าทาง สหี น้า การแสดงออกต้องสุภาพ ออ่ นโยน ใจเย็น ไม่แสดงความประหลาดใจ ไม่ พอใจ ตกใจออกมาจนสังเกตได้ 3) การใชแ้ บบสมั ภาษณ์ต้องทาอย่างเปน็ กนั เอง ไม่ทาให้ผ้ตู อบร้สู ึกว่าถูกตรวจสอบหรือสอบสวน 4) พยายามอยา่ ให้การสนทนาออกนอกขอบเขตทต่ี ้องการทราบ เพราะจะทาให้เสียเวลามาก พยายามสรุปใหเ้ ข้าประเดน็ ท่ีตอ้ งการตามแนวทางท่ีวางไว้ 5) ควรเป็นนกั ฟังท่ดี เี ปิดโอกาสใหผ้ ู้สัมภาษณ์พูด ซักถาม แสดงความคดิ เห็นความรู้สึก 6) ไม่ปล่อยช่องวา่ งใหน้ านเกินไปเพราะจะทาให้ขาดความต่อเนอ่ื ง ขาดความสนใจและเกิดความ เบือ่ หน่ายได้ 7) ถา้ ต้องใช้เวลานานเกนิ ไปเพราะแบบสัมภาษณ์มมี าก ควรหาเวลาหยดุ พักและสนทนาเรือ่ งอืน่ ๆ - ปิดการสัมภาษณ์ เมอ่ื เสรจ็ ส้ินการสมั ภาษณค์ วรขอบคุณผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ทใี่ ห้ความร่วมมือเปน็ อย่างดี และย้าว่าความสาเรจ็ ของ การรวบรวมข้อมูลครัง้ น้ีขนึ้ อยู่กบั เขา ทาใหเ้ กดิ ความภาคภูมใิ จ พอใจ และยนิ ดีในการให้การตอ้ นรบั อีก พร้อมทง้ั กล่าวว่าถ้ามโี อกาสจะมาเย่ียมอีกจะขดั ขอ้ งหรือไม่ ถ้าพบผ้ใู ห้สัมภาษณใ์ นชุมชนอีกครั้งให้ซกั ถามเกี่ยวกบั ปญั หา สุขภาพหรือเรื่องใดๆ ทเี่ ก่ยี วข้องกับสุขภาพเสมอ - การบันทึก 1) การสมั ภาษณโ์ ดยใช้แบบสัมภาษณ์ ซ่งึ มีคาตอบหลายข้อ หลายประเภท ควรจดบันทกึ ทันที่ที่ ไดร้ ับคาตอบ เพราะถ้าบันทึกภายหลังอาจหลงลมื ทาให้คาตอบผดิ พลาดได้ 2) คาถามปลายเปดิ ควรบนั ทึกตามถ้อยคาของผใู้ ห้สัมภาษณ์ ไมค่ วรสรุปส้ันๆ หรอื แปลงคาพดู 3) ไม่ควรใช้อกั ษรยอ่ 4) คาถามใดที่ผใู้ หส้ ัมภาษณ์ไม่ตอบ ควรบันทึกย่อวา่ ไม่ตอบ และใหเ้ หตผุ ลไว้ด้วย 5) ตรวจทบทวนความสมบูรณ์ของตาตอบ ~8~

ผลดขี องการสัมภาษณ์ 1. ได้ข้อมูลครบถว้ นตามวตั ถปุ ระสงค์ 2. อาจได้ขอ้ มลู อ่นื เพม่ิ เติม ซ่งึ ช่วยในการคน้ หาปญั หาและความต้องการของชมุ ชน 3. สามารถใช้กบั ผู้ที่อ่านหนงั สือไมอ่ อก เขยี นหนังสือไม่ได้ อายุมากๆแล้ว ผลเสียของการสัมภาษณ์ 1. ถ้าผสู้ ัมภาษณ์ไม่มเี ทคนิคในการสัมภาษณ์ อาจได้ข้อมูลไม่ถูกตอ้ ง ครบถว้ น 2. ตอ้ งใชเ้ วลาและแรงงานมาก 3. ตอ้ งเสยี คา่ ใช้จา่ ยค่อนข้างสูง 3. แบบสอบถาม (Questionnaire) เปน็ เครอื่ งมือที่นิยมใช้ในการรวบรวมขอ้ มลู เก่ยี วกบั ความคิดเหน็ ทศั นคติ ซง่ึ ในการรวบรวมขอ้ มลู เพื่อประเมนิ ภาวะสุขภาพของชุมชนนั้น การใช้แบบสอบถามทาได้ 2 วิธี คือ 3.1 ผรู้ วบรวมข้อมลู นาแบบสอบถามไปถามโดยตรง มลี กั ษณะเชน่ เดียวกับการสัมภาษณ์ 3.2 ผ้รู วบรวมขอ้ มูลตอ้ งชี้แจงรายละเอยี ดของเร่ืองท่จี ะถาม วธิ ีตอบคาถาม การส่งคืนแบบสอบถามให้ เขา้ ใจ และใหค้ าตอบไดโ้ ดยอิสระตามความเปน็ จรงิ 4. การใชเ้ คร่ืองวดั (Measuring) เป็นเคร่ืองมอื รวบรวมข้อมลู ที่ใช้วดั สภาพจติ ใจ เชาวป์ ญั ญา ความจา สติปญั ญา และวดั พัฒนาการ เปน็ ต้น 5. การสารวจ (Survey) เปน็ การรวบรวมขอ้ มูลของชมุ ชน ซึ่งสามารถรวบรวมได้จากการบันทึก (Record) หรือรายงาน (Reports) ทีม่ ีผู้ทาการสารวจไว้แลว้ นอกจากน้ีไดจ้ ากการค้นหาข้อมลู ดว้ ยตนเองเพ่ือให้ไดข้ ้อมูลที่ครอบคลุมวัตถปุ ระสงค์ที่ ต้องการ การสารวจชุมชนด้วยการรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ทาไดโ้ ดยการใช้แบบสารวจโดยการสังเกต การ สมั ภาษณ์ รวมท้ังการมเี คร่ืองมือคัดกรองทมี่ ีคณุ ภาพ เช่น เครอ่ื งมือวัดความดนั เครอ่ื งทดสอบการได้ยิน เคร่ืองชัง่ น้าหนกั และวัดส่วนสูง เคร่อื งตรวจในปาก เคร่ืองตรวจระบบประสาท 2. การวเิ คราะหข์ ้อมูล (Analysis of Data) การวิเคราะห์ขอ้ มูล คอื กระบวนการจดั ทาข้อมลู ใหเ้ ปน็ ระบบและนามาคานวณทางสถิติ เพอ่ื ให้ได้ข้อมลู ซึ่ง สามารถแปลความหมายและสามารถนาไปแจกแจงปัญหาได้ ขั้นตอนการวเิ คราะหข์ ้อมูล 1. บรรณาธกิ รขอ้ มูล (Edit the raw data) เปน็ การตรวจสอบข้อมลู เก่ียวกับความถูกต้อง (Accuracy) ความครบถ้วน (Complete) และความเปน็ เอกภาพ (Uniformity) การบรรณาธิกรขอ้ มูลควรกระทาทันทหี ลังการเก็บข้อมูล เพื่อป้องกนั การหลงลมื ซ่ึงอาจทา ใหไ้ ดข้ ้อมลู ไม่ตรงตามความต้องการและไม่สามารถนามาใช้วเิ คราะหไ์ ด้ 2. การแยกประเภทข้อมูล (The establishment of categories) เปน็ การจาแนกประเภทของข้อมูลให้เปน็ หมวดหมู่เพื่อความสะดวกในการวเิ คราะหข์ ้อมูล เชน่ ขอ้ มลู ทว่ั ไป ของประชากรและสถติ ชิ พี ขอ้ มลู สขุ ภาพและความเจ็บป่วย สขุ าภิบาล/ส่ิงแวดลอ้ ม ข้อมลู หญงิ ต้งั ครรภ์และหลัง คลอด เปน็ ตน้ ในการแยกประเภทของข้อมูลต้องจดั ทาตารางเปลา่ (Dummy tables) ไวก้ อ่ น เพ่ือนามาใช้เป็น แนวทางในการแยกประเภทข้อมูลและเมื่อได้ขอ้ มูลมาแลว้ ก็นามาใสต่ ารางทท่ี าไวไ้ ด้เลย ~9~

การจัดทาตารางเปล่า (Dummy tables) จะกระทาเมื่อสรา้ งเครื่องมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เรียบร้อย แล้ว โดยครอบคลุมวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนด และต้องอาศัยข้อความจรงิ มาตรฐานหรอื เป้าหมายทย่ี อมรบั กันเปน็ แนวทางในการสรา้ ง เช่น ขอ้ มลู เกี่ยวกับประชากร กส็ รา้ งตารางโดยแบง่ ช่วงอายุของประชากรใหส้ ามารถนามาใช้ ประโยชนไ์ ด้ ข้อมลู เกี่ยวกับรายได้สร้างตารางโดยใชร้ ายได้เฉลี่ยของประชากรเป็นหลัก เป็นตน้ ลกั ษณะของตาราง จะเป็นการแสดงข้อมูลโดยตรงหรือแสดงความสัมพันธข์ องข้อมลู ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของประชากรจาแนกตาม อายุ (ปี) เพศชาย เพศหญงิ รวม จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ 0–4 5 -9 10 – 14 15 - 19 20 - 24 25 – 29 30 – 34 35 – 39 40 – 44 45 – 49 50 – 54 55 – 59 60 – 64 65 – 69 70 – 74 75 -79 80 - 85 85 ปี ขึน้ ไป รวม ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของครอบครัวจาแนกตามรายไดต้ ่อเดือน รายไดค้ รอบครวั ต่อเดอื น (บาท) จานวน ร้อยละ 3,000 และต่ากวา่ 3,001 – 6,000 6,001 – 9,000 9,001 – 12,000 12,001 – 15,000 15,001 – 18,000 มากกว่า 18,000 รวม ~ 10 ~

3. การแจกแจงความถี่ (Frequency distribution) เปน็ การดูว่าข้อมลู ชดุ หนงึ่ ๆน้ันมีสงิ่ ทม่ี ีคุณสมบตั เิ หมือนกันอยู่จานวนเทา่ ใด โดยแจกแจงความถลี่ งในตาราง เปลา่ (Dummy tables) ท่ีสรา้ งไว้ ซ่งึ ในการวิเคราะห์ด้วยมอื จะต้องแจกแจงความถโี่ ดยใช้รอยขีดหรือรอยความถ่ี (Tally mark) การแจกแจงความถมี่ ดี ังนี้ 1) การแจกแจงความถี่แบบไม่จัดคะแนนเป็นกล่มุ (Ungrouped data) เปน็ การเรยี งลาดับตวั เลขท่ไี ด้มา เพือ่ ให้ดูง่ายข้นึ เชน่ การเรยี งจากต่าไปหาคา่ สงู หรือจากค่าสงู ไปหาคา่ ตา่ ตามความเหมาะสม การแจกแจงความถ่ี วิธนี ้ไี ม่เหมาะสมในกรณีทีข่ ้อมูลสงู สดุ กบั ข้อมูลตา่ สดุ ห่างกันมากทาใหก้ ารกระจายไม่เห็นลกั ษณะข้อมูลเด่นชัด มี ข้นั ตอนดงั น้ี - กาหนดใหอ้ ันตรภาคชน้ั เป็นหน่ึงหนว่ ย - หาขอ้ มูลต่าสุดและสงู สดุ ของข้อมูลชดุ น้ัน - เขียนคะแนนเรยี งลาดบั นิยมเรียงลาดับจากค่าสูงสดุ ไปหาคา่ ตา่ สดุ - หาวา่ คะแนนหนึง่ มีจานวนเทา่ ใด โดยการใช้รอยขีดและรวมค่ารอยขีดเปน็ ตวั เลข 2) การแจกแจงความถี่แบบจัดคะแนนเป็นกลุ่ม (Grouped data) ใช้สาหรับขอ้ มลู ที่มีจานวนมาก มขี ั้นตอน ดงั น้ี - หาขอ้ มลู ต่าสดุ และสูงสุดของขอ้ มลู ชุดนั้น และหาค่าพิสัยของกลุม่ ข้อมลู - กาหนดจานวนชัน้ โดยพจิ ารณาว่าถ้าคะแนนพิสยั แคบควรจัดน้อยชัน้ ถ้าคะแนนพิสัยกวา้ งควรจัดหลาย ชน้ั - หาอันตรภาคชั้น (Interval) เป็นการหาวา่ ช้ันหนงึ่ ๆควรมีคะแนนก่ีคะแนน คะแนนสงู สดุ – คะแนนต่าสุด (พิสัย) อันตรภาคชั้น = จานวนชัน้ - เขยี นชนั้ คะแนน โดยเร่ิมจากคะแนนต่าไปหาคะแนนสงู หรอื จะเร่ิมจากคะแนนสงู ไปหาคะแนนต่าก็ได้ - แจงนับขอ้ มูลและทารอยขดี ในแต่ละชน้ั และรวมความถ่ขี องคะแนนในแต่ละช้ันเป็นตวั เลข ตารางที่ 4 การแจกแจงความถแี่ บบจดั คะแนนเปน็ กลุ่มของรายได้ประชากร ชน้ั คะแนน รอยความถ่ี ความถี่ 2,000 – 4,000 ||||| 5 4,001 – 6,000 |||| 4 6,001 – 8,000 |||||| 6 8,001 – 10,000 ||||||| 7 10,001 – 12,000 |||||| 6 12,001 – 14,000 || 2 รวม 30 4. การคานวณทางสถิติ (Statistical analysis of data) เป็นการทาข้อมูลให้เปน็ ระบบตวั เลขท่เี ชือ่ ถือไดโ้ ยวิธกี ารทางสถติ ิ เช่น ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณมกั คานวณโดยการ วัดแนวโนม้ เขา้ สู่ส่วนกลาง เชน่ ฐานนิยม มัธยฐาน มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพจะ คานวณในรูปสัดส่วน อัตรา อัตราสว่ น ~ 11 ~

การแปลความหมายของขอ้ มลู ( Interpretation of Data) เป็นการลงความเหน็ ( Inference) เก่ียวกับข้อมูลของชมุ ชนทรี่ วบรวมได้ทั้งหมดตามหลกั วิชาการ และ เปรยี บเทียบหรือหารความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู กับสิ่งที่ยอมรบั กันทั่วไป เชน่ แผนพัฒนาการสาธารณสุข แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ มาตรฐาน บรรทดั ฐาน หรือแปลผลอยา่ งตรงไปตรงมา โดยมีหลักดงั นี้ - พจิ ารณาว่าตัวเลขต่างๆ หรือคา่ สถิติตา่ งๆ นนั้ แสดงถึงอะไร มคี วามหมายอย่างไร - ผลทไ่ี ดน้ นั้ มีความสมั พนั ธห์ รือเกี่ยวข้องกับสง่ิ ใด - แปลผลใหอ้ ยู่ในขอบเขตของขอ้ มลู หรือความมุง่ หมาย - มีเหตผุ ลและมีหลักฐานประกอบ - ไมใ่ ช้ความคิดเหน็ คา่ นิยมหรือมาตรฐานส่วยตวั มาเกย่ี วข้อง - มคี วามชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย การนาเสนอขอ้ มลู ( Presentation of data) เปน็ วธิ ีการแสดงรายละเอียดของข้อมูลอยา่ งเป็นระเบียบ ให้อ่านได้สะดวก เข้าใจได้งา่ ยและสามารถ ตคี วามหมายได้ ข้อมูลของชมุ ชนท่ีควรนาเสนอมดี ังนี้ 1. ข้อมลู ทว่ั ไปของชมุ ชน ไดแ้ ก่ 1) พื้นฐานความเป็นมาและลักษณะทางภมู ศิ าสตร์ เชน่ ประวตั ชิ ุมชน อาณาเขตของชมุ ชน ภูมอิ ากาศ 2) ลกั ษณะทางโครงสร้างของสถาบันต่างๆ เช่น สถานบนั ครอบครวั การศึกษา ศาสนา สนั ทนาการ สถาน บรกิ ารสุขภาพ 2. ข้อมลู ประชากร เช่น จานวน เพศ อายุ เช้ือชาติ ศาสนา อาชีพ สถานภาพสมรส อัตราเกดิ อัตราตาย อตั ราป่วย ภาวะเจรญิ พนั ธ์ุ 3. ขอ้ มูลสง่ิ แวดล้อม เชน่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ทางชวี ภาพ ทางเคมี 4. ข้อมูลสขุ ภาพ เชน่ สภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ การนาเสนอขอ้ มลู มี 4 วธิ คี ือ 1. การนาเสนอข้อมลู ดว้ ยบทความ (Text presentation) เปน็ การอธิบายในรูปความเรยี งประกอบตัวเลขหรือ สถิติ เหมาะสาหรับข้อมลู ท่มี ีรายการจานวนนอ้ ย เชน่ จากการสารวจผตู้ ดิ เช้อื เอดส์ที่เข้ารับการรักษาในสถานบริการสขุ ภาพท้ังในภาครัฐและเอกชน ตงั้ แต่ปี พศ. 2552 จนถงึ วันท่ี 31 ธันวาคม 2558 พบวา่ มผี ู้ปว่ ยเอดส์ 31,439 ราย เป็นเพศชาย 26,677 ราย เพศหญิง 4,762 ราย คดิ เปน็ อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 5.6: 1 ในจานวนนผ้ี ้เู สียชีวติ 8,736 ราย ชุมชนน้าใส แขวงบางขนุ ศรี เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ก่อต้ังในปี พ.ศ. 2500 ประชากรส่วนใหญ่ ย้ายมาจากภาคเหนือ เพื่อมาหางานทา จงึ ยังคงดารงประเพณีและวัฒนธรรมภาคเหนอื อยู่ สถานการณ์ต้งั บ้านเรือน อยู่กันอย่างแออัด มคี ณะกรรมการชมุ ชนท่ีได้รบั การการเลือกจากประชาชนจานวน 15 คน เปน็ เพศชาย 13 คนเพศ หญงิ 2 คน 3. การนาเสนอข้อมลู ดว้ ยบทความก่ึงตาราง (Semi Tabular Presentation) คือการอธบิ ายตัวเลขหรอื คา่ สถติ ิ ตา่ งๆ ในรปู ความเรียงผสมตาราง เพื่อแสดงคา่ ตัวเลขใหเ้ ด่นชัดข้นึ เช่น ~ 12 ~

เดก็ ในชว่ งขวบปแี รกส่วนใหญ่ไดร้ บั อาหารเสริมครัง้ แรกไม่ถูกต้องร้อยละ 75 โดยจะได้รับต้งั แต่อายยุ ังไม่ถงึ 1 เดือนจนถึง 3 เดอื น และได้รับถกู ต้องคืออายุ 4 เดือนขึน้ ไปรอ้ ยละ 25 ซึง่ อาหารท่ีได้รับได้แก่ กลว้ ย ขา้ ว ส้มและ น้าขา้ ว ตาราง 6 จานวนเด็กในชว่ งปีแรกจาแนกตามอายุและชนดิ ของอาหารเสรมิ ที่ไดร้ บั ครงั้ แรก อายุ (เดอื น) 1 2 3 4 รวม ชนิดของอาหารเสรมิ กล้วย 8 2 10 8 26 ขา้ ว 1 6 8 6 21 ส้ม 0 2 5 1 8 น้าขา้ ว 4 2 0 0 6 รวม 10 12 23 15 60 หรอื ผูม้ ารับบรกิ ารตรวจโลหติ เพ่อื หาระดับน้าตาลและระดับไขมนั ท่ีโรงพยาบาลเก้าเลี้ยว จังหวดั นครสวรรค์ จานวน 201 ราย มีภูมิเลาเนาแตกต่างกนั คือ จังหวดั สิงห์บุรี 50 ราย จังหวัดลพบรุ ี 41 ราย จงั หวัดสระบรุ ี 36 ราย จังหวัดอยธุ ยา 29 ราย จงั หวัดเพชรบูรณ์ 20 ราย จงั หวัดชยั นาท 15 ราย จงั หวดั นครสวรรค์ 10 ราย 4. การนาเสนอขอ้ มลู ด้วยตาราง (Tabular Presentation) เปน็ การนาเสนอด้วยการจัดตัวเลขหรือข้อมลู ใหเ้ ป็น ระเบยี บ เขา้ ใจงา่ ย สามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ดง้ ่าย สว่ นประกอบของตารางขอ้ มูลมีดังนี้ ก. หัวข้อเร่ืองของตารา ข. หัวขอ้ ตาราง – บอกข้อความในแตล่ ะสดมภว์ า่ เป็นอะไร ค. หัวข้อแถว - บอกขอ้ ความแต่ละแถววา่ เป็นอะไร ง. ตัวตาราง – ตวั เลขต่างๆ จ. แหล่งข้อมูล – ในกรณีทไ่ี ด้รบั ข้อมูลมาจากท่ีอ่ืน ฉ. เชงิ อรรถ – (ถ้ามี) ~ 13 ~

ตาราง 7 จานวนบุคลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ พศ. 2557 แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชพี ภาค จานวน อตั ราสว่ น จานวน อตั ราสว่ น จานวน อัตราส่วน จานวน อัตราสว่ น กรุงเทพมหานคร 5936 1:940 1358 1:4561 2405 1:2320 15663 1:356 จงั หวดั อืน่ ๆ 8162 1:6510 1626 1:33170 3170 1:16763 35395 1:1501 ภาคเหนอื 1948 1:6090 336 1:35302 538 1:25976 8740 1:903 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1883 1:10885 464 1:51843 538 1:41646 811 1:1386 ภาคกลาง (ไมร่ วม กทม.) 3047 1:5278 540 1:25074 1671 1:21445 12563 1:704 ภาคใต้ 1284 1:5875 280 1:26376 423 1:17833 5915 1:1275 ทงั้ ประเทศ 14098 1:4165 2984 1:19677 5525 1:10523 51058 1:1150 ที่มา : ส่วนขอ้ มูลข่าวสารสาธารณสุข สานักนโยบายและแผนงานสาธารณสขุ 2558 หมายเหตุ ไดจ้ ากการสารวจตามแบบฟอร์ม รง. 6/1 และ รง. 4/2 และเปน็ บคุ ลากรทย่ี ังประกอบวชิ านั้นๆ อยู่ 4. การนาเสนอขอ้ มูลด้วยกราฟหรือแผนภูมิ (Graphical presentation) หรอื (diagram presentation) การนาเสนอขอ้ มูลดว้ ยกราฟจะดงึ ดดู ความสนใจ ช่วยให้อา่ นไดง้ า่ ยโดยเฉพาะในกรณีเปรียบเทยี บข้อมลู ต่างๆ กราฟ ทใ่ี ช้เสนอข้อมูลมหี ลายชนิดและมที ีใ่ ช้แตกตา่ งกนั เชน่ 1. กราฟทใ่ี ช้กับข้อมูลเชงิ คุณภาพ มี - แผนภูมแิ ท่ง ( Bar diagram) - แผนภูมวิ งกลม ( Pie diagram) - แผนภูมภิ าพ ( Pictogram) 2. กราฟทใ่ี ช้กบั ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ - ฮิสโตแกรน (Histogram) - รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถ่ี (Frequency Polygon) - แผนภมู ิเส้น (Line diagram) - สันโค้ง ( Curve) 3. กราฟทใ่ี ชส้ าหรับข้อมูลเชงิ เวลา ได้แก่แผนภมู ิเสน้ 4. กราฟที่ใชส้ าหรบั ข้อมลู เชิงภูมศิ าสตร์ ไดแ้ ก่แผนที่ แผนภมู แิ ทง่ เปน็ กราฟท่ีใชส้ ่เี หล่ียมผืนผา้ แทนจานวนขอ้ มลู แตล่ ะประเภท ความกวา้ งของแท่งใชแ้ ทนสญั ลกั ษณะของ ข้อมูล ความสูงหรือความยาวของแทง่ ใชแ้ ทนความถี่ รอ้ ยละหรือสดั ส่วนของข้อมูล การสร้างแผนภมู แิ ท่ง ความกวา้ งของแท่งจะเท่ากนั ตลอด แต่ละแท่งจะไมต่ ดิ กนั ยกเวน้ จะเปรยี บเทยี บ ข้อมลู ชนิดเดียวกนั ก็สามารถเขยี นติดกนั ได้ แตจ่ ะมเี คร่ืองหมาย หรือสิง่ แสดงความแตกต่างน้ัน แผนภูมิแท่งมหี ลาย ชนดิ : แท่งเดียว แท่งคู่ขนึ้ ไป แท่งประกอบเดี่ยว แท่งประกอบ2 แท่งขน้ึ ไปขนาดไมเ่ ท่ากัน ~ 14 ~

รูป ๓ แสดงจานวนอุบัติเหตุในปี 2534 - 2540 แผนภมู ิวงกลม เปน็ การใชพ้ ้นื ทขี่ องวงกลมแทนจานวนขอ้ มลู แต่ละประเภท เป็นข้อมลู ที่ไม่มีความต่อเน่ืองกนั และไม่ สามารถเปรยี บเทียบข้อมลู ต่างชุดกนั ในวงกลมเดียวกนั ได้ การสรา้ งแผนภูมวิ งกลม ให้คิดจานวนขอ้ มลู ทั้งหมอเปน็ 100% แล้วเทียบบัญญัติไตรยางศ์ หาร้อยละของข้อมลู แตล่ ะชนดิ คดิ มมุ ท่ีจดุ ศนู ย์กลางกลมเปน็ 360 องศา การคดิ องศาของข้อมูลแตล่ ะชนิดคือ องศาของข้อมลู = 360  ร้อยละของข้อมูล 100 แผนวงกลมมีหลายชนิด เชน่ วงกลมเดียว วงกลม 2 วงขนาดเท่ากัน และวงกลม 2 วงขนาดไมเ่ ทา่ กนั รปู 4 แผนภาพวงกลมแสดงการเปรยี บเทียบจานวนนักศกึ ษาแยกตามหลักสตู ร แผนภูมภิ าพ เปน็ การใชร้ ูปภาพหรือสัญลกั ษณ์แทนจานวนขอ้ มูล โดยกาหนดว่ารูปภาพหนง่ึ ๆแทนจานวนข้อมูลเทา่ ใด 2553  2554  2555      รูป 5 แสดงจานวนด้วยโรคอุบตั เิ หตุระหวา่ ง พ.ศ. 2553 – 2555 ~ 15 ~

ฮสิ โตแกรม เป็นที่ใช้แทง่ สเ่ี หลี่ยมผนื ผา้ แสดงจานวนของขอ้ มูลท่ีต่อเน่ืองกัน ทุกแท่งอยู่ในระดับเดียวกัน ความกวา้ งของ แท่งสีเ่ หลีย่ มจะเท่ากับความกว้างของอัตรภาคชนั้ ความสูงของแทง่ ใช้แทนความถี่ของข้อมูล การสรา้ งควรให้แท่งท่ี สงู สดุ มีความสงู ประมาณ 3 ใน 4 ของความยาวของกราฟในแกนนอน หรือ การคิดขนาดความสูง = ความถห่ี รือความถี่สะสมของชั้น ขนาดของความกวา้ ง ฮิสโตแกรมทีน่ ิยมใช้ทางสาธารณสุข เช่น ปริ ามดิ ของประชากรฮิสโตแกรนความถ่ี ฮสิ โตแกรมความถ่ีสะสม ปริ ามดิ ของประชากร (Population pyramid) เปน็ กราฟแสดงการกระจายตัวของประชาการตามอายแุ ละเพศ ซึ่งโครงสรา้ งอายุของประชาการมี 2 ลกั ษณะคือ 1. ใช้จานวนประชากร (Absolute numbers) แต่ละกลุม่ อายุ และแต่ละเพศ 2. ใชส้ ดั สว่ น (Population numbers) - ใชป้ ระชากรทั้งเพศชายและเพศหญิงรวมกันคิดเป็น 100 เปอร์เซน็ ต์ - ใช้จานวนประชากรแต่ละเพศเปน็ 100 เปอร์เซ็นต์ รปู ที่ 6 ปิรามดิ ของประชากรจานวนตามอายุและเพศ ปิรามิดลักษณะนี้เป็นปริ ามดิ ที่มีฐานกวา้ งแลว้ ค่อยๆ แคบลงไปในช่วงอายุถดั ไปมา เปน็ ลกั ษณะของ ประชากรทีม่ ีอัตราเกดิ และอัตราตายสูง อตั ราเกดิ ทาใหฐ้ านของปิรามิดกว้าง แตอ่ ตั ราตายทส่ี งู ขนึ้ จะทาให้ประชากร ในช่วงอายุตอ่ มามสี ัดส่วนลดลงดว้ ย ปิรามิดประชากรลักษณะนม้ี ีอัตราสว่ นของผทู้ ี่พึ่งตัวเองไมไ่ ด้ทางเศรษฐกิจสงู รปู ที่ 7 ปิรามดิ ของประชากรจานวนตามอายุและเพศ ~ 16 ~

ลักษณะของปิรามิดแบบนี้ เป็นลักษณะของประชากรที่มีอัตราเกิดอัตราตายต่า อตั ราเกิดทาให้ฐานปิรามิด แคบ ส่วนอัตราตายในแต่ละวัยก็จะต่าโดยเฉพาะในวยั สูงอายุ ทาใหส้ ดั ส่วนของประชากรแต่ละกลุ่มอายุไม่แตกต่าง กนั แตจ่ านวนประชากรวัยแรงงาน เมื่อรวมกนั แลว้ จะมีอตั ราส่วนสงู ปิรามดิ ประชากรลักษณะน้จี ะมอี ัตราสว่ นผทู้ ่ี พึ่งตัวเองไม่ได้ทางเศรษฐกิจต่า รูปหลายเหลี่ยมแหง่ ความถ่ี เป็นกราฟที่ใช้แทง่ สเ่ี หลยี่ มผืนผา้ ทส่ี รา้ งตอ่ จากฮสิ โตแกรมความถ่ี และฮสิ โตแกรมความถส่ี ะสม ดัง้ นนั้ จึงมี รปู หลายเหลี่ยมแห่งความถ่ีและรปู หลายเหลี่ยมแหง่ ความถ่ีสะสม ซึง่ ใชป้ ระโยชน์ในเปรียบเทยี บข้อมลู ตา่ งชุดบน แกนเดียวกนั ได้ชัดเจน ซ่งึ ฮสิ โตแกรมไมส่ ามารถเปรยี บเทียบได้ การสรา้ งรูปหลายเหล่ยี ม โดยแกนนอนจะแทนข้อมูลดบิ ตวั เลขบนแกนนอนจะแทนจุดกลาง (Mid point) ของข้อมลู แตล่ ะช้ัน วดั ส่วนสูงจากจดุ กลางไปยงั เส้นแสดงจานวนความถ่ีแต่ละช้ันแลว้ เชอ่ื มต่อจุดก่งึ กลางของแตล่ ะ ชน้ั ความถข่ี องข้อมูล รวมท้ังเชื่อมจุดเริ่มตน้ และจุดสุดท้ายมายงั แกนนอนด้วย รูปท่ี 8 แสดงรปู หลายเหล่ยี มแหง่ ความถี่ แผนท่ี (Map) การทาแผนทช่ี ุมชนเป็นเคร่ืองชีแ้ นวอาณาเขต แสดงระยะทาง บอกสถานที่ตง้ั และแหล่งทัพยากรตา่ งๆ การกระจายของบา้ นเรือน การทาแผนท่จี ึงมีความจาเป็นอยา่ งยง่ิ ในการดาเนนิ งานอนามัยชมุ ชน ความหมาย แผนท่ี คอื สถานท่แี สดงรายละเอียดต่างๆ ของภูมปิ ระเทศหรือบรเิ วณใดบรเิ วณหนงึ่ บนผวิ พภิ พ โดยย่อสว่ น ให้เป็นแบบแบนหรือแบบราบ และใชเ้ ขียนเคร่ืองหมายแทนสิ่งตา่ งๆ เหล่านนั้ ลงบนแผ่นแบนเรียบ เช่น แผน่ กระดาษหรือผา้ แผนทแ่ี บ่งเปน็ 3 ประเภท 1. แบง่ ตามชนดิ ของแผนที่ - แผนทแ่ี บบแบน ( Planimetric map) เป็นแผนทแ่ี สดงรายละเอียดของผวิ พภิ พเฉพาะส่วนกว้างและยาว เทา่ นั้น ใช้ในการแสดงตาแหน่งทตี่ ้ังของสง่ิ ต่างๆ หาระยะทางราบและเสน้ ทางเท่านน้ั - แผนทีภ่ มู ิประเทศ ( Topographic map) เป็นแผนที่แสดงลักษณะของภูมปิ ระเทศ เช่นเดียวกบั แผนที่ แบบแบน แตไ่ ด้แสดงความสงู ต่าไว้ดว้ ยเส้นชน้ั (contour line) - แผนทภ่ี าพถ่าย (Photo map) เป็นภาพถ่ายของภมู ปิ ระเทศซึ่งถา่ ยจากทางดิง่ แล้วนามาต่อรวมกันเปน็ บรเิ วณหนึง่ ๆ แผนทน่ี ที้ าไดเ้ ร็วแต่อา่ นยากและจะสงั เกตหาความสูง ~ 17 ~

2. แบ่งตามมาตราส่วน - แผนทม่ี าตราสว่ นใหญ่ ซ่ึงมีมาตราส่วนต้ังแต่ 1: 5,000 ลงมา - แผนที่มาตราสว่ นเล็ก คอื มีมาตราสว่ นสูงกวา่ 1: 5,000 ขนึ้ ไป 3. แบ่งตามกจิ กรรม - แผนทก่ี ิจกรรมท่วั ๆ ไป หรอื แสดงรายละเอยี ดทวั่ ไป เชน่ แผนท่แี สดงอาณาเขตในความรับผิดชอบ สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดชยั ภูมิ แผนทีแ่ สดงทางแสดงทางหลวงระหว่างจังหวัดแผนทีก่ รุงเทพมหานครรอบนอก - แผนที่แสดงกจิ กรรมเฉพาะ เช่นแผนท่ีแสดงครอบครวั ที่มีผู้สงู อายุ แผนทแ่ี สดงแผนสถานทีม่ ผี ปู้ ่วยโรค เร้ือรัง แผนทีแ่ สดงสถานที่ท่องเทย่ี ว จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ส่วนประกอบของแผนที่ แผนทีท่ ี่จัดทาข้ึนจะมสี ่วนประกอบเป็น 2 ส่วน คือ 1. รายละเอียดตา่ งๆ ของภูมิประเทศท่เี ปน็ เนื้อแผนท่ี เพ่ือบอกให้ผใู้ ช้ไดท้ ราบขอ้ มลู ของแผนท่แี ละสามารถนาไปใช้ ไดถ้ ูกต้อง 1. รายละเอียดประกอบแผนที่ ซ่ึงมดี งั นี้ 2.1 ชอ่ื แผนท่ี (Name) เป็นสิ่งทบี่ อกใหท้ ราบว่าเป็นแผนทข่ี องบรเิ วณใด ตาบล อาเภอ จงั หวดั ใด หรอื แผนท่แี สดงถงึ อะไร ณ พ้นื ที่ใด ชอื่ แผนที่นยิ มเขียนไวส้ ่วนบนของแผนท่ี 2.2 มาตราสว่ น (Scale) การท่ีจะนารายละเอยี ดต่างๆ ในภมู ปิ ระเทศซึ่งมีขนาดกว้างมากลงบนพื้นแบน เช่น กระดาษ ซ่งึ มขี นาดเลก็ กว่ามาก จาเปน็ ต้องยอ่ สว่ นใหเ้ ล็กลงจนสามารถบรรจรุ ายละเอียดเหลา่ นนั้ ลงใน แผน่ กระดาษได้ การยอ่ ส่วนน้ีต้องมีเกณฑว์ ่าจะย่อลงกีเ่ ท่า ภมู ิประเทศเหลา่ น้นั จึงจะบรรจุอยใู่ นกระดาษได้พอดี ทั้งหมด น้ันคือ มาตราส่วน คืออัตราส่วนของระยะทางหรอื ระยะทางหรือระยะความยาวบนแผนท่ี เทียบกบั ระยะทางท่เี ป็นจริงในภูมิประเทศ หรอื คือตัวเลขซึ่งแสดงให้ทราบวา่ ระยะ 1 หนว่ ยความยาวในแผนทน่ี ้นั ยาวเทา่ กับ กหี่ น่วยความยาวในภมู ปิ ระเทศจริงทต่ี รงกนั มาตราส่วน = ระยะความยาวบนแผนท่ี ระยะความยาวในภมู ิประเทศที่ตรงกัน 2.3 ทิศทาง (Direction) การทาแผนท่หี รอื การใช้แผนทน่ี ั้นทิศทางเปน็ สง่ิ จาเป็น เพราะจะช่วยใหท้ ราบ ตาแหนง่ ของสงิ่ ทีต่ ้องการได้ ทศิ ท่ีใชแ้ ผนท่ี คอื ทิศเหนือ ซง่ึ ทศิ เหนือทใ่ี ชใ้ นแผนท่ีมี 3 ชนดิ คอื - ทศิ เหนือจริง หรือทิศเหนือภูมิศาสตร์ (True North) คือทศิ ทางทีต่ รงไปยงั จุดขว้ั โลกเหนอื หรือ แนวเสน้ ตรงที่ตอ่ ออกไปจากจุดท่ีพจิ ารณา ไปบรรจบที่ข้วั โลก - ทิศเหนอื ตาราง หรือทิศเหนือเส้นโครงพิกัดฉาก (Grid North) คือทิศทางท่ีเสน้ ตารางและเสน้ โครงพิกัดฉากชไ้ี ปทางเหนือ ซึง่ ทกุ เส้นขนานกนั หรอื เสน้ ตรงทต่ี ่อจากจดุ ที่ พจิ ารณาขนานกบั เส้นตาราง เหนือ – ใต้ และแผนทฉ่ี บับหน่งึ ๆยอ่ ยมเี ส้นโครงพกิ ัดฉากทีช่ ี้ไปทางทิศเหนอื จริงเพยี งเส้นเดียว นอกน้ันจะชี้ไปทางทิศเหนือ ตารางหรือทิศเหนอื เส้นโครงพกิ ดั ฉาก - ทิศเหนือแมเ่ หลก็ (Magnetic North) คือทศิ เหนือตามแนวดงึ ดดู ของแมเ่ หล็กโลกหรือคือเส้นตรง ทตี่ อ่ ออกจากจุดทพี่ ิจารณาขนานไปกับทศิ ทางทีเ่ ขม็ แม่เหลก็ ชไ้ี ป แต่แรงดึงดูดของแมเ่ หลก็ โลกจะไม่คงท่ีมีการ คลาดเคลื่อนอยู่เสมอ ฉะนั้นการใชเ้ ขม็ ทิศในการหาทิศเหนือนั้นอาจจะคลาดเคลอื่ นไปเล็กน้อย ~ 18 ~

โดยส่วนมากแล้วการทาแผนท่ี ใช้เสน้ ทศิ เหนอื ตารางและเสน้ ทิศเหนอื แม่เหลก็ เปน็ ทศิ ทางเหลก็ 2.4 เครอื่ งหมายหรือสัญลักษณพ์ รอ้ มคาอธบิ ายเคร่ืองหมาย (Symbol) คือเครื่องหมายท่ีกาหนดข้ึนเพื่อ ใชแ้ ทนสงิ่ ต่างๆ ในภูมิประเทศ ซึ่งควรจะเป็นสงิ่ ทเ่ี ขียนงา่ ยเป็นระเบียบ ได้แก่ ภาพ ตวั อักษร ภาพจาลอง เส้น สี เชน่  โรงเรยี น บ้านผู้นาชุมชน ถนนรถไฟ สะพาน ถนน  ทุ่งนา  2.5 ชอ่ื ผูท้ าแผนที่ ผทู้ าแผนทีค่ วรเขยี นชอ่ื ไว้ด้วยซง่ึ จะเป็นประโยชน์สาหรบั ผูใ้ ช้พน้ื ท่ีในกรณีทีต่ ้องการ ทราบรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ หรือมขี ้อต้องการซักถาม 2.6 วัน เดอื น ปีที่ทาแผนท่ี ควรจะต้องเขียนกากับไวเ้ พื่อแสดงว่าแผนที่นี้มกี ารจัดทาเมื่อใด เพราะว่าถา้ ระยะเวลาผา่ นไปรายละเอียดของภูมิประเทศบนแผนที่อาจเปลี่ยนแปลง การกาหนดปัญหา การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปญั หาสุขภาพชมุ ชน (Diagnosis) การศึกษาสาเหตุของปัญหาอนามัยชุมชน การวเิ คราะห์ปัญหาเพ่ือหาสาเหตขุ องการเกิดโรคและปจั จัยทสี่ ่งเสริมให้มกี ารเกดิ และการแพรก่ ระจายของ โรคเพ่ิมข้ึนในชุมชน เป็นหวั ใจสาคัญเบอื้ งตน้ ท่ีจะนาไปสคู่ วามสาเรจ็ และทาให้การดาเนนิ งานควบคมุ ป้องกนั โรค บรรลุเป้าหมายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ~ 19 ~

2. การวินจิ ฉยั ปัญหาสขุ ภาพ (Community Diagnosis) การวนิ ิจฉยั ปัญหาสขุ ภาพ คือการกาหนดขอ้ ความทบี่ อกถงึ ภาวะสุขภาพ สาเหตุ หรอื ปัจจยั ทีม่ ีอิทธิพลต่อ ภาวะสขุ ภาพและความต้องการทางดา้ นสุขภาพจากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ ในการวนิ จิ ฉัยปัญหาสขุ ภาพนัน้ จะต้องคิด และไตร่ตรองให้รอบคอบ มีข้อมลู สนบั สนุน มีเหตุมีผลตามแนวคิด ทฤษฏีและหลกั วิชาท่ีเก่ียวข้องกบั สขุ ภาพและ ปัญหานั้น ๆ รวมทั้งการนาข้อมลู ท่รี วบรวมได้มาเปรียบเทียบกบั เกณฑ์หรือหรือมาตรฐานว่าเปน็ ไปตามเกณฑ์หรอื เป้าหมายทกี่ าหนดไว้หรือไม่ถ้าไม่ถึงถือว่าเป็นปญั หาสขุ ภาพของชุมชน ความหมายของปญั หาสุขภาพชมุ ชน ปญั หาสุขภาพของชมุ ชน คือภาวะสุขภาพของชุมชนทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบันไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐานหรือ เป้าหมายที่เปน็ ทยี่ อมรับกนั หรอื คอื สภาพการณท์ เ่ี กดิ ข้ึนอันเปน็ ผลให้ภาวะสขุ ภาพของชุมชนมีการเบย่ี งเบนไปจาก ปกติ หรอื มีการเปลย่ี นแปลง หรอื มแี นวโน้มใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงไมเ่ ปน็ ไปตามปกติ ปญั หาสุขภาพของชมุ ชน ตามแนวคิดของ Denison แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือกระทบโดยตรงต่อสุขภาพ ของ บุคคล ครอบครัว และชุมชน เช่น การเจ็บปว่ ย การพิการ การตาย 1. Inherent Problem เปน็ ปญั หาท่ีสามารถมองเหน็ ได้ชัดเจน ซง่ึ ปญั หานั้นมผี ลกระทบโดยตรงต่อภาวะสขุ ภาพ ของ บคุ คล ครอบครัว และชุมชน เชน่ การเจบ็ ป่วย การพิการ การตาย 2. Instrument Problem เป็นปัจจยั ทีม่ อี ิทธิพลให้เกิดปญั หาสขุ ภาพ เช่น สุขาภิบาล สงิ่ แวดลอ้ มไมด่ ี มลพิษ ตา่ งๆ การไมไ่ ด้รบั วัคซนี สรา้ งเสริมภมู ิค้มุ กันโรค ลักษณะของปัญหา แบ่งได้เปน็ 3 ระดบั คือ 1. ปญั หาท่ีคุกคามตอ่ ชีวิตและความเปน็ อยู่ ซงึ่ เกดิ ข้นึ อย่างต่อเนอ่ื ง จาเปน็ ต้องหาทางป้องกันและแก้ไขโดยด่วน เช่น โรคตดิ ต่อต่างๆ 2. ปญั หาที่ตอ้ งรบี แก้ไข หากทง้ิ ไว้ไมด่ าเนินการใดๆ อาจรุนแรงเพิ่มขนึ้ ได้ เชน่ ปญั หาสขุ ภาพสขุ ภาพในช่องปาก ในวัยเดก็ เรียน 3. ปญั หาท่ตี อ้ งการแก้ไขแต่สามารถรอได้ เชน่ ปัญหาสุขาภบิ าลส่งิ แวดล้อมในชมุ ชนปญั หาค่านิยมหรือพฤตกิ รรม สขุ ภาพไม่เหมาะสม แตถ่ า้ มคี วามพรอ้ มกต็ ้องดาเนนิ การแก้ไข เพ่ือพฒั นาสุขภาพของชุมชน หลกั การเขยี นปัญหา 1. ใชผ้ ปู้ ระสบปญั หาหรือผทู้ ่ีมีแนวโน้มจะได้ผลกระทบจากปัญหาเป็นหลกั ไม่ควรใชส้ าเหตุของปัญหาเปน็ หลกั เช่น a. ชมุ ชนมีนา้ ทว่ มขังทาใหป้ ระชาชนเปน็ โรคเทา้ เปอ่ื ย i. ควรเขียน ประชาชนเป็นโรคเท้าเป่อื ย เน่ืองจากชุมชนมนี ้าท่วมขงั b. มารดาไมม่ คี วามรู้ในการเลี้ยงดูบตุ ร ส่งผลใหเ้ ด็กวยั ทารกขาดสารอาหาร i. ควรเขียน เด็กวัยทารกขาดสารอาหาร เน่ืองจากมารดาไม่มีความรูใ้ นการเล้ียงดูบุตร 2. เขยี นปญั หาให้ชัดเจน ครอบคลุม มีขอ้ มลู สนบั สนุน เช่น a. หญงิ วัยเจริญพันธทุ์ ี่สมรสแล้วไม่คุมกาเนดิ ร้อยละ 30 i. ให้เขียนว่า หญงิ วัยเจรญิ พันธุ์ทส่ี มรสแลว้ และอยู่กนิ กับสามีไมค่ ุมกาเนดิ ร้อยละ 30 หรือ b. คสู่ มรสทีภ่ รรยาอายุ 15- 45 ปี ไม่คมุ กาเนิด ร้อยละ 30 c. เดก็ อายุ 1-5 ปี ไดร้ ับการเล้ียงดไู ม่ถูกต้อง รอ้ ยละ 95 ~ 20 ~

i. ใหเ้ ขยี นวา่ เด็กอายุ 1-5 ปี ได้รบั การเลยี้ งดไู มถ่ ูกต้องโดยไม่ได้รับวคั ซนี ครบตามเกณฑ์ รอ้ ยละ 35 มีปัญหาสขุ ภาพในชอ่ งปากร้อยละ 60 3. ควรหลีกเล่ยี งการใช้ข้อความซา้ ซ้อนกนั เช่น เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี มปี ัญหาขาดสารอาหาร ควรเขยี นเป็น เดก็ กวา่ อายุต่ากวา่ 5 ปี ขาดสารอาหาร การทที่ ราบว่าภาวะสุขภาพของชุมชนเป็นอยา่ งไร มีปญั หาสขุ ภาพอะไรบา้ ง นิยมใชเ้ คร่ืองชีว้ ัด หรอื ดัชนี (Indicator) ซงึ่ ตัวแปรหรอื กลุ่มของตวั แปรตา่ งๆ ท่ีวดั สภาวะอยา่ งใด อยา่ งหนง่ึ ออกมาเป็นปรมิ าณและเปรยี บเทียบ กับเกณฑห์ รอื มาตรฐานอย่างใดอย่างหน่ึง เชน่ เปา้ หมายด้านสุขภาพตามแผนพัฒนาการสาธารณสุขและเป้าหมาย คุณภาพชวี ิตของประชาชน เพ่อื ให้ทราบถงึ ระดับขนาดความรนุ แรงของปญั หาหรือภาวะสขุ ภาพทีต่ ้องการวัด การจัดลาดับความสาคญั ของปัญหาสุขภาพ (Priority setting of the Health Problems) จากการประเมินภาวะสขุ ภาพของชุมชน โดยทวั่ ไปแล้วจะพบวา่ มปี ัญหาสุขภาพหลากหลายซึง่ บางปญั หา อาจรนุ แรงหรือคุกคามต่อชีวิตนาความเดือดร้อนแกป่ ระชาชนต้องรีบแก้ไขโดยด่วน ปญั หาก็ต้องรบี แก้ไขเพราะถา้ ทิ้ง ไวอ้ าจรุนแรงเพ่มิ ขนึ้ แตเ่ น่ืองจากมขี ้อจากัดทางทรพั ยากร อันได้แก่ บคุ ลากร วสั ดุ อุปกรณ์ งบประมาณ รวมท้งั ท้ัง ระยะเวลา จึงไมส่ ามารถแกไ้ ขปัญหาทุกอย่างในเวลาเดียวกนั หรอื พร้อมๆกนั ได้ จงึ มีจาเปน็ ทต่ี ้องเลือกแกไ้ ขบาง ปัญหาก่อน และปญั หาอ่นื จะแก้ไขในลาดับต่อๆไปตามความสาคัญก่อนหลงั เป็นการจัดลาดับความสาคัญของ ปัญหา การจดั ลาดับความสาคัญของปัญหามีหลายวธิ ี ซงึ่ การท่ีนาแต่ละวิธีไปใชอ้ าจตอ้ งตัดแปลง หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ ให้เหมาะสมกบั สภาพการณ์ของแต่ละพ้นื ท่ี โดยยึดนโยบายการดาเนนิ งานสาธารณสุขของรัฐเป็นหลกั และในการ จดั ลาดบั ความสาคัญของปญั หานี้จะตอ้ งใช้หลักเกณฑ์ (Criterion based) และมกี ารพจิ ารณาร่วมกนั ระหว่าง บคุ ลากรทีมสุขภาพ ผทู้ รงคุณวุฒิหรือเจ้าหนา้ ท่ีระดบั บริหารที่เกยี่ วข้องกับชมุ ชน ผ้นู าหรอื ตวั แทนของชมุ ชน โดย แสดงความคิดเหน็ และใช้เหตุผลของกลมุ่ ท้ังนี้กลุ่มควรจะต้องมีพื้นฐานความรู้ ประสบการณ์ในเร่ืองชุมชน สามารถ มองเห็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาตลอดจนมีความรคู้ วามเขา้ ใจถงึ หลักเกณฑ์และวิธีที่ใชใ้ นการพจิ ารณาจดั ลาดับ ความสาคัญของปัญหา ข้ันตอนในการจดั ลาดบั ความสาคัญของปัญหา 1. กาหนดปัญหาใหช้ ัดเจน 2. กาหนดหลักเกณฑ์ (Criteria) ทจี่ ะใชว้ า่ พิจารณาปญั หาต่างๆ ในดา้ นใดบา้ งซ่ึงการจะใชห้ ลกั เกณฑ์ใดควร เปน็ ความเหน็ ชอบรว่ มกนั ของคณะกรรมการ 3. การใหน้ า้ หนกั คะแนนของหลักเกณฑห์ รอื องค์ประกอบ (Criteria weights) ปกตแิ ล้วคะแนนของ หลกั เกณฑ์ จะกาหนดตามน้าหนักความสาคัญของหลักเกณฑแ์ ตล่ ะขอ้ ซึง่ จะกาหนดคะแนนเป็นเท่าไรขนึ้ อยู่กับ คณะกรรมการ บางวิธีจะไมม่ ีการใหน้ า้ หนกั คะแนนของหลักเกณฑ์และบางวิธีก็ให้น้าหนักคะแนนเทา่ กนั เพราะถือว่า หลักเกณฑ์ทุกตัวมคี วามสาคัญเท่ากนั 4. ประเมินปญั หาตา่ งๆ ดว้ ยการให้คะแนนแต่ละปัญหา โดยการพิจารณาตามหลักเกณฑ์ 5. รวมคะแนนของปัญหาตา่ งๆ ทปี่ ระเมนิ ไดใ้ นขอ้ 4 ด้วยวิธีการบวกหรือคูณตามความเหมาะสม แต่นยิ ม วิธีการคูณ เนอื่ ง จากช่วงหา่ งของคะแนนแต่ละขอ้ มคี วามชัดเจนมากกวา่ (สาหรับกรณีที่มีการใช้น้าหนกั คะแนนของ ~ 21 ~

หลักเกณฑใ์ นข้อ 3. ตอ้ งคดิ คะแนนแต่ละปญั หา โดยนาคะแนนทไี่ ด้มาคูณกบั คา่ ของนา้ หนักคะแนนของหลักเกณฑ์ แล้วจึงรวมคะแนนของปัญหา ) 6. พจิ ารณาจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา โดยจากจานวนคะแนนท่ีได้ในแต่ละปัญหาปัญหาท่ีได้คะแนน มากท่สี ดุ เป็นปัญหาทมี่ ีความสาคญั อนั ดบั แรก ปญั หาอ่นื ๆมีความสาคัญรองลงตามลาดับ ถา้ ปัญหาท่ีไดค้ ะแนนรวมมากที่สุดมมี ากกว่า 1 ปญั หา ให้พิจารณาวา่ ปัญหาเหลา่ นน้ั สามารถแก้ไขไปพร้อม กนั ได้ถา้ มีความพร้อมดา้ นทรัพยากรและเวลา แตถ่ ้าไมส่ ารถแก้ไขในเวลาเดยี วกนั ก็ให้พิจารณาในรายละเอยี ดอีกครง้ั หนึง่ ว่า ปญั หาใดมคี วามสาคัญ มีความจาเป็นละเร่งดว่ นมากกว่าจึงเปน็ ปัญหาทต่ี ้องแกไ้ ขก่อน วิธกี ารจัดแสดงความสาคัญของปญั หาทางสขุ ภาพมหี ลายวิธี ซ่งึ วธิ ที ่นี ิยมใชก้ ันปัจจบุ นั มีดงั นี้ 1. วธิ ขี องจอหน์ เจ แฮนลอน ( John J. Hanlon) คือ Basic Priority (B. P. R.) = (A + B) C  D 3 องค์ประกอบท่ีใช้ในการพิจารณาจัดลาดับความสาคญั ของปัญหามี 4 ด้าน 1) องคป์ ระกอบ A คอื ขนาดของปัญหา (Size of problem) พิจารณาจากจานวนประชากรที่มีปัญหาหรือได้รับ ผลกระทบจากปัญหา โดยให้คะแนนจาก 0 – 10 ดงั นี้ รอ้ ยละของอบุ ัติการณห์ รอื ความชกุ ของโรค คะแนน 80 - 100 10 61 - 80 8 41 – 60 6 21 – 40 4 1 – 20 2 ต่ากว่า 1 0 แตถ่ า้ เป็นชุมชนทม่ี ีประชากรมาก อาจคดิ จานวนประชากรท่เี ผชญิ ปัญหา คอื จานวนประชากรท่ีมปี ัญหา (คน) คะแนน 1,000,000 ขน้ึ ไป 10 100,000 – 999,999 8 10,000 - 9,999 6 1,000 - 999 2 ต่ากวา่ 100 0 ทง้ั นี้การกาหนดจานวนประชากรและการให้คะแนน อาจดดั แปลงไดต้ ามความเหมาะสม 2 ) องค์ประกอบ B คือความรนุ แรงของปัญหา (severity of Problem) พจิ ารณาลกั ษณะของปัญหาใน 4 ด้าน - ความเร่งด่วน (Urgency) พิจารณาวา่ ลกั ษณะปญั หาแต่ละปญั หาจะตอ้ งรบี แก้ไขมากน้อยเพียงใด ถ้ารอไว้ กอ่ นจะไดห้ รือไม่ - ความรา้ ยแรง (Seriousness) พิจารณาวา่ ปญั หานน้ั มผี ลใหเ้ กดิ การตาย (Mortality) การเจบ็ ป่วย (Mortality) ความพกิ าร (Disability) โดยดูในดา้ นด้านความมากน้อยในระยะเวลา - ความสูญเสียทางเศรษฐกจิ (Economic Loss) โดยพิจารณาว่าปญั หาน้ันส่งผลให้บุคคลและชุมชนสญู เสยี ทางเศรษฐกิจมากนอ้ ยเพียงใด ~ 22 ~

- ความเกยี่ วพนั ถึงประชากร (Involvement of people) พจิ ารณาวา่ ปัญหานั้นจะสง่ ผลถึงประชากรอ่นื ๆ หรือไม่ มากน้อยเพยี งใด การให้คะแนน โดยแตล่ ะด้านให้คะแนน 0 – 10 หรอื 0 – 20 เมอ่ื รวม 4 ปจั จยั แลว้ ให้หารด้วย 4 จะได้ คะแนนท่ตี ้องการ 3 ) องคป์ ระกอบ C คือการคาดคะแนนถงึ ประสิทธผิ ลของประสิทธผิ ลของโครงการที่จะใชใ้ นการแก้ปัญหา (Effectiveness of the solution) โดยหลกั ในการพิจารณา คอื - โครงการหรอื กจิ กรรมที่คลา้ ยคลงึ กัน ท่ีกาลังปฏบิ ตั ิอยู่ในขณะนี้ ณ สถานทีใ่ ดท่หี นึง่ - โครงการหรือกิจกรรมทคี่ ล้ายคลึงกนั ที่ไดท้ าเสรจ็ สมบรู ณ์แล้ว การให้คะแนน มี 0 – 10 คะแนน 4 ) องคป์ ระกอบ D ปัจจัยท่ีชว่ ยตดั สนิ ใจวา่ การจัดโครงการดาเนินไดห้ รือไม่ พิจารณาจากปจั จัย 5 ประการคอื D.1 ความเหมาะสมของโครงการ (Propriety) = P D.2 คา่ ใชจ้ า่ ยในโครงการ (Economics) =E D.3 การยอมรบั โครงการ (Acceptability) =A D.4 ทรัพยากรในโครงสร้าง (Resource) =R D.5 ความเปน็ ไปไดท้ างกฎหมาย (Legality) = L แต่ปจั จัยมคี ะแนน 0 – 1 ซึ่งถา้ ปัจจัยหนึ่งมคี ่าเทา่ กนั 0 ค่า D ก็จะเท่ากบั 0 จะเปน็ ผลให้ B.P.R. เท่ากับ 0 ด้วย กห็ มายถึงว่าการจดั โครงการดว้ ยการมีวิธีการท่ีกาหนดไว้ไมส่ ามารถปฏิบตั ไิ ดห้ รือแก้ไขได้ยาก แต่อย่างไรก็ ตามถ้าปญั หาใดมีคา่ B.P.R. สงู สดุ ซึง่ มคี วามสาคญั ต้องแก้ไขอนั ดับแรกอาจแก้ไขไดเ้ ลย หรือเมอื่ นาค่า D มา พจิ ารณาแลว้ ไดค้ ่า D เป็น 0 อาจตอ้ งปรับปรงุ หรอื เปล่ยี นแปลงรายละเอียดของโครงการ ทีจ่ ะใชใ้ นการแก้ไขปญั หา หรอื จัดทาโครงการข้ึนมาใหม่ตามความเหมาะสม 2. วธิ ีการพิจารณาองคป์ ระกอบ 4 ประการ ตามหลกั ของ (Clark) และโอธมั วาล (Othumval) ส่วนการให้คะแนน องคป์ ระกอบตา่ งๆ ไดม้ ีการกาหนดขนึ้ โดยแตล่ ะองค์ประกอบมีคะแนนจาก 0 - 4 1) ขนาดของปัญหา (Size of problem) คอื จานวนประชากรที่ประสบปญั หาหรือการไดร้ ับผลกระทบ จากปญั หา โดยพิจารณาใหค้ ะแนนตามเกณฑด์ ังน้ี ขนาดของปัญหา คะแนน ไมม่ เี ลย 0 1 ถึง 25 เปอร์เซน็ ต์ 1 26 ถึง 50 เปอร์เซน็ ต์ 2 51 ถึง 75 เปอร์เซน็ ต์ 3 76 ถึง 100 เปอรเ์ ซ็นต์ 4 2) ความรนุ แรงของปัญหา (Size of problem) คือการพจิ ารณาลกั ษณะของปัญหาหรอื โรคทเ่ี กิดข้นึ น้ัน สง่ ผลต่อภาวะสุขภาพมากน้อยเพียงใดในด้านการเจบ็ ปว่ ย การพิการ การตาย การแพรร่ ะบาดของโรค ตลอดทั้งการ สูญเสียทางเศรษฐกจิ ของบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน และประเทศการให้คะแนนมีดังนี้ ~ 23 ~

ความรนุ แรงของปัญหา คะแนน ไมม่ เี ลย 0 1 ถงึ 25 เปอร์เซน็ ตท์ ่ีพิการหรือตาย 1 26 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ท่ีพกิ ารหรือตาย 2 51 ถึง 75 เปอร์เซน็ ต์ที่พกิ ารหรอื ตาย 3 76 ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ที่พิการหรือตาย 4 3) ความงา่ ยหรือความเป็นไปได้ในการจดั โครงการแก้ปญั หา (Ease of management หรือ Feasibilty of management) โดยพจิ ารณาการดาเนนิ การแก้ไขปัญหาในหลายด้าน คอื - ดา้ นวิชาการ มคี วามร้คู วามกา้ วหนา้ และเทคโนโลยี เพอ่ื แกไ้ ขปัญหามากนอ้ ยเพียงใด ถ้าชมุ ชนน้นั มไี ม่ เพยี งพอให้พจิ ารณาถึงหน่วยงานอื่นๆ ท่ีสามารถใหค้ วามช่วยเหลือได้ - ด้านบริหารจดั การ มที ัพยากร เช่น บุคคลกร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ในการแก้ไขปัญหาเพียงพอหรือไม่ และจะมีการจัดการกบั ปัญหาได้อยา่ งไร - ดา้ นระยะเวลา มเี วลาเพียงพอทจี่ ะแก้ไขปัญหาหรือไม่ - ด้านกฎหมายและนโยบาย การจดั โครงการแก้ไขปัญหาที่จะจัดข้ึนน้นั ขัดกบั กฎหมายหรอื นโยบายหรือไม่ - ด้านศีลธรรม การแก้ไขปัญหาขัดกบั ศีลธรรม จรรยาหรอื ไม่ เช่น การเจ็บปว่ ยดว้ ยโรคท่ีไมส่ ามารถรกั ษาได้ จะแก้ไขการทาให้ตายได้หรือไม่ การใหค้ ะแนน การแก้ปญั หา คะแนน ไม่มีทางทาไดเ้ ลย 0 ยากมาก 1 ยาก 2 งา่ ย 3 งา่ ยมาก 4 4) ความสนใจหรือความวติ กกังวลของชุมชนต่อปัญหา (Community concern) ความหมายว่าประชาชน ในชุมชนเห็นวา่ ปญั หาทเี่ กิดข้ึนในชมุ ชนมคี วามสาคญั มคี วามวิตกกงั วล ต้องการการแก้ไขปญั หาหรอื ไม่ การประชุม กับประชาชนและผู้นาชมุ ชนโดยตรง หรือพิจารณาจากการเขา้ รว่ มกิจกรรมสขุ ภาพต่างๆ ในชุมชนของประชาชน เชน่ กองทุนยา การประชมุ สัมมนาดา้ นสุขภาพ การเปน็ สมาชกิ กลุ่มสุขภาพ การให้ความร่วมมอื กิจกรรมเพอื่ สุขภาพ การใหค้ ะแนนคือ จานวนประชากรท่ีวติ กกงั วลและต้องการแก้ไขปัญหา คะแนน ไม่มีเลย 0 1 ถงึ 25 เปอร์เซ็นต์ 1 26 ถึง 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ 2 51 ถึง 75 เปอรเ์ ซน็ ต์ 3 76 ถงึ 100 เปอร์เซ็นต์ 4 ~ 24 ~

หรือจะพิจารณาจากความร่วมมือของชมุ ชน การให้คะแนนคือ ความร่วมมอื ของชมุ ชน คะแนน ไมร่ ่วมมือเลย 0 รว่ มมอื นอ้ ย 1 รว่ มมอื ปานกลาง 2 รว่ มมือมาก 3 รว่ มมือมากทส่ี ุด 4 ตวั อย่าง จากการสารวจชมุ ชนแห่งหนง่ึ พบว่า 1. ผ้สู งู อายุมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม โดย สูบบหุ ร่ีร้อยละ 62.5 (50 ราย) ดม่ื สุราเปน็ ประจาร้อยละ 12.5 (10 ราย) รับประทานยาแกป้ วดเปน็ ประจารอ้ ยละ 6.25 (5 ราย) จากจานวนผู้สูงอายทุ ้ังหมด 80 คน การคดิ คะแนนขนาดของปัญหา จะเอาจานวนผู้มีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมมารวมกัน เปน็ รอ้ ยละ 81.25 เลยไม่ได้ เนื่องจากบางรายอาจมีพฤติกรรมสขุ ภาพไมเ่ หมาะสมเพียงอย่างเดยี ว บางรายอาจมีตั้งแต่ 2-4 อย่าง เพราะฉะน้ันในทางปฏิบตั ติ อ้ งหาวา่ มีจานวนผสู้ ูงอายุท่มี พี ฤติกรรมไม่เหมาะสมตั้งแต่ 1 พฤติกรรมขึ้นไปเป็น จานวนเทา่ ไหร่ สมมติการหาดว้ ยวธิ ดี ังกลา่ ว พบวา่ ผสู้ ูงอายุมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมมจี านวน 60 คน ฉะนน้ั ปญั หาคือ ผูส้ งู อายุมีพฤตกิ รรมไม่เหมาะสมร้อยละ 75 (60 คน) จากจานวนผู้สูงอายทุ ้ังส้ิน 80 คน ให้คะแนนขนาดของปญั หา =3 หรอื ท่ีจานวนประชากรมีมาก และผ้รู วบรวมขอ้ มลู ไมเ่ พียงพอหรือไม่สะดวกต่อการทจี่ ะหาจานวน ประชากรทีม่ ีปัญหาได้ การให้คะแนนขนาดของปญั หาอาจทาคร่าวๆ โดยคดิ คะแนนจากข้อมลู ท่ีมเี ปอรเ์ ซน็ ต์สูงสุด ซ่งึ ปญั หานคี้ ือผสู้ งู อายุบรุ ี่ร้อยละ 62.5 คะแนนขนาดของปัญหา = 3 2. เด็กวัยกอ่ นเรียนขาดสารอาหารรอ้ ยละ 20 (16 คน) โดย ขาดอาหารระดับ 1 ร้อยละ 15 (16 คน) ขาดอาหารระดบั 2 ร้อยละ 5 (12 คน) จากจานวนเด็กวัยก่อนเรยี นทั้งส้ิน 80 คน คะแนนขนาดของปัญหา = 1 องค์ประกอบของปญั หาขนาด ขนาดของ ความรนุ แรง การแก้ไข ความรว่ มมือของ รวมคะแนน ปญั หา ของปัญหา ปญั หา ชุมชน - ผสู้ ูงอายุมพี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสม 3 3 2 1 18 - เด็กก่อนวัยเรียนขาดอาหาร 14 3 2 24 การคิดคานวณรวมทาได้ 2 วธิ ี คอื วิธบี วก นาคะแนนแต่ละองค์ประกอบมาบวกกนั วิธีน้ีจะมองเหน็ ความแตกต่างของคะแนนแต่ละปัญหาได้ นอ้ ย เนอื่ งจากมีความกว้าง (Range) ของปญั หาแคบ ~ 25 ~

วิธคี ูณ นาคะแนนแตล่ ะองค์ประกอบมาคณู กนั ซึ่งจะทาให้เหน็ ความกว้างของปัญหาได้ชัดเจนขนึ้ แต่ในกรณี ทีร่ วมเปน็ 0 กห็ มายความวา่ ปัญหาน้ันไม่อาจแก้ไขได้ในเวลาอนั รวดเร็วหรือแก้ไขไดย้ าก ดังน้ันการให้คะแนน องคป์ ระกอบใดเปน็ 0 ตอ้ งคิดให้รอบคอบ เพราะในความเป็นจริงแลว้ จะต้องพจิ ารณาอีกวา่ ปญั หานนั้ ถา้ ปลอ่ ยท้งิ ไว้ หรือแก้ไขชา้ มากจะเกิดผลเสียต่อสุขภาพของชุมชนหรือไม่ เน่อื งจากคะแนนรวมเปน็ 0 กเ็ ทา่ กับความสาคัญน้อย ที่สดุ 3. วธิ ี Nominal Group Process โดยใหก้ ลุ่มหรือคณะกรรมการรว่ มกันพิจารณาท้ังน้ีข้ันตอนทใ่ี ช้ในการพิจารณา อาจแตกต่างไป แลว้ แตค่ วามสะดวกและความเหมาะสม ซ่ึงขั้นตอนหนงึ่ ทีน่ ิยมใช้กนั 1) จดั ตั้งคณะกรรมการพจิ ารณาปัญหา ให้คานึงถงึ ผทู้ ี่มสี ่วนเกีย่ วข้องกบั ปัญหาสุขภาพของชมุ ชน รวมท้งั ผเู้ ชย่ี วชาญหรือผมู้ ปี ระสบการณเ์ ก่ียวกับปัญหาของชมุ ชน เชน่ บคุ ลากรทีมสุขภาพ กรรมการชมุ ชน และเจา้ หน้าที่ หนว่ ยงานอื่นท่ีปฏบิ ตั ิงานในชุมชน ได้แก่ นายอาเภอ ครู ในจานวนพอสมควรประมาณ 6- 10 คน 2) ประชมุ คณะกรรมเพอ่ื ชแ้ี จงลายละเอียดของการพิจารณาปญั หา ได้แก่ ข้อมูลของชุมชน หลักเกณฑ์ที่ใช้ ข้นั ตอนในการปฏบิ ัตริ วมทง้ั ประโยชนท์ ีเ่ จะกิดข้นึ 3) แจกกระดาษใหก้ รรมการเขยี นปญั หาสขุ ภาพทพ่ี บในชมุ ชนตามลาดับความสาคัญ 5 – 10 ปัญหาโดยมิ ให้คาปรึกษา 4) เขียนปญั หาที่กรรมการแต่ละคนเสนอบนกระดาน หรอื กระดาษแผน่ ใหญ่ (Chart) ปญั หาที่ซบั ซ้อนก็ เขยี นเพยี งช่ือเดียว และเขียนให้มองเห็นชัดเจน 5) อภปิ ราย ซกั ถาม แกไ้ ข และสรุปปัญหาท่ีสาคัญอีกคร้งั หนึ่ง 6) ใหค้ ะแนนแต่ละปัญหาตามหลักเกณฑท์ ี่กาหนดไวใ้ นบัตรลงคะแนน เชน่ ปญั หาท่สี าคัญทสี่ ดุ ให้ 5 คะแนน รองลง 4, 3, 2, 1 7) รวมคะแนนแต่ละปัญหา 8) ปญั หาที่ได้คะแนนมากสดุ จะมีความสาคัญเปน็ อันดับหน่ึง 4. วธิ ีการของ Stanhope และ Lancaster (1996:260-263) มอี งค์ประกอบที่ใชใ้ นการพจิ ารณา คือ 1) ความตะหนักถึงปญั หาชุมชน คือประชาชนมีการให้บริการสขุ ภาพ มีผูด้ ูแลสุขภาพในชุมชน ตลอดท้ัง การเหน็ ความสาคัญของปัญหาในชมุ ชน 2) การดาเนนิ การแก้ไขปัญหาของชุมชน คือประชาชนมคี วามสามารถในการแก้ไขปัญหาหรอื ไม่ มีอุป สรรค์อะไรบ้าง มากน้อยเพียงใด 3) ความสามารถของพยาบาลในการแกไ้ ขปญั หา โดยพิจารณาจากความรู้ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และการได้รับการสนบั สนนุ ต่างๆ 4) ความพร้อมของทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา ไดแ้ ก่ วิชาการ เทคโนโลยี บุคลากร วสั ดุ อปุ กรณต์ า่ งๆ 5) ความรนุ แรงที่เกิดข้ึนถ้าปัญหานไี้ ม่ได้รบั การแก้ไข โดยพิจารณาวา่ จะเกดิ อันตรายต่อสุขภาพมากน้อย เพียงใด อาการของโรครา้ ยแรงขน้ หรือไม่ และจะทาให้เกดิ โรคอนื่ ใดบ้าง 6) ประสทิ ธผิ ลของแก้ไขปัญหาโดยเร็ว คอื ถ้าแกไ้ ขปญั หาโดยรวดเรว็ จะมผี ลเป็นอยา่ งไร หรือเกิด ประโยชน์อะไรบ้าง การให้คะแนน - ให้นา้ หนกั คะแนนของหลักเกณฑ์ (Criteria weights) เป็น 0-10 คะแนน - ให้คะแนนแตล่ ะปัญหา (Problem rating) เป็น 0-10 คะแนน ~ 26 ~

- รวมคะแนน โดยคะแนนทั้ง 2 อย่างมาคูณกนั การศึกษาสาเหตขุ องปญั หา การเกิดโรคหรือปญั หาสุขภาพในชมุ ชนมสี าเหตุจากหลายปัจจัย ซ่งึ แนวคดิ ทางระบาดวิทยาเชือ่ ว่า ปจั จยั ด้านเชือ้ โรค แบบแผนชีวิต สง่ิ แวดล้อม และระบบการดแู ลสุขภาพ ล้วนแตม่ ีผลต่อภาวะสุขภาพของบคุ คล ดังน้ันจึง เกิดเป็นโมเดลทีใ่ ช้วเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปญั หาทางสุขภาพได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เรียกว่า แบบโยงใยสาเหตขุ องปญั หา (Web of causation) หรือเรียกอีกอยา่ งหนึ่งวา่ Dever’s epidemiology ซ่ึงจะช่วยในการวางแผนให้การพยาบาล ได้ แบบโยงใยสาเหตุของปัญหาเป็นโมเดลท่ีใชว้ เิ คราะหแ์ ละแก้ไขปัญหาทางสุขภาพได้ เพราะเปน็ การแกไ้ ขปญั หา โดยการศกึ ษาถึงสาเหตุของปัญหามาก่อนอย่างลกึ ซึง้ จะทาใหพ้ ยาบาลทราบปจั จัยตา่ งๆ ท่เี ป็นสาเหตุท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ปญั หาสุขภาพในชุมชน นาไปสูก่ ารวางแผน กาหนดเปา้ หมาย และกจิ กรรมการพยาบาลทีส่ อดคล้องกบั สภาพปญั หา จรงิ ขัน้ ตอนการศกึ ษาสาเหตุของปัญหา 1. วเิ คราะหส์ าเหตุท่ีกอ่ ใหเ้ กิดปัญหาตามทฤษฎี โดยพจิ ารณาถงึ ความสัมพันธข์ องปัจจัยต่างๆกับปญั หา 2. ศกึ ษาปัจจยั ในชุมชนทกี่ ่อให้เกดิ ปัญหา อาจจะวิเคราะหไ์ ด้จากข้อมลู ต่างๆทีร่ วบรวมมาได้ หรืออาจจะ เก็บข้อมูลเพิ่มเติมด้วยแบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณเ์ ชิงลกึ 3. ระบสุ าเหตุทีแ่ ท้จรงิ ของปญั หา เป็นการนาผลการศึกษาปจั จัยตา่ งๆ ข้างตน้ มาเขียนโยงใย ความสมั พนั ธ์กับปญั หาทแ่ี ท้จริงของชุมชน ~ 27 ~

3. การวางแผนแก้ปญั หาสขุ ภาพชมุ ชน (Planning) การวางแผนแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชนโดยจัดทาแผนงานโครงการเพอ่ื การแกไ้ ขปญั หาน้ันๆ การ จดั ทาแผนงานเปน็ การวางแนวทางในการแก้ไขปญั หาไวล้ ่วงหนา้ การวางแผนเปน็ กระบวนการตดั สินใจเก่ยี วกับการ กาหนดความต้องการ วิธีการปฏิบตั แิ ละผลของการกระทาในอนาคต โดยใช้หลกั วิชาการ เหตผุ ลของข้อมลู และ ปญั หามาประกอบการพจิ ารณาทาให้ทราบได้ว่า ใครจะทาอะไร ที่ไหน เมอื่ ใดและอย่างไรเพื่อให้การแก้ไขปัญหา เปน็ ไปในแนวทางทก่ี าหนด บุคคลากรสาธารณสขุ มสี ่วนรว่ มปรกึ ษากับตัวแทนหรือผนู้ าชมุ ชนในการวางแผนแก้ไข ปัญหา โดยใช้ทรัพยากรทอี่ ยู่ในชมุ ชนใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ และใหป้ ระชนชนไดม้ ีบทบาทในการแกไ้ ขปญั หาของ ชมุ ชนของตนเอง ความหมายของการวางแผน การวางแผน คอื การกาหนดจุดหมายและตัดสนิ ใจเลอื กวธิ ีการที่ดีทสี่ ุดให้บรรลจุ ุดหมาย (วโิ รจน์ สารรัตนะ, 2546) การวางแผน คอื กระบวนการขั้นหนึ่งในการบรหิ ารงานใหส้ าเรจ็ ลุล่วงตามวตั ถปุ ระสงค์และนโยบายที่ กาหนดไว้ เปน็ เรอ่ื งที่เก่ียวกับการใชค้ วามรู้ทางวิทยาการและวิจารณญาณวินจิ ฉัยเหตุการณใ์ นอนาคต และยัง กาหนดวิธีการโดยถกู ต้องและมีเหตุผลเพือ่ การดาเนินการตามแผนเป็นไปโดยเรียนร้อย สมบรู ณ์ และมปี ระสิทธภิ าพ มากท่สี ดุ (ศิราณี อินทรทองไผ่, 2551: 240) การวางแผน คอื การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ และวธิ กี ารทีจ่ ะทาให้วัตถปุ ระสงคส์ มั ฤทธิผ์ ลไว้ลว่ งหน้า (Robbins, 2005) สรุป การวางแผน คอื การท่บี ุคคลหรอื กลมุ่ บุคคลเขา้ ร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการออกแบบกจิ กรรม หรอื โครงการโดยให้ตอบวัตถุประสงคแ์ ละสอดโครงกับความตอ้ งการหรอื ปัญหาของชมุ ชน แผน (Plan) หรือ แผนงาน หรือ แผนงานหลัก (Master Plan) เปน็ ส่ิงทเี่ กดิ ข้ึนจากการวางแผนอย่างเป็น ระบบ เปน็ เอกสารแสดงสง่ิ ท่ีจะดาเนินการในอนาคต ท่ีระบวุ ่า จะใหใ้ ครทาอะไร ที่ไหน อย่างไร เม่อื ไหร่ มีขั้นตอน การดาเนนิ งานอยา่ งไร อะไรบ้าง มีการประสานงานอยา่ งไร และใช้ทรัพยากรอะไรบา้ ง เทา่ ไหร่ เพ่ือนาไปสู่การ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายที่ต้องการ ซงึ่ ในแผนหน่งึ อาจมแี ผนงานย่อย (Sub plan) โครงการ (Project) และ โครงการยอ่ ย (Sub project) หลายโครงการ แผน (Plan) คอื กลมุ่ โครงการตั้งแต่ 2 โครงการข้ึนไป ที่จัดทาขึ้นในลักษณะท่ปี ระสานสมั พนั ธก์ ันเพ่ือ ตอบสนองวตั ถุประสงค์และเปา้ หมายทีก่ าหนด โครงการ (Project) คือ กล่มุ กิจกรรมอย่างใดอยา่ งหน่ึง หรือหลายอย่างทม่ี ีความสัมพันธ์กนั กาหนดเพอื่ ตอบสนองวตั ถุประสงค์ภายในกาหนดเวลาและทรัพยากรที่กาหนดไว้ แผนประกอบด้วยแผนงานย่อยๆ ต้ังแต่ 2 แผนงานขนึ้ ไป แต่ละแผนงานย่อยอาจจะมเี พียง 1 โครงการ หรือหลายโครงการ นอกจากนน้ั ในโครงการต่างๆ อาจมโี ครงการย่อยๆ ลงไปอกี หรือมีกิจกรรมอ่ืนๆ ภายใต้ โครงการนัน้ ๆ ขึ้นอยกู่ บั สภาพปญั หาวา่ มีความซบั ซอ้ นมากนอ้ ยเพยี งใด ยงิ่ มีความซับซ้อนมากยง่ิ ต้องมีโครงการ ย่อยๆ ภายใต้แผนงานนั้นมาก เพอื่ แก้ไขปัญหาน้นั ~ 28 ~

แผน (Plan) แผนงาน แผนงาน (Program) (Program) โครงการ 1 โครงการ 2 โครงการ 1 (Project) (Project) (Project) โครงการยอ่ ย 1 โครงการย่อย 2 กิจกรรม1 กจิ กรรม2 กจิ กรรม3 กจิ กรรม1 กจิ กรรม1 รูปท่ี 11 แสดงความสมั พันธ์ระหว่าง แผน แผนงาน โครงการ และกจิ กรรม ความสาคญั ของการวางแผน 1. การวางแผนท่ีถูกต้องสมบูรณ์ จะชว่ ยให้การบริหารงานเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย และเพ่ิมประสิทธิภาพ ของการทางาน 2. การวางแผนช่วยให้เกดิ การทางานเปน็ กลมุ่ เปน็ เคร่ืองมอื ในการบรหิ ารงานทดี่ ี 3. ช่วยใหส้ ามารถใช้กาลงั คน เงิน วัสดุ ทรัพยากร และเวลาท่ีมีอยู่ใหเ้ กิดประโยชนม์ ากท่ีสุด 4. ช่วยในการควบคมุ และประเมินผลงาน ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 5. ชว่ ยให้พยาบาลชุมชน ทมี สุขภาพ และชุมชน ทราบการเคลื่อนไหวในการปฏิบตั ิงาน และคาดคะเน อุปสรรคท่จี ะเกดิ ข้ึน และหาวิธีการป้องกนั และแก้ไขก่อนที่จะเกิดความเสยี หายขน้ึ ประเภทของแผน 1. แบ่งตามระยะเวลา แบง่ ได้ดังนี้ 1.1 แผนระยะส้นั หมายถงึ แผนที่มีระยะเวลาการปฏบิ ัติงานประมาณไมเ่ กนิ 2 ปี อาจจะเป็น 1 สัปดาห์ 4 สัปดาห์ 1 เดอื น 12 เดือน เป็นตน้ โดยทั่วไปทกุ หน่วยงานมกั ใช้เป็นแผนประจาปีทีย่ ึดระยะเวลา ตามปีงบประมาณ เปน็ หลกั 1.2 แผนระยะกลาง หมายถึง แผนท่มี ีระยะเวลาการปฏิบตั ิงานระหว่าง 3-5 ปี ส่วนใหญ่เป็นแผนทีม่ ี กิจกรรมต่อเนอื่ งจากแผนระยะสัน้ ตวั อยา่ งเชน่ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ แผนพัฒนาสขุ ภาพแห่งชาติ 1.3 แผนระยะยาว หมายถงึ แผนที่มกี าหนดระยะเวลาเกนิ 5 ปี แผนระยะยาวต้องมคี วามสัมพนั ธ์กับแผน ระยะกลางและระยะส้ันด้วย 2. แบ่งตามสถานท่ี แบ่งได้ดังน้ี 2.1 แผนระดับชาติ เชน่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 2.2 แผนระดบั ภาค เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตภิ าคใต้ ภาคเหนอื ภาคกลาง 2.3 แผนระดบั จงั หวัด เชน่ แผนของแตล่ ะจงั หวัด ~ 29 ~

2.4 แผนระดับอาเภอ เปน็ แผนพฒั นาระดับอาเภออยูใ่ นความรบั ผิดชอบของ กรรมการพัฒนาอาเภอ (กพอ.) โดยมีนายอาเภอเปน็ ประธาน 2.5 แผนระดับตาบล เป็นแผนพฒั นาระดับตาบลอยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของ กรรมการสภาตาบล (กสต.) โดยมกี านนั เป็นประธาน 3. แบ่งตามสายงาน 3.1 แผนระดบั ชาติ เชน่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ 3.2 แผนระดับกระทรวง เช่น แผนของกระทรวงต่างๆ ของรัฐบาล 3.3 แผนระดับกรมหรอื สานกั งาน เปน็ แผนย่อยของแผนระดับกระทรวงต่างๆ 3.4 แผนระดับกองหรือแผนระดับฝา่ ย 4. แบง่ ตามหลักเศรษฐศาสตร์ 4.1 แผนมหภาค (Micro plan) เป็นแผนระดบั สงู หรือแผนใหญ่ ตามปกติจะหมายถึงแผนระดับชาติ 4.2 แผนรายสาขา (Sectoral plan) เชน่ แผนคมนาคม แผนพาณิชย์ แผนสาธารณสุข 5. แบง่ ตามระดับการจดั การ 5.1 แผนยทุ ธศาสตร์ 5.2 แผนบรหิ าร 5.3 แผนปฏิบัตกิ าร การวางแผนงานยอ่ ยหรือแผนโครงการ (Sub plan) ภายหลงั การวางแผนงานหลกั แล้ว จะบอกไดว้ า่ จะใชก้ ลวธิ ีทางการพยาบาลชุมชนในการแกป้ ัญหาอยา่ งไร บ้าง หลงั จากน้นั จงึ นามาเขียนเป็นโครงการเพื่อนาไปสกู่ ารปฏิบัติ ทพี่ ยาบาลอนามัยชมุ ชนต้องจัดทาขึ้นเพอื่ เป็น แนวทางในการปฏิบตั งิ าน และการของบประมาณสนบั สนุนจากหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง การเขยี นโครงการ เป็นรปู แบบการเขียนโครงการท่ีใชก้ ันตงั้ แตเ่ ริ่มแรกจนถงึ ปัจจบุ ัน โดยการเขยี นบรรยายแจงตามหวั ข้อ หนว่ ยงานท่ีมอี านาจในการอนมุ ัติจะเป็นผกู้ าหนดหัวขอ้ โดยทั่วไปจะประกอบดว้ ยหัวข้อดงั ต่อไปน้ี 1. ช่ือโครงการ เปน็ สว่ นทบี่ อกให้ทราบว่าจะทาอะไร ดงั นั้นการกาหนดชื่อโครงการจะต้องสื่อใหช้ ัดเจนถึงลักษณะงานหรือ ลกั ษณะเฉพาะของโครงการ เชน่ โครงการป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลือดออกในตาบลแสนสุข ชือ่ โครงการจะต้องมี ความชัดเจน กะทัดรัด เฉพาะเจาะจง นา่ สนใจ 2. ประเภทของโครงการ อาจระบุวา่ เปน็ โครงการใหมห่ รอื โครงการพัฒนาต่อเนื่อง 3. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ระบุ ช่อื นามสกุล ตาแหนง่ 4. หลักการและเหตุผล เป็นส่วนท่ีบอกให้ทราบว่าทาไมตอ้ งทาโครงการ ดังนนั้ เน้ือหาท่ีกลา่ วถงึ ต้องสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความจาเปน็ ในการทาโครงการในแงม่ ุมต่างๆ เช่น จากทฤษฎหี รือหลักการทางวิชาการ จากสภาพปัญหาท่ีเกดิ ข้ึน จากนโยบาย และแผนที่กาหนด จากความต้องการในการพัฒนา เป็นตน้ และควรแสดงตวั เลขข้อมูลสนับสนุนเพื่อเพม่ิ น้าหนักและ สร้างความน่าเช่ือถือให้กบั เหตผุ ลท่กี ล่าวถึง ~ 30 ~

5. วตั ถุประสงค์ เป็นสว่ นท่ีบอกให้ทราบถึงส่ิงที่ตอ้ งการให้เกิดขึน้ ดังน้ันวตั ถปุ ระสงคจ์ ะแสดงใหเ้ หน็ ถึงผลงานท่เี ปน็ จุดหมายปลายทางเมอ่ื ดาเนนิ โครงการเสร็จสิ้น วตั ถปุ ระสงค์อาจจาแนกไดเ้ ป็น ๒ ลกั ษณะ คือวัตถปุ ระสงคท์ ว่ั ไป และวัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ของโครงการสามารถกาหนดไดม้ ากกว่าหนงึ่ วตั ถุประสงค์ การ กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ควรคานึงถึงคุณลกั ษณะของวตั ถปุ ระสงค์ ๕ ประการ หรือ SMART คือ 1) มีความเฉพาะเจาะจง (Specific) 2) สามารถวดั ได้ (Measurable) 3) สามารถบรรลุได้ (Attainable) 4) มคี วามเป็นเหตุเปน็ ผล (Reasonable) 5) มขี อบเขตเวลา (Time) 6. ตวั ชี้วัดความสาเร็จโครงการ indicator ตัวชีว้ ัดหมายถึง เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการติดตามการดาเนินงานหรอื สะท้อนอธิบายส่ิงใดสงิ่ หน่งึ ทเ่ี กิดขึน้ เมือ่ ใช้ วัดความเปลย่ี นแปลง หรือหน่วยวัดความสาเรจ็ ของการปฏบิ ตั ิงานที่ถูกกาหนดข้ึนตามวัตถุประสงค์และเปา้ หมาย ท่ีต้ังไวว้ า่ บรรลุความสาเร็จเพียงใด ประเภทของตัวชีว้ ัดสามารถแบ่งได้เป็น ๒ ประเภทคือ 1) ตวั ชว้ี ดั เชิงปริมาณ หมายถึงสาเร็จตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการที่สามารถวัดไดใ้ นเชงิ ตัวเลย เชน่ ประชาชนเขา้ รว่ มโครงการ 50 คน 2) ตัวชว้ี ัดคุณภาพ หมายถงึ การวดั ความสาเร็จท่ปี รากฏเปน็ เชงิ คุณภาพวา่ มีคุณภาพแคไ่ หน อย่างไร เชน่ ความรู้ความสามารถความพึงพอใจ หลกั ในการกาหนดตัวชีว้ ัดความสาเร็จของโครงการ 1. กาหนดผลงานจะต้องกาหนดให้ครอบคลมุ และตอบสนองต่อวตั ถปุ ระสงค์สามารถวดั ได้ท้ังเชงิ คณุ ภาพ และเชิงปรมิ าณ 2. ตวั ชี้วดั ความครอบคลุมทง้ั ประสิทธิภาพประสิทธิผล ระบคุ วามสาเร็จและมีเครอื่ งมอื ในการวดั ท่ีดี 3. สามารถวดั ระดบั ความสาเร็จโดยนามาเปรยี บเทยี บกบั เปา้ หมายหรอื เกณฑ์ความสาเรจ็ ในตัวช้วี ัด 7. เป้าหมาย เปน็ สว่ นขยายวัตถปุ ระสงค์ให้ชัดเจนมากย่ิงขน้ึ และสามารถวัดได้ โดยบอกให้ทราบถึงสิ่งท่จี ะกระทาเพื่อให้ บรรลวุ ตั ถุประสงค์ ดงั นน้ั เป้าหมายจะแสดงถึงปรมิ าณผลงานทีต่ อ้ งปฏิบัติในระยะเวลาท่ีกาหนด โดยอาจระบุในรูป ของจานวนกิจกรรม จานวนผู้รับบรกิ าร หรือจานวนผลผลิตกไ็ ด้ จงึ นิยมใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการประเมนิ ผลโครงการ และตอ้ งมกี รอบระยะเวลาชดั เจน 8. กลุ่มเปา้ หมาย ต้องระบใุ หช้ ดั เจนใครคอื ผู้ได้รบั ผลจากโครงการและจานวนเทา่ ไหร่ 9. วธิ กี ารดาเนินงาน เป็นส่วนทีบ่ อกให้ทราบถึงกระบวนการปฏิบัติเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของโครงการ เปน็ การ แสดงรายละเอยี ดของกิจกรรมย่อยและขน้ั ตอนต่างๆ ตั้งแตเ่ ริ่มตน้ โครงการจนกระท่งั ส้ินสุดโครงการวา่ มีกจิ กรรมใด ต้องทา ทาเมื่อใด ใครเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ โดยปกตจิ ะเขยี นควบคู่ไปกับปฏทิ ินปฏิบตั งิ าน ซง่ึ อาจอยู่ในรปู แผนภมู ขิ องแก รนท์ (Grantt chart) หรือเขียนในลกั ษณะ PDCA 10. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ ~ 31 ~

เปน็ สว่ นทบ่ี อกให้ทราบถงึ เวลาทใ่ี ชใ้ นการดาเนินโครงการท้ังหมด วนั เดอื น ปี ทเี่ รมิ่ ตน้ โครงการและส้นิ สดุ โครงการ ส่วนชว่ งเวลาในการดาเนนิ กจิ กรรมต่างๆซึ่งมกั นาเสนอในรูปแผนภูมขิ องแกรนท์ (Grantt chart) 11. สถานที่การดาเนินโครงการ 12. งบประมาณและทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ เปน็ สว่ นทบ่ี อกถึงคา่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ โครงการ โดยแสดงถึงรายละเอยี ดค่าใชจ้ า่ ยจาแนกตามหมด ค่าใชจ้ า่ ย เชน่ เงินเดือน คา่ จ้าง คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวัสดคุ รภุ ณั ฑ์ และแสดงถึงยอกรวมของค่าใช้จ่ายท้ังหมด ด้วย 13. การวัดและประเมนิ ผลโครงการ เป็นส่วนทบ่ี อกให้ทราบถงึ กระบวนการวดั ผลงานที่ไดจ้ ากการดาเนนิ โครงการ โดยระบุถึงวิธีการ เครอื่ งมือ ระยะเวลาในการประเมิน 14. ผลประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ บอกให้ทราบว่าจะไดผ้ ลประโยชน์อะไรเม่ือส้ินสดุ โครงการ ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับจะแสดงถึงผลดีท้งั ทางตรง และทางอ้อมอันเกดิ จากโครงการ โดยระบวุ ่าใครเปน็ ผูท้ ี่ได้รับประโยชนใ์ นลักษณะอย่างไรท้งั เชงิ ปริมาณและ คุณภาพ ซ่งึ ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ 15. ผู้เสนอโครงการ เปน็ การลงนามผเู้ สนอโครงการ ซึ่งอาจเป็นหวั หนา้ หนว่ ยงานหรือหัวหนา้ โครงการ การเขยี นโครงการแบบประเพณีนยิ มมที ั้งข้อดแี ละข้อเสยี ข้อดคี ือ ง่ายต่อการเขียนและงา่ ยต่อความเข้าใจ ของผ้ทู ีเ่ ก่ยี วข้อง ส่วนข้อเสยี คอื โครงการคอ่ นข้างยาวและยากตอ่ การตรวจสอบความเป็นเหตุเปน็ ผลกนั ทาให้ พิจารณาโครงการไดย้ าก เสยี เวลาในการพิจารณาโครงการ ~ 32 ~

4. ปฏบิ ตั ิการพยาบาลสุขภาพชุมชนเพื่อแกป้ ัญหาสขุ ภาพในชุมชน (Implementation) ปฏิบตั ิการพยาบาลสขุ ภาพชุมชนเพ่อื แกป้ ัญหาสุขภาพในชุมชน เป็นการนาแผนโครงการท่ีกาหนดไว้มา ปฏิบัติร่วมกบั ชุมชน เพือ่ ใหป้ ัญหาทางสุขภาพได้รบั การแกไ้ ข กิจกรรมต่างๆ ในโครงการอาจมีท้ังการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การรักษาพยาบาล การป้องกันโรคและการฟื้นฟสู ุขภาพของผ้ปู ว่ ย โดยกลมุ่ เปา้ หมายมีต้ังแต่ระดับบุคคล ครอบครัว กลุม่ คน และชมุ ชน ซง่ึ กลวิธกี ารพยาบาลชุมชนเพ่ือการปฏิบตั กิ ารพยาบาลสุขภาพชุมชนได้แก่ 1. การดแู ลสุขภาพทบ่ี า้ น (Home health care) 2. การใหค้ วามรู้ทางสขุ ภาพ (health education) 3. การให้บริการคลนิ ิกเคล่ือนท่ี (Mobile clinic) 4. การฝกึ อบรม 5. การเยีย่ มบ้าน 6. การอนามยั โรงเรยี น 7. การรณรงค์ ขน้ั ตอนการปฏิบัตกิ ารพยาบาลสขุ ภาพชุมชนตามแผนโครงการ 1. การเตรียมงาน 1.1 การเตรยี มผปู้ ฏิบตั ิงาน - การศึกษารายละเอียดของกิจกรรม - การแบง่ หน้าทรี่ บั ผิดชอบ - การเตรยี มทรพั ยากร อุปกรณ์ รวมถึงทรัพยากรบุคคล 1.2 การเตรียมกลุ่มเปา้ หมายหรือผู้รับบรกิ ารในชมุ ชน - การเตรยี มผูร้ ับบริการสาหรับปฏบิ ัติการพยาบาลตามแผน หรอื ผู้รบั บริการท่ีเก่ียวข้อง - ประสานงานกับผู้นาชุมชน - คดั เลอื กสมาชิกกลมุ่ หรือองคก์ รในชุมชนที่มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั ปัญหา - การประชาสมั พันธ์ โดยการแจง้ ให้ประชาชนในชุมชนได้ทราบถึง วนั เวลา และวัตถปุ ระสงค์ของ การปฏิบตั งิ าน 2. การดาเนินการตามแผนโครงการ การอานวยความสะดวกแกผ่ ู้ปฏบิ ตั งิ านและผู้คุมงาน คือ การจดั ทากาหนดการปฏบิ ัติงาน ซ่งึ อาจทาได้โดย การทาตารางการปฏบิ ตั ิงาน หรือแผนภมู ิแกนท์ (Gantt chart) อย่างไรก็ตามในการทางานพฒั นาดา้ นสุขภาพควร ยดึ หลักการสาคญั ทีเ่ ป็นแนวทาง ดงั น้ี - กระตนุ้ ใหบ้ ุคคลในชุมชน หรอื กลุม่ ต่างๆ ในหมู่บ้านมีสว่ นรว่ มใหม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ท่ีจะทาได้ - กระตุ้นใหช้ ุมชนได้รปู้ ัญหาของชมุ ชนเอง และไดร้ บั รคู้ วามก้าวหน้าของงาน - เปดิ โอกาสใหช้ ุมชนได้ทาเองใหม้ ากทีส่ ดุ ในสิ่งที่เขาทาได้ - อย่าหวงงาน แต่ควรเน้นให้ชุมชนทาได้โดยการสอน หรือใหค้ าแนะนาแก่ชุมชน - การปรกึ ษาหารือกนั และการประชุม เปน็ สิ่งจาเป็นทุกข้นั ตอนของการทางาน - การตัดสินใจทาอะไรท้งั หลาย ขอใหช้ ุมชนตดั สนิ ใจเอง ~ 33 ~

- การทาเป็นแบบอยา่ งท่ีดี 3. การติดตามและการนิเทศ (Monitoring and Supervision) ประโยชนข์ องการติดตามและการนเิ ทศงาน - เปน็ การติดตามดูกจิ กรรมของโครงการวา่ ดาเนินไปตามแผนการทกี่ าหนดไว้และในระยะเวลาท่ี กาหนดหรอื ไม่ ถ้าไม่เปน็ ไปตามแผนจะทาใหท้ ราบวา่ เปน็ เพราะเหตุใด ควรแก้ไขอย่างไร - ทาใหท้ ราบปญั หาและอุปสรรคต่างๆที่เกดิ จากการทากจิ กรรม - เปน็ การกระตุ้นและให้กาลงั ใจแก่ผปู้ ฏบิ ตั ิในชมุ ชน ทาให้เกิดความรู้สกึ สนใจต่องานอยา่ งตอ่ เน่อื ง 4. การบนั ทกึ การปฏิบัติ การบนั ทกึ ถอื เป็นเคร่ืองมือที่สาคญั อยา่ งย่ิง ทง้ั นเ้ี พราะบนั ทกึ รายงานจะเป็นตวั ช่วยบอกถึงมาตรฐานของ งานทที่ าไปแล้ววา่ อย่ใู นเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้หรือไม่ การบันทึกรายงานมีวตั ถุประสงค์ คือ - เพื่อบันทกึ เหตุการณ์ต่างๆ ทเ่ี กิดขึน้ - เพื่อเปน็ แนวทางในการวิเคราะหป์ ญั หาต่างๆ ในการดาเนนิ งาน - เพือ่ เปน็ การประเมินผลการดาเนนิ งาน - เพอื่ เปน็ ข้อมูลในการประกอบการวางแผน การบันทึกรายงานของพยาบาลอนามัยชุมชนท่ตี ้องจดั ทา ไดแ้ ก่ การบนั ทึกรายงานเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ ของครอบครัว การบันทกึ เป็นรายบุคคลของผู้รับบริการ และบนั ทึกพเิ ศษเกี่ยวกบั การให้การดูแลพิเศษต่าง ดังนั้นจึง กลา่ วได้วา่ การปฏบิ ตั งิ านของพยาบาลอนามยั ชุมชนถือเป็นขั้นตอนท่ีมคี วามสาคัญมาก ~ 34 ~

5. การประเมินผลการปฏบิ ตั ิการพยาบาลสขุ ภาพชุมชน (Evaluation) เป็นขน้ั ตอนของการประเมนิ คุณภาพและประสิทธภิ าพของกจิ กรรมดูแลทใ่ี หก้ บั บุคคล ครอบครวั และชมุ ชน ในทุกภาวะสุขภาพ หรอื การตรวจสอบคุณภาพของกจิ กรรมการดแู ลกบั ความสาเรจ็ ในการแก้ไขปญั หาภาวะสขุ ภาพ การประเมนิ ผลการดูแลจะกระทาได้โดยการเปรียบเทียบข้อมลู การเปลีย่ นแปลงท่เี กิดขึ้นภายหลังจากการได้รบั การ ดูแลแกไ้ ขปัญหา (Actual outcome) กบั เป้าหมายหรือระดบั คณุ ภาพทกี าหนดไว้ในเกณฑ์ประเมนิ ผล การ ประเมินผลดงั กลา่ วจะต้องกระทาเป็นระยะๆ อยา่ งต่อเน่ืองท้งั ในระยะภายหลังการดูแลทันที และเม่ือเสรจ็ ส้ิน โครงการ ตลอดจนนาผลการประเมนิ ไปทบทวนเพ่ือปรับปรุงแผน และการปฏิบัตติ ่อไป ทั้งนต้ี อ้ งมกี ารบันทกึ ไว้อย่าง เปน็ ลายลักษณ์อักษรเสมอ ความหมายของการประเมนิ ผล การประเมินผล หมายถงึ กระบวนการและการแสวงหาข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกับนโยบาย แผนงาน โครงการท่ี ปฏิบตั ิไปแล้ว ว่าบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ท่ีกาหนดไวม้ ากน้อยเพียงใด (พูลสุข หิงคานนท์, 2545) การประเมนิ ผล หมายถึง ขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยของการปฏิบตั ิที่จะบอกได้ว่าปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพ ของผู้รบั บริการไดร้ ับการแก้ไขหรอื ไม่ (Allender and Spradley, 2005) สรปุ การประเมนิ ผล หมายถึง ขนั้ ตอนสุดท้ายของการปฏิบัติงานทกี่ ระทาเพื่อค้นหาความจรงิ วา่ แผนงาน โครงการท่ีปฏบิ ตั ิไปแล้วนั้นบรรลุวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรอื ไม่ มากน้อยเพียงใด ซง่ึ จะนาไปสู่การปรับปรุง แผนงานและโครงการ ซ่ึงจะนาไปสูก่ ารบริการพยาบาลทีเ่ หมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพท่ีสุด วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมินผล 1. เพื่อประเมินความถูกตอ้ งเหมาะสมของแผนงานและโครงการ 2. เพอ่ื ประเมนิ การดาเนินงานตามแผนงานและโครงการ 3. เพ่อื ประเมนิ ความสาเร็จของการทางาน ประเภทของการประเมินผล โดยทวั่ ไปจาแนกการประเมนิ ผลออกเปน็ ๒ วิธี จาแนกประเภทโดยใช้เวลาเป็นหลกั แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ 1. การประเมนิ ผลก่อนการปฏบิ ัตงิ าน (Pre-evaluation) เป็นการประเมนิ ผลเพอ่ื คาดหวังผลงานวา่ เมอ่ื ได้ ดาเนนิ การแลว้ จะเกิดประโยชนแ์ ละความสาเร็จเพยี งใด โดยพิจารณาจาก - ความสอดคล้องของวตั ถุประสงค์ของแผนงานและโครงการกับนโยบาย - ความชัดเจนของวัตถุประสงค์ของแผนงานและโครงการ - ความเหมาะสมของกลวิธแี ละกิจกรรมกบั วัตถปุ ระสงค์ - ความเหมาะสมของทรัพยากรและงบประมาณทใ่ี ชใ้ นการดาเนินงานกบั กลวิธแี ละกจิ กรรมในการ แกป้ ัญหา - ความเหมาะสม สอดคล้องของความสามารถของบุคคลที่รับผดิ ชอบดาเนินงานกบั กลวิธแี ละ กจิ กรรมในการแก้ปญั หา ~ 35 ~

- ความเหมาะสมของเครื่องมอื วธิ กี าร และเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการตดิ ตามงานและประเมนิ ความสาเร็จ ของงาน - ความเหมาะสมของระยะเวลากับกลวิธีและกจิ กรรมในการแกป้ ัญหา ในข้ันตอนน้ีเปน็ การประเมนิ ความถกู ตอ้ งเหมาะสมของแผนงานและโครงการ คือ พจิ ารณาวา่ แผนงาน หรอื โครงการนี้ ควรดาเนนิ การหรอื หยดุ ดาเนินการ หรือหาแนวทางที่เหมาะสมใหม่ 2. การประเมินผลขณะปฏบิ ตั ิงาน (Ongoing หรือ Operational evaluation) เปน็ การประเมินผลโดย เปรยี บเทียบผลการดาเนนิ งานทเ่ี กิดข้ึนจริงกบั ที่คาดหวังไว้เมอื่ ไดเ้ ริ่มดาเนนิ การไปแลว้ เป็นระยะๆ วา่ มผี ล หรอื ปญั หาอุปสรรคอะไรบ้าง มแี นวโน้มทจี่ ะบรรลผุ ลสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายท่ีวางไวห้ รอื ไม่ โดยพิจารณาจาก - การตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านกบั ตารางเวลาที่กาหนด - การตรวจสอบความสอดคล้องของกจิ กรรมกบั วัตถุประสงค์ท่กี าหนด - ตรวจสอบความสามารถและความถนัดในการทางานของบุคคลกับกิจกรรมท่ีปฏิบัติ - ตรวจสอบความเหมาะสมของเครอื่ งมอื ทรัพยากร และวธิ ีการ กบั กจิ กรรมที่ปฏิบัติ - ตรวจสอบความเหมาะสมของการใช้งบประมาณ กับกิจกรรมทีป่ ฏิบัติและทรพั ยากรท่ีกาหนด 3. การประเมนิ ผลหลังการปฏบิ ัติงานเสร็จสิ้นแลว้ (Post-evaluation) เปน็ การประเมนิ ผลเมือ่ ดาเนนิ การแลว้ เสร็จลงว่าบรรลุวัตถปุ ระสงค์ตามทิศทางท่ีวางไวเ้ พยี งใด มีปัญหา อุปสรรคอย่างไร สมควรดาเนนิ การต่อไป อย่างไร ส่งิ ที่ต้องประเมนิ ประกอบด้วย 3.1 การประเมนิ ประสิทธิภาพ (Efficiency) เปน็ การตรวจสอบความคุ้มคา่ ในการทางานกับวตั ถุประสงค์ท่ี กาหนด โดยพจิ ารณาจาก การใช้เวลา การบริหารงาน และการลงทนุ 3.2 การประเมินประสทิ ธิผล (Effective) เป็นการตรวจสอบความสาเรจ็ ของงานจากวัตถปุ ระสงค์ทไ่ี ด้กับ วตั ถุประสงค์ท่กี าหนด หรือจากกิจกรรมทที่ าได้กบั กจิ กรรมที่กาหนด หรือจากงบประมาณท่ีใชไ้ ปกับ งบประมาณที่กาหนด 3.3 การประเมนิ ผลกระทบ (Efficacy or Impact) เปน็ การตรวจสอบผลท่ีได้รบั นอกเหนือจากการ ปฏิบัตงิ านตามแผนงานหรือโครงการ โดยพิจารณาผลกระทบที่เกดิ ข้ึนกับสุขภาพและภาวะเศรษฐกจิ สงั คม ของประชาชนในชมุ ชน จาแนกประเภทโดยวิธีการและรปู แบบของการประเมนิ ผลเป็นหลัก แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภทใหญๆ่ คือ 1. การประเมนิ ผลเปา้ ประสงค์ คือ การประเมินผลม่งุ พจิ ารณาเฉพาะผลการปฏิบตั ิงานตามวัตถปุ ระสงค์ที่ กาหนดไว้ ท้งั ดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ 2. การประเมินผลระบบ เป็นการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานในลกั ษณะเป็นระบบซงึ่ ประกอบดว้ ย การประเมนิ บรบิ ทของโครงการ ปัจจยั นาเข้า กระบวนการผลติ หรอื กระบวนการใหบ้ รกิ าร ผลผลติ หรอื บรกิ ารและ ผลกระทบของการปฏิบัตงิ านหรอื ผลข้างเคยี ง ซึง่ จะต้องประเมินผลส่วนประกอบเหล่านใี้ ห้ครบทงั้ ระบบ ~ 36 ~

การประเมินผลโครงการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชน มีองคป์ ระกอบท่ีตอ้ งพิจารณาอยู่ 5 ประการ 1. ความเหมาะสม สอดคล้อง ถกู ต้องตามปัญหาทีต่ ้องการแกไ้ ข (Relevance) เป็นการประเมินเพ่ือทราบวา่ การดาเนินโครงการน้นั เปน็ ความต้องการของประชาชน เพื่อแก้ปัญหาของ ชุมชนจรงิ หรือไม่ จาเป็นหรือมคี วามสาคญั เพยี งใด 2. ความก้าวหน้า เปน็ การประเมินในลกั ษณะเปรยี บเทยี บระหวา่ งสิ่งที่ไดป้ ฏิบัติจรงิ กับแผนการปฏิบตั ิท่วี างไวล้ ว่ งหนา้ รวมท้ัง สาเหตุและเหตผุ ลที่สามารถทาให้โครงการไดร้ ับความสาเร็จหรอื ไม่ไดร้ ับความสาเร็จ การประเมนิ ความก้าวหนา้ ก้ เพอื่ ช่วยในการควบคุมและการนิเทศ เป็นการประเมินเพ่ือการปรับปรุงเป็นระยะๆ 3. ประสิทธภิ าพ (Efficiency) เป็นการประเมนิ ผลทเ่ี ปรียบเทียบผลท่ไี ดร้ บั จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมกบั ความพยายามทจ่ี ะทาให้ความสาเรจ็ เกดิ ขนึ้ จาแนกออกเป็นการประเมินประสทิ ธิภาพทางเทคนคิ และการประเมินประสิทธิภาพทางค่าใช้จ่าย การวัด ประสิทธิภาพมีความมงุ่ หมายท่ีจะปรบั ปรุงการปฏบิ ัตงิ าน ทบทวนความก้าวหนา้ ของงาน 4. ประสทิ ธิผล (Effective) เปน็ การประเมินกิจกรรมที่ทาได้เปรยี บเทียบกบั วัตถปุ ระสงค์หรอื เปา้ หมายทีก่ าหนดในโครงการ การ พจิ ารณาประสทิ ธิผลด้านตา่ งๆ คานวณได้ เช่น อัตราสว่ นระหว่างทรัพยากรท่ีใช้ไปกับทรัพยากรทีก่ าหนดไว้ =ทรพั ยากรท่ีใช้ไป x 100 ทรพั ยากรทก่ี าหนดไว้ อัตราส่วนระหวา่ งวตั ถปุ ระสงค์ท่ที าได้กบั วตั ถุประสงค์ทีก่ าหนดไว้ =วัตถปุ ระสงค์ท่ีทาได้ x 100 วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ อัตราส่วนระหว่างกิจกรรมท่ีทาไดก้ บั กิจกรรมที่กาหนดไว้ = กิจกรรมท่ีทาได้ x 100 กิจกรรมที่กาหนดไว้ 5. ผลกระทบ (Impact) เป็นการพิจารณาผลดผี ลเสียของโครงการวา่ โครงการน้ันมีผลกระทบต่อสิง่ ใดบ้าง ท้งั ในระยะสนั้ และระยะ ยาว อาจเป็นผลกระทบต่อบุคคล ระบบส่งิ แวดล้อม หรอื สภาวะสงั คมและเศรษฐกิจ ~ 37 ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook