Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Working safety

Working safety

Published by Safety room, 2019-04-16 05:43:38

Description: Working safety

Search

Read the Text Version

ความปลอดภัยในการทางาน

ส่งิ คุกคามสุขภาพจากการทางาน 1. ส่งิ คุกคามด้านกายภาพ เสียงดงั (Noise) การสัมผัสเสียงดังเกนิ ไป ในเวลา 8 ช่ัวโมงการทางานนานหนึ่งปี ทาให้สูญเสียการได้ยินแบบประสาทหูเสื่อม(sensorineural hearing loss) จะมีอาการ เสียงดังในหู เวียนศีรษะ หูอือ้ ความสั่นสะเทือน -ความสั่นสะเทือนทว่ั ร่างกาย อาการเฉียบพลัน ได้แก่ (Vibration) รบกวนการมองเห็นหรือสายตา การใช้มือควบคุมเคร่ืองจักร ลดความ มัน่ คงของกล้ามเนื้อ ทาให้เพม่ิ แรงกดต่อไขสันหลงั การสัมผัสเรื้อรัง ทาให้เกดิ ผลเสียต่อกระดูกสันหลงั ปวดหลังส่วนล่างและส่วนทรวงอก -ความส่ันสะเทือนเฉพาะส่วน เช่น เฉพาะมือและแขน ซ่ึงความส่ันสะเทือนมี ผลต่อ หลอดเลือดและประสาทสัมผัส ทาให้เกดิ อาการเสียวแปลบ ชา และซีด ขาวของนิ้วมือ เรียกความผดิ ปกตนิ ีว้ ่า Hand-arm vibration syndrome (HAVS) ในอดตี มักเรียกVibration-induced white fingers

ส่ิงคุกคามสุขภาพจากการทางาน 1. ส่งิ คุกคามด้านกายภาพ ความร้อน (Heat) 1. การเป็ นตะคริวเน่ืองจากความร้อน (Heat Cramp) 2. เป็ นลมเน่ืองจากความร้อนในร่างกายสูง (Heat Stroke) 3. การอ่อนเพลยี เนื่องจากความร้อน (Heat Exhaustion) 4. อาการผดผ่ืนขนึ้ ตามบริเวณผิวหนัง (Heat Rash) 5. การขาดน้า (Dehydration) 6. โรคจิตประสาทเนื่องจากความร้อน (Heat Neurosis) แสงสว่าง ( Light) 1. แสงสว่างน้อยเกนิ ไป จะมีผลเสียต่อตา ทาใหก้ ลา้ มเน้ือตาทางานมาก เกินไป โดยบงั คบั ให้ ม่านตาเปิ ดกวา้ ง ทาใหเ้ กิดการเม่ือยลา้ ของตาที่ ตอ้ งเพง่ ออกมา ปวดตา มึนศรี ษะ ประสิทธิภาพในการทางานลดลง การหยบิ จบั ใชเ้ ครื่องมือเครื่องจกั รผดิ พลาดเกิดอุบตั ิเหตุข้ึน หรือไป สมั ผสั ถูกส่วนที่เป็นอนั ตราย 2. แสงสว่างที่มากเกนิ ไป แสงจา้ ตาท่เี กิดจากการแหล่งกาเนิดแสงโดยตรง (Direct glare) หรือ แสงจา้ ตาที่เกิดจากการสะทอ้ นแสง (Reflected glare) จากวสั ดุท่ีอยใู่ นสิ่งแวดลอ้ ม เช่น ผนงั หอ้ ง เครื่องมือ เคร่ืองจกั ร โตะ๊ ทางาน เป็นตน้ จะทาใหผ้ ทู้ างานเกิดความไม่ สบายใจ เมื่อยลา้ ปวดตา มึนศีรษะ กลา้ มเน้ือหนงั ตากระตกุ วงิ เวยี น นอนไม่หลบั การมองเห็นแยล่ ง นอกจากน้ียงั ก่อใหเ้ กิดผลทางจิตใจ คอื เบอื่ หน่ายในการทางาน ขวญั และกาลงั ใจในการทางานลดลง เป็น ผลทาใหเ้ กิดอุบตั เิ หตไุ ดเ้ ช่นเดียวกนั

