Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Published by TaR, 2020-11-08 01:52:41

Description: พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Search

Read the Text Version

พลเมืองดิจิทลั หมายถึง สมาชิกบนโลกออนไลน์ ท่ีใช้ เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซ่ึงมีความหลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม ดงั น้นั พลเมืองดิจิทลั ทุกคนจึง ตอ้ งมี ‘ความเป็นพลเมืองดิจิทลั ’ ที่มีความฉลาดทางดิจิทลั บนพ้นื ฐานของความรับผดิ ชอบ การมีจริยธรรม การมี ส่วนร่วม ความเห็นอกเห็นใจและเคารพผอู้ ื่น โดยมุ่งเนน้ ความเป็นธรรมในสงั คม ปฏิบตั ิและรักษาไวซ้ ่ึงกฎเกณฑ์ เพื่อสร้างความสมดุลของการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข การเป็ นพลเมืองดิจิทลั น้นั มีทกั ษะสาคญั 8 ประการ ที่ ควรบ่มเพาะใหเ้ กิดข้ึนกบั พลเมืองดิจิทลั ทกุ คนใน ศตวรรษที่ 21 ดงั น้ี

1.ทักษะในการรักษาอัตลกั ษณ์ท่ดี ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ตอ้ งมีความสามารถในการสร้างสมดุล บริหารจดั การ รักษาอตั ลกั ษณ์ท่ีดีของตนเองไวใ้ ห้ได้ ท้งั ในส่วนของโลกออนไลน์และ โลกความจริง โดยตอนน้ีประเด็นเรื่องการสร้างอตั ลกั ษณ์ ออนไลน์ถือเป็นปรากฏการณ์ใหม่ ทีท่ าใหบ้ คุ คลสามารถ แสดงออกถึงความเป็นตวั ตนตอ่ สังคมภายนอก โดยอาศยั ช่อง ทางการสื่อสารผา่ นเวบ็ ไซตเ์ ครือขา่ ยสงั คมในการอธิบาย รูปแบบใหม่ของการส่ือสารแบบมีปฏิสมั พนั ธ์ทางอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็นการแสดงออกเกี่ยวกบั ตวั ตนผา่ นเวบ็ ไซตเ์ ครือข่ายสังคม ต่างๆ

2.ทักษะในการรักษาข้อมูลส่ วนตวั (Privacy Management) ดุลพินิจในการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั โดยเฉพาะการแชร์ ขอ้ มูลออนไลนเ์ พือ่ ป้องกนั ความเป็นส่วนตวั ท้งั ของตนเองและ ผอู้ ื่นเป็นสิ่งสาคญั ท่ตี อ้ งประกอบอยใู่ นพลเมืองดิจิทลั ทกุ คน และพวกเขาจะตอ้ งมีความตระหนกั ในความเท่าเทยี มกนั ทาง ดิจทิ ลั เคารพในสิทธิของคนทกุ คน รวมถึงตอ้ งมีวจิ ารณญาณ ในการรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลตนเองในสังคมดิจทิ ลั รู้ วา่ ขอ้ มูลใดควรเผยแพร่ ขอ้ มูลใดไม่ควรเผยแพร่ และตอ้ ง จดั การความเสี่ยงของขอ้ มูลของตนในสื่อสังคมดิจิทลั ไดด้ ว้ ย

3.ทักษะในการคิดวิเคราะหม์ วี ิจารณญาณทดี่ ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งและ ขอ้ มลู ที่ผิด ขอ้ มลู ที่มเี นือ้ หาดีและขอ้ มลู ที่เขา้ ขา่ ยอนั ตราย รูว้ า่ ขอ้ มลู ลกั ษณะใดท่ีถกู สง่ ผ่านมาทางออนไลนแ์ ลว้ ควรต้ังขอ้ สงสยั หาคาตอบใหช้ ดั เจนก่อนเช่ือและนาไปแชร์ ดว้ ยเหตนุ ี้ พลเมือง ดิจิทลั จึงตอ้ งมีความรูค้ วามสามารถในการเขา้ ถึง ใช้ สรา้ งสรรค์ ประเมิน สงั เคราะห์ และสือ่ สารขอ้ มลู ขา่ วสารผา่ นเครอ่ื งมือดิจิทลั ซง่ึ จาเป็นตอ้ งมคี วามรูด้ า้ นเทคนิคเพ่ือใชเ้ ครอ่ื งมือดิจิทลั เชน่ คอมพวิ เตอร์ สมารต์ โฟน แท็บเล็ต ไดอ้ ยา่ งเช่ียวชาญ รวมถึงมี ทกั ษะในการรูค้ ิดขน้ั สงู เชน่ ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ ท่ี จาเป็นต่อการเลอื ก จดั ประเภท วเิ คราะห์ ตีความ และเขา้ ใจขอ้ มลู ขา่ วสาร มคี วามรูแ้ ละทกั ษะในสภาพแวดลอ้ มดิจิทลั การรูด้ ิจิทลั โดยมงุ่ ใหเ้ ป็นผใู้ ชท้ ี่ดี เป็นผเู้ ขา้ ใจบรบิ ทท่ีดี และเป็นผสู้ รา้ งเนือ้ หา ทางดิจิทลั ที่ดี ในสภาพแวดลอ้ มสงั คมดิจิทลั

4.ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบริหารเวลากบั การใชอ้ ุปกรณ์ยคุ ดิจิทลั รวมไปถึง การควบคุมเพ่ือใหเ้ กิดสมดุลระหวา่ งโลกออนไลน์และโลก ภายนอก นบั เป็นอีกหน่ึงความสามารถทีบ่ ่งบอกถึง ความเป็น พลเมืองดิจิทลั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เพราะเป็นท่ีรู้กนั อยแู่ ลว้ วา่ การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศทขี่ าดความเหมาะสมยอ่ มส่งผลเสียตอ่ สุขภาพโดยรวม ท้งั ความเครียดต่อสุขภาพจิตและเป็นสาเหตุ ก่อให้เกิดความเจบ็ ป่ วยทางกาย ซ่ึงนาไปสู่การสูญเสียทรัพยส์ ิน เพอ่ื ใชร้ ักษา และเสียสุขภาพในระยะยาวโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

5.ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จากขอ้ มูลทางสถิติล่าสุด สถานการณ์ในเร่ือง Cyber bullying ในไทย มีคา่ เฉล่ียการกลน่ั แกลง้ บนโลกออนไลนใ์ น รูปแบบตา่ งๆ ท่สี ูงกวา่ ค่าเฉล่ียโลกอยทู่ ี่ 47% และเกิดในรูปแบบท่ี หลากหลาย อาทิ การด่าทอกนั ดว้ ยขอ้ ความหยาบคาย การตดั ต่อ ภาพ สร้างขอ้ มูลเทจ็ รวมไปถึงการต้งั กลุ่มออนไลน์กีดกนั เพือ่ น ออกจากกลุ่ม ฯลฯ ดงั น้นั วา่ ทพ่ี ลเมืองดิจทิ ลั ทกุ คน จึงควรมี ความสามารถในการรับรู้และรับมือการคุกคามขม่ ขบู่ นโลก ออนไลนไ์ ดอ้ ยา่ งชาญฉลาด เพื่อป้องกนั ตนเองและคนรอบขา้ ง จากการคุกคามทางโลกออนไลน์ใหไ้ ด้

6.ทกั ษะในการบริหารจัดการขอ้ มูลท่ผี ู้ใช้งานทิง้ ไว้บนโลก ออนไลน์ (Digital Footprints) มีรายงานการศึกษาวจิ ยั ยืนยนั วา่ คนรุน่ Baby Boomer คือ กลมุ่ Aging ท่ีเกิดตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใชง้ าน อปุ กรณค์ อมพิวเตอรห์ รอื โทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ของผอู้ ่ืน และเปิดใช้ งาน WiFi สาธารณะ เสรจ็ แลว้ มกั จะละเลย ไมล่ บรหสั ผ่านหรือ ประวตั ิการใชง้ านถงึ 47% ซงึ่ เส่ยี งมากท่ีจะถกู ผอู้ ื่นสวมสทิ ธิ ขโมยตวั ตนบนโลกออนไลน์ และเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลได้อยา่ ง งา่ ยดาย ดงั นนั้ ความเป็นพลเมอื งดิจิทลั จงึ ตอ้ งมีทักษะ ความสามารถที่จะเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวติ ในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลือรอ่ งรอยขอ้ มลู ทิง้ ไวเ้ สมอ รวมไปถึงตอ้ งเขา้ ใจผลลพั ธ์ ท่ีอาจเกิดขนึ้ เพ่ือการดแู ลสิง่ เหลา่ นีอ้ ยา่ งมีความรบั ผิดชอบ

7.ทักษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลก ออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการปอ้ งกนั ขอ้ มลู ดว้ ยการสรา้ งระบบความ ปลอดภยั ที่เขม้ แขง็ และปอ้ งกนั การโจรกรรมขอ้ มลู ไมใ่ หเ้ กิดขนึ้ ได้ ถา้ ตอ้ งทาธุรกรรมกบั ธนาคารหรอื ซอื้ สินคา้ ออนไลน์ เช่น ซอื้ เสอื้ ผา้ ชดุ เดรส เป็นตน้ ควรเปลีย่ นรหสั บอ่ ยๆ และควร หลีกเล่ยี งการใชค้ อมพิวเตอรส์ าธารณะ และหากสงสยั วา่ ขอ้ มลู ถกู นาไปใชห้ รอื สญู หาย ควรรบี แจง้ ความและแจง้ หนว่ ยงานท่ี เก่ียวขอ้ งทนั ที

8.ทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสรา้ งความสมั พนั ธท์ ี่ดีกบั ผอู้ ่ืนบนโลกออนไลน์ พลเมอื งดิจิทลั ท่ีดีจะตอ้ งรูถ้ ึงคณุ ค่าและ จริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ตอ้ งตระหนกั ถึงผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม ท่ีเกิดจากการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต การกดไลก์ กดแชร์ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ออนไลน์ รวมถึงรูจ้ กั สทิ ธิและ ความรบั ผิดชอบออนไลน์ อาทิ เสรีภาพในการพดู การเคารพ ทรพั ยส์ ินทางปัญญาของผอู้ ื่น และการปกปอ้ งตนเองและชมุ ชน จากความเส่ียงออนไลน์ เชน่ การกล่นั แกลง้ ออนไลน์ ภาพลามก อนาจารเด็ก สแปม เป็นตน้

สรุป การจะเป็นพลเมืองดิจิทลั ทีด่ ีน้นั ตอ้ งมีความฉลาดทางดิจทิ ลั ซ่ึง ประกอบข้นึ ดว้ ยชุดทกั ษะและความรู้ท้งั ในเชิงเทคโนโลยแี ละการ คิดข้นั สูง หรือท่เี รียกวา่ “ความรู้ดิจิทลั ” (Digital Literacy) เพ่ือใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลขา่ วสารในโลกไซเบอร์ รู้วธิ ี ป้องกนั ตนเองจากความเสี่ยงตา่ งๆ ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึงสิทธิ ความรับผดิ ชอบ และจริยธรรมทีส่ าคญั ในยคุ ดิจิทลั และใช้ ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม ทเ่ี กี่ยวกบั ตนเอง ชุมชน ประเทศ และ พลเมืองบนโลก ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์

ที่มา : บทความเรอื่ ง “พลเมอื งดิจิทลั (Digital Citizenship)” โดย Phichitra Phetparee| เผยแพรบ่ นเว็บไซต์ สสส. (วนั ที่ 27 มนี าคม 2562) เอกสารวชิ าการออนไลนเ์ ร่อื ง “คมู่ อื พลเมืองดิจิทลั ” โดย วรพจน์ วงศก์ ิจรุง่ เรอื ง เผยแพรค่ รงั้ แรก: มิถนุ ายน 2561


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook