Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ในส่วนของระยะทางทเ่ี ดินได้ ครั้งที่ 1 (วนั ทีจ่ ำ�หนา่ ยจากโรงพยาบาล) และครั้งท่ี 2 (วันท่แี พทย์นัดหลังจำ�หน่าย 2 สปั ดาห)์ ใน กลุ่มทดลองเฉล่ีย เท่ากับ 81.3±14.1 และ 117.2±18.0 เมตร แตกต่างจากกลุ่มควบคุมท่ีมีระยะทางเฉล่ีย เท่ากับ 70.9±9.9 และ 71.1±9.0 เมตร (p<0.001) และหลังจากได้รับการฟ้ืนฟูหัวใจแล้วกลุ่มทดลองสามารถปฏิบัติกิจกรรมทางกายได้มากกว่ากลุ่มควบคุม แตกต่างกัน (p<0.001) (ดังตารางท่ี 2) สำ�หรบั ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลอื ดแดงก่อนและหลังเดินครงั้ ที่ 1 กบั ก่อนและหลงั เดนิ ครงั้ ที่ 2 ในกลุ่มทดลองเฉล่ยี เท่ากบั 97.8±1.2 และ 98.2±1.2 กบั 97.9±1.2 และ 98.2±1.2 ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคมุ ทมี่ คี ่าเฉลีย่ เทา่ กบั 97.9±1.2 และ 98.3±1.2 กับ 97.7±1.1 และ 97.9±1.2 (p=0.762, p=0.375 และ p=0.807, p=0.155) (ดังตารางที่ 2) ตารางที่ 2 ระยะทาง (6-MWT) และผลลัพธ์ทางคลินิก ลักษณะท่ศี กึ ษา Intervention(n=95) Control (n=95) p-value n% n% ระยะทางครัง้ ท1่ี (D/C) (เมตร), mean±SD 81.3 (±14.1) 70.9 (±9.9) 0.001 สาเหตหุ ยดุ เดนิ ครง้ั ที่ 1 None 84 88.4 81 85.2 0.577 Palpitation 4 4.2 7 7.4 Fatique/Myalgia 7 7.4 7 7.4 O 2sat ก่อนเดินครัง้ ที่ 1 (เปอรเ์ ซ็นต)์ , mean±SD 97.8 (±1.2) 97.9 (±1.2) 0.762 O 2sat หลงั เดนิ ครง้ั ท่ี 1 (เปอร์เซน็ ต)์ , mean±SD 98.2 (±1.1) 98.3 (±1.2) 0.375 ระยะทางคร้งั ที่ 2 (F/U 2 wk.) (เมตร), mean±SD 117.2 (±18.0) 71.1 (±9.0) 0.001 สาเหตุหยุดเดนิ คร้งั ท่ี 2 None 85 89.4 89 93.6 0.207 Palpitation 3 3.2 5 5.3 Fatique/Myalgia 7 7.4 1 1.1 O2sat ก่อนเดินครัง้ ท่ี 2 (เปอรเ์ ซน็ ต)์ , mean±SD 97.9 (±1.2) 97.8 (±1.1) 0.807 O 2sat หลังเดนิ ครง้ั ท่ี 2 (เปอรเ์ ซน็ ต)์ , mean±SD 98.2 (±1.2) 97.9 (±1.2) 0.155 Physical activity ไมม่ กี จิ กรรม 0 0 20 21.1 0.001 อาบน้าํ /ลา้ งหนา้ /แปรงฟัน 2 2.1 17 17.9 แตง่ ตัวเอง 29 30.5 27 28.4 ทำ�กับขา้ ว/เช็ดจาน 19 20.0 21 22.1 รดน้ําตน้ ไม ้ 12 12.6 8 8.4 ทำ�งานเอกสาร 1 ชม 6 6.3 0 0 กวาดบ้าน 18 19.0 2 2.1 เดินรอบบา้ น 9 9.5 0 0 hscr ISSUE 1 89
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ผลการฟื้นฟูหัวใจตอ่ ระยะทางที่เดนิ ได้ (6-MWT) พบว่ากลุ่มท่ีได้รับการฟ้ืนฟูหัวใจด้วยการฝึกเดินมีค่าเฉลี่ยระยะทางท่ีเดินได้ครั้งที่ 1 (วันที่จำ�หน่ายจากโรงพยาบาล) เท่ากับ 81.3 (±14.1) ครั้งท่ี 2 (วันที่แพทย์นัดหลังจำ�หน่าย 2 สัปดาห์) เท่ากับ 117.2 (±18.0) และกลุ่มที่ไม่ได้รับการฟ้ืนฟูหัวใจมีค่าเฉล่ีย ระยะทางทเ่ี ดนิ ไดค้ รง้ั ท่ี 1 (วันทีจ่ ำ�หน่ายจากโรงพยาบาล) เทา่ กับ 70.9(±9.9) คร้งั ท่ี 2 (วันทแ่ี พทย์นดั หลงั จำ�หน่าย 2 สัปดาห์) เท่ากบั 71.1(±9.0) เม่ือใช้สถิติวิเคราะห์ควบคุมตัวแปรกวนท้ังหมดแล้ว พบว่า การฟื้นฟูหัวใจสามารถเพ่ิมระยะทางที่ผู้ป่วยเดินได้ 11.3 และ 46.9 เมตร ดว้ ยความเชอื่ มน่ั ท่ี 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ 8.6 ถึง 13.9 และ 43.6 ถึง 50.2 อย่างมนี ยั สำ�คัญทางสถิติ (p<0.001) (ดงั ตารางท่ี 3) ตารางที่ 3 ผลลัพธ์การใช้ Cardiac rehabilitation ต่อระยะทาง (6-MWT) ลักษณะทศี่ กึ ษา ใช้ Cardiac Rehab ไม่ใช้ Cardiac Rehab ผลลพั ธ์ 95% CI* p-value (n=95) (n=95) 11.3 8.6,13.9 <0.001 46.9 43.6,50.2 <0.001 ระยะทางคร้ังท่ี 1 (เมตร) 81.8±0.9 70.5±0.9 (วนั ท่ีจำ�หน่าย) 117.6±1.2 70.7±1.2 ระยะทางครงั้ ท่ี 2 (เมตร) (วันมาพบแพทย์หลังจ�ำ หน่าย 2 สปั ดาห)์ นอกจากนีย้ ังพบว่ากลุ่มทีไ่ ดร้ ับการฟน้ื ฟูหัวใจสามารถปฏิบตั ิกจิ กรรมทางกายท่ีมากกว่ากจิ วัตรประจ�ำ วนั (Activity Daily Living: ADL) ไดแ้ ก่ สามารถแต่งตัวเอง ท�ำ กบั ขา้ ว/เช็ดจาน กวาดบ้าน และสามารถเดนิ รอบบ้านได้ คิดเป็นรอ้ ยละ 30.5 20.0 19.0 และ 9.5 ตามลำ�ดับ และมากกว่ากลุ่มท่ีไม่ได้รับการฟื้นฟูหัวใจ คิดเป็นร้อยละ 28.4 22.1 2.1 และไม่มีผู้ป่วยคนไหนสามารถเดินรอบบ้านได้ อย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (p<0.001) อภิปราย ในการปฏิบัติงานท่ีผ่านมาจากการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ได้รับการขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน มีข้อสังเกตท่ีมา ซ่ึงคำ�ถามทางการวิจัยในรายงานฉบับน้ีว่า เพราะสาเหตุอะไรท่ีทำ�ให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหลังขยายหลอดเลือดหัวใจเกิดภาวะ แทรกซอ้ น และกลบั เขา้ มารกั ษาซา้ํ จากการสมั ภาษณญ์ าตผิ ปู้ ว่ ยพบวา่ จะใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนพกั บนเตยี งเทา่ นนั้ ไมส่ ามารถท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั เองได้ ทำ�ให้เป็นภาระแก่ผู้ดูแลและครอบครัว เพ่ือจะได้นำ�ผลการศึกษามาปรับปรุงคุณภาพการบริการทางคลินิก เพื่อประโยชน์สูงสุด ของผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตบี ตอ่ ไป ผลการศกึ ษาของรายงานฉบบั นยี้ นื ยนั ขอ้ สงั เกตวา่ เมอื่ ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี ทไี่ ดร้ บั การขยายหลอดเลอื ดหวั ใจดว้ ยบอลลนู แล้วแต่ยังไม่ได้มีการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยหลังจ�ำ หน่ายจากโรงพยาบาลในเรื่องการฟ้ืนฟูหัวใจด้วยการฝึกเดิน ท�ำ ให้ผู้ป่วยไม่กล้า กลับไปปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันที่สามารถทำ�ได้ การท่ีผู้ป่วยและญาติไม่ได้รับคำ�แนะนำ�เร่ืองการออกกำ�ลังกายเม่ือกลับไปอยู่บ้าน ทำ�ให้ เกิดความวิตกกังวล กลัว และไม่กล้าออกกำ�ลัง และส่วนใหญ่ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียงอย่างเดียว ทำ�ให้สมรรถภาพทางกายลดลง การ ออกกำ�ลังด้วยการฝึกเดินต้ังแต่อยู่ท่ีโรงพยาบาลร่วมกับการให้ความรู้เร่ืองโรคและการปฏิบัติตัวเม่ือกลับบ้าน ทำ�ให้ผู้ป่วยมีสมรรถภาพ ทางกายเพม่ิ ขน้ึ จากการศกึ ษานพี้ บวา่ ผปู้ ว่ ยสามารถท�ำ กจิ กรรมไดม้ ากขน้ึ โดยท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ไดเ้ อง และทม่ี ากกวา่ นน้ั ผปู้ ว่ ยสามารถ ท�ำ กับขา้ ว รดน้ําต้นไม้ ทำ�งานเอกสารทไี่ ม่เครียดมากได้ 1 ช่วั โมง กวาดบ้าน และยังสามารถเดนิ รอบบ้านได้ ในภาพรวมควรมีการทบทวนระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบท่ีได้รับการขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูนร่วมกันในทีม สหสาขา เพอื่ ใหเ้ หน็ ความส�ำ คญั ของการฟน้ื ฟหู วั ใจเพอ่ื ใหเ้ ปน็ แนวทางเดยี วกนั ท�ำ ใหผ้ ปู้ ว่ ยมสี มรรถภาพทางกายเพม่ิ ขน้ึ ภาวะแทรกซอ้ น จากการนอนนานลดลง และอตั ราการกลบั มารกั ษาซา้ํ นา่ จะลดลงตามมา hscr ISSUE 1 90
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ข้อยุติ และการนำ�ไปใช้ การใชโ้ ปรแกรมฟนื้ ฟสู มรรถภาพหวั ใจ ในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี ทไ่ี ดร้ บั การขยายหลอดเลอื ดดว้ ยบอลลนู ท�ำ ใหส้ มรรถภาพ ร่างกายเพิม่ ขน้ึ ทั้งก่อนกลับบา้ นและหลงั กลับบา้ นอยา่ งมนี ัยส�ำ คญั ทางสถิติ สรปุ และขอ้ เสนอแนะ ดา้ นการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล พยาบาลวิชาชีพในหน่วยงานท่ีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบท่ีได้รับการขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูนควรนำ�โปรแกรม การฟนื้ ฟูสมรรถภาพหัวใจมาใช้กบั ผู้ปว่ ยทกุ ราย เน่ืองจากเพม่ิ สมรรถภาพทางกาย และลดภาวะแทรกซ้อนทสี่ ามารถป้องกันได้ ด้านการบริหารการพยาบาล 1. กำ�หนดนโยบายในการนำ�โปรแกรมการฟ้ืนฟูสมรรถภาพหัวใจมาใช้กับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบท่ีได้รับการขยาย หลอดเลือดด้วยบอลลูนเพ่ือเพิ่มสมรรถภาพทางกาย และช่วยหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลท่ีอาจเกิดกับผู้ป่วย หลงั ท�ำ หตั ถการ 2. สง่ เสรมิ ให้มีทีมสหวชิ าชีพ และญาติผ้ปู ่วยเข้ามามีสว่ นร่วมในการฟน้ื ฟูสมรรถภาพหัวใจเพือ่ เพม่ิ สมรรถภาพทางกายของ ผปู้ ว่ ยหลังขยายหลอดเลือดหวั ใจด้วยบอลลนู อย่างต่อเน่ือง ด้านการวจิ ัยการพยาบาล 1. ควรท�ำ วจิ ยั เกยี่ วกบั การฟนื้ ฟสู มรรถภาพหวั ใจตอ่ สมรรถภาพทางกายในผปู้ ว่ ยโรคหวั ใจกลมุ่ อนื่ ๆ เพอื่ เพมิ่ สมรรถภาพทาง กาย ลดภาวะแทรกซ้อน และเพ่มิ คณุ ภาพการพยาบาลต่อไป 2. ควรมกี ารวัดผลการฟืน้ ฟสู มรรถภาพหวั ใจในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี อยา่ งตอ่ เนือ่ งตงั้ แตร่ ะยะท่ี 1 ถงึ ระยะท่ี 3 3. พฒั นาแผนการฟน้ื ฟสู มรรถภาพหวั ใจตอ่ สมรรถภาพทางกายของผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจตบี ทม่ี คี วามเสย่ี งอนื่ รว่ มดว้ ย ไดแ้ ก่ กลุ่มระดับนํา้ ตาลในเลอื ดสูง ความดันโลหติ สูง และไขมนั ในหลอดเลอื ดสงู เป็นต้น ขอ้ จำ�กัดของการวิจัย เนอ่ื งจากการศกึ ษาครงั้ นี้ ผวู้ จิ ยั มเี วลาจ�ำ กดั คอื ศกึ ษาแคใ่ นระยะผปู้ ว่ ยนอนโรงพยาบาล (Inpatient phase) และ ระยะ Immediate outpatient phase (หลังจำ�หน่ายออกจากโรงพยาบาล 2 สัปดาห์) เท่านน้ั ซ่งึ ระยะ 2 สัปดาหอ์ าจยงั ไม่เพยี งพอให้เกิด training effect จากการฟืน้ ฟสู มรรถภาพหวั ใจ ควรตอ้ งติดตามต่อในระยะยาวถึง maintenance phase แต่ในช่วง 2 สปั ดาห์จะพบว่า ผู้ป่วยสามารถ ปฏิบัตกิ ิจวตั รประจ�ำ วันดว้ ยตนเองได้มากขึน้ ลดภาวะแทรกซอ้ นที่เกดิ จากการนอนบนเตียงนานๆ และลดภาระแกผ่ ดู้ ูแล กติ ติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคณุ ศ.ดร.นพ.ชยนั ตร์ธร ปทมุ านนท์ ภาควชิ าระบาดวิทยาคลินิกและสถติ ศิ าสตร์คลินิก ศูนยว์ ิจัยคลนิ ิก คณะ แพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรร์ งั สิต รศ.ชไมพร ทวชิ ศรี อาจารยท์ ่ปี รึกษาการวิจยั นพ.กวินท์ ชุตคิ งเฉลิมโรจน์ อายรุ แพทย์ โรคหวั ใจ คณุ สริ นิ าถ มเี จรญิ หวั หนา้ หออภบิ าลผปู้ ว่ ยวกิ ฤตโรคหวั ใจ คณุ สพุ ตั ตา เมอื งกอ้ น นกั กายภาพบ�ำ บดั ช�ำ นาญการ คณะกรรมการ วจิ ยั โรงพยาบาลอตุ รดิตถ์ และเจ้าหนา้ ทผี่ ้เู ก่ียวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมอื ในการรวบรวมข้อมูลและจัดทำ�รายงานวจิ ยั hscr ISSUE 1 91
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 เอกสารอา้ งอิง 1. สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2553). แนวทางการฟื้นฟูสภาพในผู้ป่วยโรคหัวใจ. วันท่ีค้น ขอ้ มลู 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558 เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/RehabGuideline.pdf 2. เกรียงไกร เฮงรศั มี. มาตรฐานการดแู ลและการส่งตอ่ ผู้ปว่ ยโรคกล้ามเนอ้ื หวั ใจตายเฉยี บพลนั . กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั สุขุมวิท การพิมพ์ จ�ำ กดั , 2555. 3. เกรยี งไกร เฮงรัศม.ี มาตรฐานการรักษาผู้ปว่ ยกลา้ มเนอื้ หวั ใจขาดเลือดเฉียบพลันสถาบันโรคทรวงอก(ออนไลน์) 2555 (อา้ งอิง ธันวาคม 2556) แหล่งท่มี า http://www.cdi.thaigov.net/cdi/folder_a/folder_f/1aa.pdf. 4. สุดคะนงึ ดารานษิ ร, พิกลุ บญุ ช่วง, นติ ยา ภญิ โญค�ำ .ผลของโปรแกรมการดแู ละระยะเปลีย่ น ผา่ นตอ่ พฤตกิ รรมสขุ ภาพและ ความสามารถในการทำ�หน้าทข่ี องรา่ งกายผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดหัวใจ เฉียบพลนั . พยาบาลสาร, 2556; 40(2): 103-13. 5. ศริ ิวรรณ เจิมขนุ ทด, มนสภรณ์ วทิ ูรเมธา, อ�ำ ภาพร พัววไิ ล. ผลของโปรแกรมการฟืน้ ฟู สมรรถภาพหวั ใจในระยะที่ 1 ตอ่ ความรใู้ นการดแู ลตนเองและความสามารถในการท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ของผปู้ ว่ ยกลา้ มเนอื้ หวั ใจตาย. วารสารพยาบาลโรคหวั ใจ และทรวงอก, 2551; 19: 40-50. 6. Guidelines for cardiac rehabilitation and secondary prevention programs, Human Kinetics Publishe r3rd edition. 1999; 39-52. 7. Pashkow FJ, Dafoe WA: Clinical cardiac rehabilitation-A Cardiologist’s guide 2nd edition :Baltimore; Williams@ Wilkins. 1999; 458-466. 8. Goble AJ. Worcester MUC. Best Practice guide lines for cardiac rehabilitation and Secondary prevention, 1st edition. Melbourne. Department of Human Services. 1999; 52-6. 9. สุรพันธ์ สิทธิสุข. แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ: สมาคมแพทยโ์ รคหวั ใจแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, 2557. 10. American Association of Cardiovascular and Pulmonary Rehabilitation. Guidelines for cardiac rehabilitation and secondary prevention programs 4th edition. Champaign, IL: Human Kinetics. 2004; 53-74. 11. คณะกรรมการชมรมฟ้นื ฟูหัวใจ. แนวทางการฟนื้ ฟู สภาพในผู้ปว่ ยโรคหวั ใจ 2553. [อินเตอรเ์ นต] [เข้าถงึ เม่อื 11 ธ.ค. 2557]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.thaiheart.org/images/ column_1291454908/RehabGuideline.pdf hscr ISSUE 1 92
Health scienc eJคacnliำunaชicrya้แี l-rจeJusenงaerกc2h0า2ร1 สVoง่lumเeร3อื่ 6งเพ่ือOลRIงGIพNAิมL พAR์ TICLE พิมพท์ ี่ : หจก.สุรสหี ์กราฟฟิค 505/15,พ3ิม7พถท์ .ส่ี :นาหมจบกนิ .สอรุ ส.เหีมอื์กงราจฟ.พฟษิคณ5ุโ0ล5ก/1655,03070ถ.สนามบิน อ.เมือง จ.พษิ ณโุ ลก 65000 โทร. 055-301171, 055-301428 โทรสโทาร. 055-23102171721, 055-301428 โทรสาร. 055-212772 Email: [email protected] Email: [email protected]
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105