ส่งิ คุกคามสุขภาพจากการทางาน 2. ส่งิ คุกคามด้านเคมี อนุภาค (Particulate) อนุภาคท่มี ีเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง เฉล่ีย 10 ไมครอนจะตดิ ท่ีจมูก คอหอย และทางเดินหายใจส่วนบน เรียก inhalable dust ส่วนอนุภาคท่มี ีเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง ต้งั แต่ 5 ไมครอนลงไปสามารถ ผา่ นเขา้ ถึงถุงลม ในปอดได้ เรียกวา่ Respirable dust ชนิดของอนุภาค • ฝ่ ุน (dust) เกิดจากการบด ทุบ ตี กระแทก มีขนาด 0.1-100 ไมครอน • ฟูม (fume) เป็นอนุภาคของแขง็ ท่เี ปลี่ยนสถานะจากของแขง็ ที่หลอมเหลว กลายเป็นไอแลว้ ควบแน่นกลบั มาเป็นของแขง็ อีกคร้งั มีขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางนอ้ ย กวา่ 1 ไมครอน • ควนั (smoke) มีขนาดนอ้ ยกวา่ 0.1 ไมครอน มีคาร์บอนเป็นองคป์ ระกอบ • ละออง (mists) เป็ นอนุภาคของเหลวขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน เกิดจากการ ควบแน่นของก๊าซไปเป็นของเหลว หรือการแตกตวั ของของเหลวไปในภาวะท่ีฟุ้ง กระจายได้ • เส้นใย (fiber) เช่น เสน้ ใยใยหิน (asbestos fiber) ทาใหเ้ กิดพงั ผดื จบั ปอด (pneumoconiosis) รวมถึงสารเคมี โลหะและสารประกอบโลหะ เช่น ตะกว่ั แมงกานีส สารหนู ปรอท โครเม่ียม ท่ีเป็ นอนั ตรายต่างๆ แคดเมียม ทาใหเ้ กิดพษิ โลหะน้นั ๆ ตัวทาละลายและสารประกอบ เช่น Acetone, Benzene, Formaldyhyde แก๊สพิษ เช่น Carbon monoxide, Hydrogen sulphide , Phosgene, Sulfur dioxide, Cyanide, Nitrogen oxide, Ammonia, Chlorine แก๊สกล่มุ นี้มพี ิษสูงสามารถทาให้เกดิ การระคายเคอื ง เย่ือบุ นัยน์ตา และทาอันตรายต่อปอดทาให้เกิดปอดอกั เสบและปอดบวมได้

ส่งิ คุกคามสุขภาพจากการทางาน 3. ส่งิ คุกคามด้านชีวภาพ เชื้อแบคทเี รีย •เลปโตสไปโรสิส (โรคฉ่ีหนู) •วณั โรค •โรคบาดทะยัก เชื้อไวรัส •โรคไข้หวัดนก •ไข้หวดั ใหญ่ •โรคตับอักเสบ 4. สิ่งคุกคามด้านจิตวทิ ยาสังคม o ความเครียดและสภาวะกดดันสูง o งานกะหรืองานผลัด (Shift work) o แรงงานย้ายถนิ่ หรือแรงงานอพยพ แรงงานต่างถิ่น o งานทีต่ ้องทาเป็ นเวลานาน o งานทต่ี ้องทาคนเดยี ว o การเดนิ ทางข้ามเวลาทต่ี ่างกนั มากกว่า ๖ ช่ัวโมง (Circadian rhythm)

ส่ิงคุกคามสุขภาพจากการทางาน 5. ส่ิงคุกคามด้านการยศาสตร์ การยศาสตร์ – ศาสตร์ในการจดั สภาพงานใหเ้ หมาะกบั คนทางาน สาเหตุ • ลกั ษณะการทางาน ไดแ้ ก่ การยกและการถือของหนกั ทา่ ทางการทางานที่ไม่เหมาะสม การทางานซ้าๆ • สถานท่ีปฏิบตั งิ านคบั แคบทาใหเ้ คลื่อนไหวร่างกายส่วนท่ีใชง้ านไม่สะดวก ตัวอย่างของโรคทางการยศาสตร์ เช่น • โรคปลอกหุม้ เสน้ เอน็ ขอ้ มืออกั เสบ (de Quervain’s disease) • โรคการกดทบั เสน้ ประสาทบริเวณขอ้ มือ (carpal tunnel syndrome ) • ปวดหลงั ส่วนล่าง (low back pain)

งานเชคอ่ื มวามปลอดภยั ในงานเช่อื ม Welding s a f e t y • เมือเลิกงานให้ตัดสวทิ ซ์ไฟฟาทจี ่ายไปยังตู้เชอื ม • ต้องไม่มีวัสดุติดไฟอย่ใู กล้กบั บริเวณทจี ะทาการ เชอื ม • ถ้าจาเปนต้องเชอื มภาชนะทมี ีการไวไฟอยู่ภายใน ต้องล้างสะอาดและทาความสะอาดก่อนเริมงาน • อย่ามองแสงไฟเชือมด้วยตาเปล่า เครืองเชอื มต้อง อยู่ในสภาพดี ข้อต่อต้อง แน่นหนาและหุ้มฉนวน กรณีทตี ้องเชอื มในทเี ปยกชนื ต้องสวม รองเท้ายาง และหาวสั ดุทเี ปนฉนวนไฟฟารอง พนื ตรงจุดทจี ะทา การเชอื ม • ติดปายห้ามผ้ทู ไี ม่เกียวข้องหรือไม่มีหน้าทรี ับ ผดิ ชอบ เข้าไปในบริเวณทมี กี ารทางานด้วย เครือ งเชอื ม

องนั านตเชรือ่ มายจากงานเช่ือม 1. อนั ตรายจากฟูม (FUME) และก๊าซที่เป็ นอนั ตรายต่อ สุขภาพ 2.อนั ตรายจากแสงจาก การเชื่อม 3 .อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้า

ความปลอดภยั ในงานเจยี ร์ Grindingsafety • ก่อนทาการเจียร์ทุกครัง ต้องสวมแว่นนิรภยั และ ถุงมอื • ตรวจสอบเครืองมอื เจยี ร์ให้อยู่ในสภาพที ปลอดภยั ในขณะทางาน • ก่อนทาการเปลยี นใบหนิ เจียร์ทกุ ครัง ในกรณี ทใี ช้หนิ เจยี ร์ ไฟฟ้าต้องดงั สวทิ ซ์เครือง และ ดึงปลักไฟออก ในกรณี ทเี ปนเครืองลม ก็ให้ ปดวาล์วตัวเครืองพร้อมปลดสายออก จากหวั จ่ายลมทกุ ครัง้ • เวลายกเครืองเจียร์ให้จับทตี ัวเครือง อย่าหิวที สาย ลมหรือสายไฟเดด็ ขาด หลกี เลยี งการเจียร์ชนิ งานใน บริเวณทมี ผี ู้อืน ทางานอย่ใู กล้ ๆ ควรหาแผงกาบงั สะเก็ดหนิ เจยี ร์ เพือปองกันไม่ให้กระเดน็ ไปถูกผ้อู ืน

ความปลอดภยั ในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า Electrical Safety • ห้ามใช้อปุ กรณ์ไฟฟาชํารุด • ห้ามใช้ตวั นําอน่ื ๆ แทนฟิวส์ • เม่ือเกิดไฟฟาลดั วงจร หรือเมื่อมีผ้ปู ระสบ อนั ตราย ให้ตดั กระแสด้วยสวิตช์ตดั ตอน (ยก คทั เอ้าท์) • การชว่ ยผ้ปู ระสบอนั ตรายให้หลดุ พ้นจาก กระแส ไฟฟา อยา่ ใช้มือเปลา่ จบั จงใช้ผ้า แห้ง, ไม้, เชือก หรือสายยางทแี่ ห้งสนิท ดงึ ผ้ปู ระสบอนั ตรายให้ หลดุ ออกมา • ทําการปฐมพยาบาลให้ปอดและหวั ใจ ทาํ งาน โดยวิธีการ CPR • ตอ่ สายดินกบั โลหะท่คี รอบเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ทกุ ชนิด

ความปลอดภัยในการขนย้ายส่ิงของด้วยรถยก (ฟอร์คลฟิ ท์) จัดเรียงวสั ดหุ รือสิ่งของบนงาให้มนั่ คงก่อนใช้ ขับรถลงทางลาด ต้องถอยหลังลงด้วยเกียร์ต่า รถยก ปรับความกว้างของรถยกให้เอยี งพิงมา ข้างหลัง จะทาให้มนั่ คงยง่ิ ขนึ้ ไม่บรรทุกน้าหนักเกินกาลังรถยก หรือ ให้สัญญาณถอยหลังทกุ คร้ัง เมื่อรถถอยหลังและ วางของสูงเกินระดบั สายตา ท่จี ะมองเห็น ขณะเลยี้ ว ข้างหน้าหรือของกว้างเกนิ ไป จอดรถทกุ คร้ังจะต้องลดงาลง ไม่เลยี้ วรถอย่างกระทันหัน ขับช้า ๆ บริเวณทค่ี นสัญจรไปมา ลดความเร็วเม่ือ ผู้ขบั รถยก ต้องเป็ นผู้มี ถงึ ทางแยกและให้สัญญาณทกุ คร้ังเม่ือเลยี้ ว หน้าทีโ่ ดยตรงเท่าน้ัน ไม่ว่าจะบรรทกุ ของอยู่หรือไม่ ในระหว่างขับ ห้ามนารถยกไปใช้ปฏิบตั งิ านใกล้สายไฟฟ้าหรือ รถจะต้องยกงาสูงจากพืน้ ไม่เกนิ 20 ซม. อุปกรณ์ไฟฟ้าท่มี ีกระแสไฟฟ้าใกล้กว่าระยะห่างที่ เพื่อให้เห็นทางข้างหน้าสะดวก ปลอดภยั ตามทก่ี าหนด (น้อยกว่า) ระยะ 4 เมตร ไม่เกิน 20 ซม. ห้ามโดยสารไปกบั รถยก

อนั ตรายจากการทงานกบั รถยก (ฟอร์คลฟิ ท์) อนั ตรายจากการยกสนิ ค้าสูงเกนิ กาหนดอาจทา ให้สนิ ค้าหล่นทบั คนขับหรอผ้ทู ่ปี ฎิบัตงิ านอยู่ บริเวณนัน้ รถฟอรฺคลิฟท์คว่า เม่อื ขบั เร็วหรือ นา้ หนักไม่สมดุล ผู้ปฏบิ ตั งิ านอาจตกจากท่สี ูง หากขนึ้ ไปยนื บนงาของรถยก คนขบั รถยกมองไม่เหน็ ผ้ปู ฎิบัติงานท่ี เดนิ อยู่ทาให้เกดิ การชน หรือทบั จนอาจ เสียชีวิตได้ ไม่มกี ารกาหนดเส้นทางเดินของรถยกหรือมี แต่ไม่เหมาะสม ทาให้เกดิ อุบัตเิ หตุชนกนั ได้



ความปลอดภัยในการทางานกับเครน (ป้ันจนั่ ) ผู้ที่จะใช้เครนจะต้องได้รับการอบรม“ความปลอดภยั ในการ ทางานกบั เครน (ป้ันจ่นั )” และได้รับใบอนุญาตจากหัวหน้า งานจาก จป.วชิ าชีพ ก่อนจงึ จะปฏิบัตงิ านได้ ก่อนการใช้งานเครน ผู้ใช้งาน ต้องสวมอปุ กรณ์ความปลอดภยั ให้ครบ ให้ตรวจสอบระบบการทางานของเครนก่อนเร่ิมงาน • สายไฟสวทิ ซ์เครน ไม่ฉีกขาด หรือโดนความร้อน • ตรวจสอบพืน้ ทกี่ ารทางาน ห้ามมีส่ิงกดี ขวาง • Sling, โซ่ ไม่แตก ไม่ขาด ต้องอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ถ้าพบส่ิงผดิ ปกติให้แจ้งหัวหน้างานทนั ที 1 ห้ามยกชิ้นงานท่มี ีนา้ หนกั เกนิ พกิ ดั ของเครน ตนั ห้ามผ้ทู ไี่ ม่เกย่ี วข้องเข้าไปในรัศมีของเครน ห้ามผ้ทู ท่ี างานกบั เครนยืนอย่ใู ต้สิ่งของทกี่ าลงั ยก การเคลื่อนท่ีของเครน ให้เคล่ือนทีอ่ ย่างช้า ๆ เพ่ือ ป้องกนั การเกดิ การแกว่ง

ความปลอดภยั ในทอ่ี บั อากาศ สถานท่ีอบั อากาศ • สถานทซ่ี ึ่งมที างเข้าออกจากดั • มกี ารระบายอากาศไม่เพยี งพอทจี่ ะทาให้อากาศภายในอยู่ในสภาพถูกสุขลักษณะและปลอดภยั เช่น อุโมงค์ ถา้ บ่อ หลมุ ห้องใต้ดินห้องนิรภัย ถงั นา้ มนั ถังหมกั ถัง ไซโล ท่อ เตา ภาชนะหรือ ส่ิงอื่นทมี่ ีลกั ษณะคล้ายกัน • มสี ภาพบรรยากาศทอ่ี นั ตราย คอื • ออกซิเจนตา่ กว่าร้อยละ 19.5 หรือ มากกว่าร้อยละ 23.5 โดยปริมาตร • มกี ๊าซ ไอ ละอองติดไฟ เกินร้อยละ 10 ของค่าความเข้มข้นตา่ สุด ของสารเคมีทีต่ ิดไฟ หรือระเบิดได้ • ฝ่ ุนติดไฟหรือระเบดิ ได้ฟ้งุ กระจายในอากาศซึ่งมคี วามเข้มข้น เท่ากับหรือมากกว่า ค่า ความเข้มข้นต่าสุดของฝ่ นุ ทีต่ ดิ ไฟหรือระเบดิ ได้ หรือความเข้มข้นของฝ่ ุนนี้ อาจ ประมาณได้เท่ากบั ความเข้มข้นของฝ่ ุนทบ่ี ดบังการมองเห็นในระยะ 1.5 เมตร หรือ น้อยกว่า อนั ตรายในสถานทอ่ี บั อากาศ • การขาดออกซิเจน • ได้รับก๊าซพษิ , Fume หรือ ไอระเหย, ฝ่ ุน ท่เี ป็ นพษิ • การท่วมของของเหลวหรือมวี สั ดไุ หลทะลักเข้ามาใน สถานทนี่ ้ันอย่างทนั ทที นั ใด • ไฟไหม้และการระเบิด • สัมผสั ความร้อน หรือ ความเย็น

ความปลอดภัยในทอี่ บั อากาศ ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน ในสถานท่ีอบั อากาศ • ผู้ปฏบิ ัตงิ านในท่ีอบั อากาศ จะต้องได้รับการฝึ กอบรม อย่างน้อย ปี ละ 1 คร้ัง ตามกฎหมายกาหนด • ผู้ปฏบิ ัติงานในท่ีอับอากาศ จะต้องมสี ุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่เป็ นโรค ทางเดนิ หายใจ และโรคหัวใจ • ผู้ปฏบิ ตั ิงานในที่อบั อากาศ จะต้องสวมใส่อุปกรณ์ PPE ตามทีก่ าหนด เช่น ถงุ มือ, หมวกนิรภยั , ร้องเท้า นิรภยั , แว่นตา ผ้าปิ ดจมูก, หรืออุปกรณ์ช่วยหายใจ (SCBA) • ผู้ปฏบิ ัตงิ านในท่ีอับอากาศจะต้องมีใบอนุญาตเพื่อเข้าไปปฏบิ ตั ิงานในท่ีอับอากาศจากผู้มีอานาจ และหน้าท่ี ให้ใบอนุญาต • ติดป้าย บริเวณที่อบั อากาศห้ามเข้า พร้อมท้งั ปิ ดก้นั พื้นท่ี • ประเมินสภาพอากาศในพนื้ ทปี่ ฏบิ ัติ ได้แก่ ตรวจสอบปริมาณออกซิเจน, ก๊าซไวไฟ, ตรวจเปอร์เซ็นต์การ ระเบดิ , ตรวจก๊าซพษิ ,ไอระเหยทเ่ี ป็ นพษิ • ทาแผนการปฏบิ ัติงานและแผนฉุกเฉินสาหรับการเกิดเหตอุ ันตราย โดยแจ้งให้ผู้ปฏบิ ตั งิ านทุกคนทราบ และ ปฏบิ ัติตาม แผนทก่ี าหนดไว้ • ตดั แยกแหล่งพลังงานทเี่ กีย่ วข้อง • จดั เตรียมอปุ กรณ์สาหรับให้ความช่วยเหลือในกรณเี กิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน • ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือทใ่ี ช้ในการปฏิบัตงิ าน • นาเอกสารใบอนุญาตทางานติดบริเวณทางเข้า-ออก และ ระบุเวลาที่เข้า-ออก บคุ คลท่ีเกี่ยวข้องในการ ปฎิบัตงิ าน ผ้อู นุญาต ผู้ควบคุมงาน ผ้ชู ่วยเหลอื ผ้ปู ฏบิ ัติงาน

ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองจักร ข้อควรปฎบิ ตั ิ • ก่อนใช้เคร่ืองจกั ร ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานจะต้องตรวจฝาครอบการด์ เคร่ือง นิรภยั หรือสว่ นตา่ ง ๆ ของเครื่องจกั รให้อยใู่ นสภาพเรียบร้อยก่อน • ห้ามเคลือ่ นย้ายฝาครอบ การ์ด หรือเครื่องนิรภยั ทกุ ชนดิ ออกจาก เคร่ืองจกั ร • การใช้เครื่องจกั รจะต้องใช้ตามคมู่ ือ หรือตามขนั้ ตอนท่ีกําหนด • ห้ามใช้เครื่องจกั ร เครื่องมือท่ีมีสภาพชํารุด จนกวา่ จะแก้ไขให้ เรียบร้อย เสยี กอ่ น ระหวา่ งรอการแก้ไขจะต้องแขวนปา้ ย “ห้ามใช้ เคร่ืองจกั รชํารุด” ให้เห็นชดั เจน หรือทําเครื่องหมายบอกถงึ สภาพ ท่ีไมป่ ลอดภยั • ห้ามทําความสะอาด หรือการกระทําใด ๆ ท่ีใช้มือเข้าไปบริเวณจดุ หนีบ จดุ หมนุ จดุ เคล่ือนไหวของเคร่ืองจกั รขณะทํางานอยู่ • การหยดุ เครื่องจกั รเพื่อทําการซอ่ มแซม แก้ไข ปรับแต่ง ทําความ สะอาดหรือเพ่ือทําการใดกต็ ามผ้ปู ฏิบตั ิจะต้องแขวนป้าย “อนั ตราย” กําลงั ทํางานอยู่ ห้ามเปิดสวทิ ซ์ ณ สวทิ ซ์ปิด-เปิด เครื่องจกั ร • การแต่งกายต้องสวมใสเ่ คร่ืองน่งุ หม่ ให้เรียบร้อยรดั กุม และไมร่ ุ่งริ่ง ไมส่ วมใสเ่ คร่ืองประดบั หรือไมป่ ลอ่ ยผมยาว ที่อาจเก่ียวโยงกบั สงิ่ หนงึ่ สง่ิ ใดได้

ความปลอดภยั ในงานซ่อมบารุง งานท่ตี ้องตดั แยก ปลด ปิ ด พลงั งาน • งานหยดุ ซ่อม แก้ไขเครื่องจกั ร กรณี งานตดิ ต้งั แก้ไขเคร่ืองจกั ร ซ่อมบารุง เกดิ Breakdown หรือเกดิ เหตุการณ์ ผดิ ปกติ • หยุดเครื่องจกั รทนั ที • ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้มกี ารปลดปล่อย • งาน Set up งานออกแบบ หรือ ทดลองเคร่ืองจกั ร พลงั งานทส่ี ะสมอย่ใู นอปุ กรณ์หมดแล้ว • พนักงานแต่ละคนทปี่ ฏบิ ัติงานกบั อปุ กรณ์ใด ๆ • งานบารุงรักษาเครื่องจักรเชิง ป้องกนั ท้ัง PM และ น้ัน ต้องนาอปุ กรณ์ลอ็ คส่วนตัวของตนไปลอ็ ค Overhaul เข้ากบั อปุ กรณ์ลอ็ คร่วมทอี่ ปุ กรณ์น้นั ๆ (กรณี ทางานหลายคนร่วมกนั ) • การทาความสะอาดเครื่องจกั รของ • ตดิ ป้ายไว้ทจ่ี ุดลอ็ ค โดยใช้สายรัดทไ่ี ม่สามารถ แผนกต่าง ๆ ถอดออกได้โดยง่าย • ไม่ควรถอดอปุ กรณ์ลอ็ คออกจนกว่าผ้ทู ไ่ี ด้รับ ข้อควรระมดั ระวงั มอบหมายเข้าทาการตรวจสอบ • การทางานร่วมกนั ของพนักงานต้งั แต่ 2 คนขนึ้ • ห้ามทาความสะอาดเครื่องจักรท่กี าลงั ไป พนกั งานต้อง ส่งสัญญาณให้กนั พร้อมท้งั ทางาน ยืนยนั สัญญาณก่อนเร่ิมปฏบิ ัตงิ าน • ผู้ทาความสะอาดต้องสวมใส่อุปกรณ์ ป้องกนั ส่วนบุคคลเหมาะสมตามลกั ษณะ งาน • ให้ ปิ ดสวทิ ซ์เคร่ืองจกั ร และเครื่องมือไฟฟ้าก่อนการซ่อมทุกคร้ัง • ติดป้ายท่เี คร่ืองจักร อุปกรณ์ หรือสถานท่ีทม่ี กี ารซ่อม เพื่อไม่ให้ คนงานใช้เคร่ืองจักร อุปกรณ์ หรือ เข้าไปในสถานท่ีน้ัน

Log out / Tag out กฎท่ตี ้องปฏิบตั ิ เม่ือมกี ารปฏบิ ัตงิ านทตี่ ้องใช้เวลามากเกนิ กว่าผลดั การปฏบิ ตั งิ าน ให้นาอปุ กรณ์ลอ็ คส่วนบุคคลของ ตรวจสอบการปลดปล่อยพลงั งานทสี่ ะสม พนักงานในผลดั การปฏบิ ตั งิ านใหม่ใส่เข้าไปแทน อยู่ในอปุ กรณ์ออกหมดแล้ว และพนักงานในผลดั ทก่ี าลงั สิ้นสุดลงจะต้องอธบิ าย ให้แก่พนกั งานในผลดั ใหม่ได้ทราบและเข้าใจใน พนักงานแต่ละคนทปี่ ฏบิ ตั ิงานต้องนา กระบวนการซ่อมบารุงและอนั ตรายต่าง ๆ ที่ อปุ กรณ์ลอ็ ค ส่วนตวั ของตนไปลอ็ คเข้ากบั เกยี่ วข้อง อปุ กรณ์ลอ็ คร่วมทอี่ ปุ กรณ์น้ัน ๆ (กรณี ทางานหลายคนร่วมกนั ) การแขวนป้าย ก่อนเข้าไปปฏบิ ัตงิ านภายใน เคร่ืองจกั ร ให้แขวน Tag ที่ ตะขอข้าง Key ติดป้ายไว้ทจ่ี ดุ ลอ็ ค โดยใช้สายรัดทไ่ี ม่ sw. หรือทปี่ ่ มุ Emergency stop ด้วย สามารถถอดออกได้โดยง่าย ตนเองทกุ คร้ัง ห้ามให้คนอื่นแขวนให้ เมื่อตดิ ต้งั อปุ กรณ์ลอ็ คและป้ายไว้ทอ่ี ปุ กรณ์ การเกบ็ Key SW. และ Safety Plug หลงั เรียบร้อยแล้ว ให้ทดลองเปิ ดใช้งานอปุ กรณ์น้นั การถอด Key sw. หรือ Safety plug ชนิด พกพา พนกั งานต้องพกติดตวั เข้าไปใน ไม่ควรถอดอปุ กรณ์ลอ็ คออกจนกว่าผ้ทู ไ่ี ด้รับ เคร่ืองจกั รด้วย ถ้ามี Job Leader ให้เกบ็ ไว้ท่ี มอบหมายเข้าทาการตรวจสอบ Job reader กาหนดหน้าทขี่ องผู้ปฏบิ ตั ิงานทุกคน อธบิ ายหน้าทกี่ ารทางาน, ข้นั ตอนการ ทางาน, วธิ กี ารทางาน

ความปลอดภยั ในการทางานกับสารเคมี ผ้ปู ฏิบตั ิงานต้องรู้วา่ กําลงั ทํางานกบั สารเคมีอะไร มีอนั ตรายอะไร มีข้อ ปฏบิ ตั ิข้อห้ามอะไร และ ทําความเข้าใจข้อมลู ใน MSDS ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานต้องสวมใสเ่ สอื ้ ผ้าท่ีเหมาะสม ปกคลมุ ร่างกายมดิ ชดิ เพื่อ ป้องกนั สารเคมีหกหลน่ กระเดน็ สมั ผสั ร่างกาย ห้ามสวมกางเกงขาสนั้ รองเท้าแตะ รองเท้าเปิดหน้าหรือเปิดส้น หรือไมส่ วมรองเท้า ต้องสวมใสอ่ ปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายให้ครบตามท่ีกําหนด เชน่ ถุงมือยาง หน้ากากกนั สารเคมี แวน่ ตานิรภยั เม่ือสารเคมีเข้าตา ถกู ผวิ หนงั ให้รีบดําเนนิ การล้างด้วยนํา้ สะอาดให้มากท่ีสดุ จากนนั้ ไปห้องพยาบาลทนั ทีเพ่ือทําการรกั ษา ห้ามทําให้เกิดความร้อนและประกายไฟ ถ้ารู้สกึ มนึ งง หายใจไมส่ ะดวก ให้ออกจากพืน้ ที่นนั้ ทนั ที ต้องมีแผนฉกุ เฉิน และมีการซ้อมเพื่อทําความเข้าใจ

5 ส. หมายถึง 5 ส. คือ การปรับปรุงงานของตนเอง ด้วยตนเองด้วยหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ สะสาง, สะดวก, สะอาด, สุขลักษณะ และสร้างนิสัย โดยคานึงถงึ ความปลอดภัย คุณภาพและประสิทธิภาพ สะสาง ขจดั ส่งิ ของท่ีไม่ต้องการออกไป 5 ส. สะดวก จัดส่งิ ของท่ีต้องการให้เป็ นระเบียบ สะอาด ทาความสะอาดสถานท่ที างานเคร่ืองจักรอุปกรณ์พร้อมทัง้ ตรวจเชค็ และขจัดสาเหตุของความไม่สะอาดนัน้ ๆ สุขลักษณะ ดูแลสถานท่ีทางาน และปฏบิ ตั ติ นให้ถูกสุขลักษณะ สร้ างนิสัย ปฏบิ ตั ิ 4 ส. แรกจนเป็ นนิสัยและมีวนิ ัยในการ ทางานตรวจเชค็ และขจดั สาเหตขุ องความไม่ สะอาดนัน้ ๆ ระเบียบ

แบบทดสอบหลงั กำรเรียนรู้ คำชีแ้ จง: ทำเครื่องหมำย X ใหต้ รงกบั คำตอบที่ถูกตอ้ งที่สุด ลงในกระดำษคำตอบ 7. ขอ้ ใดคือ อนั ตรำยจำกงำนเช่ือม 1.อนั ตรำยจำกแสงจำกกำรเชื่อม 2.อนั ตรำยจำกฟูมและก๊ำซ 3.อนั ตรำยจำกกระแสไฟ 4. อนั ตรำยจำกเสียงดงั ก. 1 และ 2 ถูก ค. 3 และ 4 ถูก ข. 2 และ 3 ถูก ง . 1,2,3 ถูก 8. ขอ้ ใดคือกำรทำงำนกบั รถโฟลคลฟิ ตอ์ ยำ่ งปลอดภยั ก. ขบั รถลงทำงลำด ตอ้ งถอยหลงั ลงดว้ ยเกียร์ต่ำ ข. สำมำรถโดยสำรรถโฟลคลิฟตไ์ ดใ้ นระยะทำงทีก่ ำหนดเท่ำน้นั ค. ไม่ว่ำจะบรรทุกของอยหู่ รือไม่ ในระหวำ่ งขบั รถจะตอ้ งยกงำสูงจำกพ้ืนไม่เกิน 30 ซม.เพือ่ ให้ เห็นทำงขำ้ งหนำ้ สะดวก ง. พนกั งำนที่มีใบขบั ขี่รถยนตส์ ำมำรถขบั รถโฟลคลิฟตไ์ ด้ 9. ขอ้ ใดต่อไปน้ีจดั เป็นทีอ่ บั อำกำศท้งั หมด ก. ถ้ำ / บ่อ / สระน้ำ ข. อโุ มงค์ / ท่อ / เตำ ค. หอ้ งใตด้ ิน / สระน้ำ / ไซโล ง. หอ้ งใตด้ ิน / โกดงั เก็บของ / เข่ือนเกบ็ น้ำ

10. ขอ้ ใดคือ อนั ตรำยในพ้นื ทอี่ บั อำกำศ ก. ขำดออกซิเจน ข. สัมผสั ก๊ำซพษิ ไอระเหย ฝ่นุ พษิ จำกงำนทปี่ ฎิบตั ิ ค. เกิดไฟไหมแ้ ละกำรระเบดิ ได้ ง. ท้งั หมดทก่ี ล่ำวมำ 11. เมื่อตอ้ งทำงำนประเภทงำนเจียร์หรือเชื่อมโลหะ ควรทำอยำ่ งไรถึงจะปลอดภยั มำกที่สุด ก. สวมแว่นตำนิรภยั และถุงมือยำงอยำ่ งดี ข. สวมถุงมือหนงั และแวน่ ตำนิรภยั ที่เหมำะสม ค. สวมหนำ้ กำกกนั กลิ่นสำรระเหยและหมวกนิรภยั ง. สวมรองเทำ้ เซฟต้ีและถุงมือผำ้ อยำ่ งดี 12. ขอ้ ใดต่อไปน้ีถูกตอ้ งเมื่อปฏิบตั ิงำนกบั สำรเคมี 1. ผปู้ ฏิบตั ิงำนตอ้ งทรำบชนิดและอนั ตรำยของสำรเคมีน้นั 2. สวมชุดทเี่ หมำะสมไม่สวมใส่กำงเกงขำส้ัน 3. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกนั ภยั ส่วนบุคคลใหถ้ ูกตอ้ ง เช่น ถุงมือผำ้ 4. หำ้ มทำใหเ้ กิดประกำยในพ้นื ทก่ี ำรทำงำน ก. 1 และ 2 ถูกตอ้ ง ค. 1,2,4 ถูกตอ้ ง ข. 1,2,3 ถูกตอ้ ง ง. 1,2,3,4 ถกู ตอ้ ง 13. ใครต่อไปน้ีปฏิบตั ิงำนที่มีกำรใชเ้ ครนโดยไม่ควำมปลอดภยั ก. นำย A ตรวจควำมพร้อมของเครนก่อนกำรเริ่มงำนในทกุ วนั ข. นำย B ใชเ้ ครนยกของต่ำกวำ่ พิกดั น้ำหนกั ทก่ี ำหนดไว้ ค. นำย C ใชเ้ ครนเคล่ือนยำ้ ยพำเลทดว้ ยควำมเร็วเนื่องจำกมีควำมชำนำญ ง. นำย D ไดบ้ อกใหเ้ พื่อนร่วมงำนทไี่ ม่เกี่ยวขอ้ งออกนอกพ้นื ทกี่ ่อนเร่ิมทำงำน

14. ขอ้ ใดกล่ำวถูกตอ้ งเก่ียวกบั งำนท่ตี อ้ งใช้ Log out Tag out ก. ติดป้ำยไวท้ จ่ี ุดลอ็ ค โดยใชส้ ำยรัดท่ีไม่สำมำรถถอดออกไดโ้ ดยง่ำย ข. ไม่ควรถอดอปุ กรณ์ลอ็ คออกจนกว่ำผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมำยเขำ้ ทำกำรตรวจสอบ ค. กำรแขวนป้ำย ก่อนเขำ้ ไปปฏิบตั ิงำนภำยในเคร่ืองจกั ร ใหแ้ ขวน Tag ท่ี ตะขอ ดว้ ย ตนเองทุกคร้ัง หำ้ มใหค้ นอื่นแขวนให้ ง. ถูกท้งั หมดทก่ี ล่ำวมำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook